สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 2 พ.ศ. 2476
เลือกตั้งทั่วไป ครั้งแรก
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 ได้บัญญัติให้สภาผู้แทนราษฎรประกอบ
ด้วย สมาชิกผู้แทนราษฎร 2 ประเภท คือ สมาชิกประเภทที่ 1 และสมาชิกประเภทที่ 2 มีจำนวนสมาชิก
เท่ากัน
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 1 ได้กระทำเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2476
เป็นการเลือกตั้งทางอ้อม โดยเลือกตั้งผู้แทนตำบลก่อน แล้วผู้แทนตำบลเป็นผู้เลือก ผู้แทนราษฎรอีกต่อ
หนึ่ง เป็นการเลือกตั้งแบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎรสองแสนคนต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคนการเลือกตั้งในครั้ง
นี้เป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรก ได้ผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งทั่วประเทศ จำนวน 78 คน
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภทที่ 1 ชุดนี้ สิ้นสุดเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2480 เพราะถึง
คราวออกตามวาระที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ
รายชื่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภทที่ 1
เลือกตั้งเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2476
1. พลโท พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) พระนคร
2. นายไต๋ ปาณิกบุตร พระนคร
3. ขุนสมาหารหิตะคดี (โป๊ โปรคุปต์) พระนคร
4. นายทองอยู่ พุฒพัฒน์ ธนบุรี
5. พระบริรักษ์ราชอักษร (มาตย์ ณ ถลาง) กระบี่
6. นายดาบ ยู่เกียง ทองลงยา กาญจนบุรี
7. นายฮั้ว ตามไท กำแพงเพชร
8. หลวงพิพัฒน์พลกาย (กระจ่าง วิโรจน์เพชร) ขอนแก่น
9. หลวงนรินทร์ประสาตร์เวช (เจน สุนทโรทัย) จันทบุรี
10. นายหอมจันทร์ วัฒนวิจารณ์ ฉะเชิงเทรา
11. นายนิติ โสรัต ชลบุรี
12. ร.ต.สอน วงษ์โต ชัยนาท
13. หลวงนาถนิติธาดา (เคลือบ บุศยนาก) ชัยภูมิ
14. หลวงสโมสรราชกิจ (คอยู่จีน ณ ระนอง) ชุมพร
15. พระดุลยธรรมปรีชาไวท์ (ยม สุขานุศาสน์) เชียงราย
16. หลวงศรีประกาศ (ฉันท์ วิชยาภัย) เชียงใหม่
17. ขุนพินิจธนากร (บุญเพ็ง ยุกตะนันทน์) เชียงใหม่
18. นายจัง จริงจิตร์ ตรัง
19. นายกิมทะ นิรันต์พานิช ตราด
20. พระประนาทกรณี (ถม อินทรสูต) ตาก
21. พระยาวิเศษสิงหนาท (หร่าย รัตนกสิกร) นครนายก
22. นายดาบ เทียบ ศรีพิสิฐ นครปฐม
23. น.ท. พระศรการวิจิตร ร.น. (ช้อย ชลทรัพย์) นครพนม
24. พันเอก พระยาเสนาภิมุข (แสง เตมิยาจล) นครราชสีมา
25. นายสนิท เจริญรัฐ นครราชสีมา
26. นายมงคล รัตนวิจิตร นครศรีธรรมราช
27. นายสวัสดิ์ ยูวะเวส นครสวรรค์
28. หลวงศรีเขตนคร (ปลื้ม สวนะปรีดี) นนทบุรี
29. ขุนชำนาญภาษา (ฤทธิ์ รัตนศรีศุข) นราธิวาส
30. นายจำรัส มหาวงศนันทน์ น่าน
31. พันตรี หลวงศักดิรณการ (นาค ปิตะเสน) บุรีรัมย์
32. นายทองกระจาย รัชตะวรรณ ปทุมธานี
33. นายมิ่ง เลาห์เรณู ประจวบคีรีขันธ์
34. ร้อยโท ทองคำ คล้ายโอภาส ปราจีนบุรี
35. นายแทน วิเศษสมบัติ ปัตตานี
36. นายเลมียด หงสประภาส พระนครศรีอยุธยา
37. หลวงวัฒนคดี (วัน พฤษะศรี) ถึงแก่กรรม 15 เมษายน 2480 พังงา
นายโมรา ณ ถลาง ได้รับเลือกตั้งแทน 24 มิถุนายน 2480
38. ร้อยตรี ถัด รัตนพันธุ์ พัทลุง
39. ขุนคุรุการพิจิตร (เทียม พฤกษะวัน) พิจิตร
40. ขุนประเจตดรุณพันธ์ (เหล็ง ศุขโรจน์) พิษณุโลก
41. นายแข ยูนิพันธ์ เพชรบุรี
42. ขุนอินทรภักดี (ทองอิน ทองมาก) เพชรบูรณ์
43. นายวงศ์ แสนศิริพันธุ์ แพร่
44. พระพิไสยสุนทรการ (แปลง ณ ถลาง) ภูเก็ต
45. พระยาสารคามคณาภิบาล (อนงค์ พยัคฆันตร์) มหาสารคาม
46. นายทองม้วน อัตถากร มหาสารคาม
47. นายบุญสิริ เทพาคำ แม่ฮ่องสอน
48. นายสง่า สายศิลป์ ยะลา
49. พันโท พระไพศาลเวชกรรม (สวาสดิ์ โสมเกษตริน) ร้อยเอ็ด
50. จ่านายสิบ ขุนเสนาสัสดี (ถั่ง ทองทวี) ร้อยเอ็ด
51. ขุนขจรเขานิเวศน์ (อิวเกี่ยน จรขันธ์) ระนอง
52. หลวงประสานนฤชิต (เดิม อนุกระหานนท์) ระยอง
53. นายกิมเส็ง (โกศล) สินธุเสก ราชบุรี
54. นายสว่าง ศรีวิโรจน์ ลพบุรี
55. นายสรอย ณ ลำปาง ลำปาง
56. นายบุญมี ตุงคนาคร ลำพูน
57. นายบุญมา เสริฐศรี เลย
58. ขุนพิเคราะห์คดี (อินทร์ อินตะนัย) (ขุขันธ์) ศรีสะเกษ
59. หลวงวรนิติปรีชา (วรดี พรหมสาขา ณ สกลนคร) สกลนคร
60. นายเจือ ศรียาภัย สงขลา
61. พระยาสมันต์รัฐบุรินทร์ (ตุ๋ย บินอับดุลลาห์) สตูล
62. นายเขียน กาญจนพันธุ์ สมุทรปราการ
63. นายสุวรรณ มหัคฆกาญจนา สมุทรสงคราม
64. ขุนสุคนธวิทศึกษากร (สำอางค์ สุคนธวิท) สมุทรสาคร
65. ร้อยตรี บุญแถม ปิตยานนท์ สระบุรี
66. นายแข วัจนลักขณะ สิงห์บุรี
67. นายไสว อินทรประชา (สวรรคโลก) สุโขทัย
68. นายมนูญ บริสุทธิ์ สุพรรณบุรี
69. ขุนวรศาสน์ดรุณกิจ (ฝ้าย บุญเลี้ยง) สุราษฎร์ธานี
70. ขุนรักษ์รัษฎากร (จวบ ไมยรัตน์) สุรินทร์
71. ขุนวรสิษฐ์ดรุณเวทย์ (นารถ อินทุสมิต) หนองคาย
72. นายเกริ่น แสนโกศิก อ่างทอง
73. ขุนรักษาธนากร (กลึง เพาทธทัต) อุดรธานี
74. นายฟัก ณ สงขลา อุตรดิตถ์
75. นายเทียบ นันทแพทศย์ อุทัยธานี
76. นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ อุบลราชธานี
77. นายเลียง ไชยกาล อุบลราชธานี
78. นายเนย สุจิมา อุบลราชธานี
หมายเหตุ : สมาชิกประเภทที่ 1 ได้แก่ ผู้ที่ราษฎรเลือกตั้งขึ้น โดยถือจำนวนราษฎรสองแสนคนต่อผู้แทน
ราษฎรหนึ่งคน (แต่การเลือกตั้งผู้แทนครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางอ้อม โดยเลือกผู้แทนตำบล
ก่อน และผู้แทนตำบลเป็นผู้เลือกผู้แทนราษฎรอีกต่อหนึ่ง)
สมาชิกประเภทที่ 2 ได้แก่ ผู้ที่พระมหากษัตริย์ทรงตั้งขึ้นมีจำนวนเท่ากับสมาชิกประเภทที่ 1
--สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร--
เลือกตั้งทั่วไป ครั้งแรก
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 ได้บัญญัติให้สภาผู้แทนราษฎรประกอบ
ด้วย สมาชิกผู้แทนราษฎร 2 ประเภท คือ สมาชิกประเภทที่ 1 และสมาชิกประเภทที่ 2 มีจำนวนสมาชิก
เท่ากัน
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 1 ได้กระทำเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2476
เป็นการเลือกตั้งทางอ้อม โดยเลือกตั้งผู้แทนตำบลก่อน แล้วผู้แทนตำบลเป็นผู้เลือก ผู้แทนราษฎรอีกต่อ
หนึ่ง เป็นการเลือกตั้งแบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎรสองแสนคนต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคนการเลือกตั้งในครั้ง
นี้เป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรก ได้ผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งทั่วประเทศ จำนวน 78 คน
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภทที่ 1 ชุดนี้ สิ้นสุดเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2480 เพราะถึง
คราวออกตามวาระที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ
รายชื่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภทที่ 1
เลือกตั้งเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2476
1. พลโท พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) พระนคร
2. นายไต๋ ปาณิกบุตร พระนคร
3. ขุนสมาหารหิตะคดี (โป๊ โปรคุปต์) พระนคร
4. นายทองอยู่ พุฒพัฒน์ ธนบุรี
5. พระบริรักษ์ราชอักษร (มาตย์ ณ ถลาง) กระบี่
6. นายดาบ ยู่เกียง ทองลงยา กาญจนบุรี
7. นายฮั้ว ตามไท กำแพงเพชร
8. หลวงพิพัฒน์พลกาย (กระจ่าง วิโรจน์เพชร) ขอนแก่น
9. หลวงนรินทร์ประสาตร์เวช (เจน สุนทโรทัย) จันทบุรี
10. นายหอมจันทร์ วัฒนวิจารณ์ ฉะเชิงเทรา
11. นายนิติ โสรัต ชลบุรี
12. ร.ต.สอน วงษ์โต ชัยนาท
13. หลวงนาถนิติธาดา (เคลือบ บุศยนาก) ชัยภูมิ
14. หลวงสโมสรราชกิจ (คอยู่จีน ณ ระนอง) ชุมพร
15. พระดุลยธรรมปรีชาไวท์ (ยม สุขานุศาสน์) เชียงราย
16. หลวงศรีประกาศ (ฉันท์ วิชยาภัย) เชียงใหม่
17. ขุนพินิจธนากร (บุญเพ็ง ยุกตะนันทน์) เชียงใหม่
18. นายจัง จริงจิตร์ ตรัง
19. นายกิมทะ นิรันต์พานิช ตราด
20. พระประนาทกรณี (ถม อินทรสูต) ตาก
21. พระยาวิเศษสิงหนาท (หร่าย รัตนกสิกร) นครนายก
22. นายดาบ เทียบ ศรีพิสิฐ นครปฐม
23. น.ท. พระศรการวิจิตร ร.น. (ช้อย ชลทรัพย์) นครพนม
24. พันเอก พระยาเสนาภิมุข (แสง เตมิยาจล) นครราชสีมา
25. นายสนิท เจริญรัฐ นครราชสีมา
26. นายมงคล รัตนวิจิตร นครศรีธรรมราช
27. นายสวัสดิ์ ยูวะเวส นครสวรรค์
28. หลวงศรีเขตนคร (ปลื้ม สวนะปรีดี) นนทบุรี
29. ขุนชำนาญภาษา (ฤทธิ์ รัตนศรีศุข) นราธิวาส
30. นายจำรัส มหาวงศนันทน์ น่าน
31. พันตรี หลวงศักดิรณการ (นาค ปิตะเสน) บุรีรัมย์
32. นายทองกระจาย รัชตะวรรณ ปทุมธานี
33. นายมิ่ง เลาห์เรณู ประจวบคีรีขันธ์
34. ร้อยโท ทองคำ คล้ายโอภาส ปราจีนบุรี
35. นายแทน วิเศษสมบัติ ปัตตานี
36. นายเลมียด หงสประภาส พระนครศรีอยุธยา
37. หลวงวัฒนคดี (วัน พฤษะศรี) ถึงแก่กรรม 15 เมษายน 2480 พังงา
นายโมรา ณ ถลาง ได้รับเลือกตั้งแทน 24 มิถุนายน 2480
38. ร้อยตรี ถัด รัตนพันธุ์ พัทลุง
39. ขุนคุรุการพิจิตร (เทียม พฤกษะวัน) พิจิตร
40. ขุนประเจตดรุณพันธ์ (เหล็ง ศุขโรจน์) พิษณุโลก
41. นายแข ยูนิพันธ์ เพชรบุรี
42. ขุนอินทรภักดี (ทองอิน ทองมาก) เพชรบูรณ์
43. นายวงศ์ แสนศิริพันธุ์ แพร่
44. พระพิไสยสุนทรการ (แปลง ณ ถลาง) ภูเก็ต
45. พระยาสารคามคณาภิบาล (อนงค์ พยัคฆันตร์) มหาสารคาม
46. นายทองม้วน อัตถากร มหาสารคาม
47. นายบุญสิริ เทพาคำ แม่ฮ่องสอน
48. นายสง่า สายศิลป์ ยะลา
49. พันโท พระไพศาลเวชกรรม (สวาสดิ์ โสมเกษตริน) ร้อยเอ็ด
50. จ่านายสิบ ขุนเสนาสัสดี (ถั่ง ทองทวี) ร้อยเอ็ด
51. ขุนขจรเขานิเวศน์ (อิวเกี่ยน จรขันธ์) ระนอง
52. หลวงประสานนฤชิต (เดิม อนุกระหานนท์) ระยอง
53. นายกิมเส็ง (โกศล) สินธุเสก ราชบุรี
54. นายสว่าง ศรีวิโรจน์ ลพบุรี
55. นายสรอย ณ ลำปาง ลำปาง
56. นายบุญมี ตุงคนาคร ลำพูน
57. นายบุญมา เสริฐศรี เลย
58. ขุนพิเคราะห์คดี (อินทร์ อินตะนัย) (ขุขันธ์) ศรีสะเกษ
59. หลวงวรนิติปรีชา (วรดี พรหมสาขา ณ สกลนคร) สกลนคร
60. นายเจือ ศรียาภัย สงขลา
61. พระยาสมันต์รัฐบุรินทร์ (ตุ๋ย บินอับดุลลาห์) สตูล
62. นายเขียน กาญจนพันธุ์ สมุทรปราการ
63. นายสุวรรณ มหัคฆกาญจนา สมุทรสงคราม
64. ขุนสุคนธวิทศึกษากร (สำอางค์ สุคนธวิท) สมุทรสาคร
65. ร้อยตรี บุญแถม ปิตยานนท์ สระบุรี
66. นายแข วัจนลักขณะ สิงห์บุรี
67. นายไสว อินทรประชา (สวรรคโลก) สุโขทัย
68. นายมนูญ บริสุทธิ์ สุพรรณบุรี
69. ขุนวรศาสน์ดรุณกิจ (ฝ้าย บุญเลี้ยง) สุราษฎร์ธานี
70. ขุนรักษ์รัษฎากร (จวบ ไมยรัตน์) สุรินทร์
71. ขุนวรสิษฐ์ดรุณเวทย์ (นารถ อินทุสมิต) หนองคาย
72. นายเกริ่น แสนโกศิก อ่างทอง
73. ขุนรักษาธนากร (กลึง เพาทธทัต) อุดรธานี
74. นายฟัก ณ สงขลา อุตรดิตถ์
75. นายเทียบ นันทแพทศย์ อุทัยธานี
76. นายทองอินทร์ ภูริพัฒน์ อุบลราชธานี
77. นายเลียง ไชยกาล อุบลราชธานี
78. นายเนย สุจิมา อุบลราชธานี
หมายเหตุ : สมาชิกประเภทที่ 1 ได้แก่ ผู้ที่ราษฎรเลือกตั้งขึ้น โดยถือจำนวนราษฎรสองแสนคนต่อผู้แทน
ราษฎรหนึ่งคน (แต่การเลือกตั้งผู้แทนครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางอ้อม โดยเลือกผู้แทนตำบล
ก่อน และผู้แทนตำบลเป็นผู้เลือกผู้แทนราษฎรอีกต่อหนึ่ง)
สมาชิกประเภทที่ 2 ได้แก่ ผู้ที่พระมหากษัตริย์ทรงตั้งขึ้นมีจำนวนเท่ากับสมาชิกประเภทที่ 1
--สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร--