ตารางที่ 18 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบทบาทของประเทศสหรัฐอเมริกา
ลำดับที่ ความคิดเห็น ค่าร้อยละ
1 ในฐานะที่เป็นประเทศมหาอำนาจเพียงหนึ่งเดียว ประเทศสหรัฐอเมริกาควรแสดงตน
เป็นผู้นำโลกในการแก้ไขปัญหาระหว่างประเทศ 8.3
2 ประเทศสหรัฐอเมริกาควรร่วมมือกับประเทศอื่นในการแก้ไขปัญหาระหว่างประเทศ 47.3
3 ประเทศสหรัฐอเมริกาไม่ควรยุ่งเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาระหว่างประเทศ 18.0
4 ไม่ทราบ / ไม่มีความคิดเห็น 26.4
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 19 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อประเทศต่างๆ กรณีให้สิทธิและอำนาจแก่ประเทศไทย
ในการมีส่วนร่วมตัดสินใจด้านนโยบายต่างประเทศ
การให้สิทธิและอำนาจแก่ประเทศไทยในการมีส่วนร่วมตัดสินใจด้านนโยบายต่างประเทศ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น จีน อินเดีย
1. ให้สิทธิและอำนาจอย่างเต็มที่ 19.4 16.6 10.9 16.1
2. ให้สิทธิและอำนาจบ้าง 29.9 37.2 31.1 35.4
3. ให้สิทธิและอำนาจน้อย 15.5 12.2 16.1 12.1
4. ไม่ให้สิทธิและอำนาจเลย 8.0 5.0 8.2 6.4
5. ไม่ทราบ /ไม่มีความคิดเห็น 27.2 29.0 33.7 30.0
รวมทั้งสิ้น 100.0 100.0 100.0 100.0
ตารางที่ 20 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุระดับอิทธิพลของประเทศต่างๆ ที่มีต่อโลก
รายชื่อประเทศต่าง 0-3 คะแนน 4-6 คะแนน 7-10 คะแนน รวมทั้งสิ้น Mean(คะแนนเต็ม 10 คะแนน)
1. ประเทศสหรัฐอเมริกา 8.2 9.8 82.0 100.0 8.32
2. ประเทศรัสเซีย 20.0 31.9 48.1 100.0 5.97
3. ประเทศญี่ปุ่น 12.3 24.1 63.6 100.0 6.93
4. ประเทศเยอรมัน 19.0 37.7 43.3 100.0 5.73
5. ประเทศจีน 12.8 25.2 62.0 100.0 6.89
6. ประเทศอินเดีย 33.3 42.7 24.0 100.0 4.57
7. สหภาพยุโรป 19.8 26.2 54.0 100.0 6.21
8. ประเทศอังกฤษ 13.1 24.6 62.3 100.0 6.82
9. ประเทศฝรั่งเศส 15.7 29.9 54.4 100.0 6.33
ตารางที่ 21 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความสำคัญของเป้าหมายนโยบายต่างประเทศที่ประเทศไทยอาจกำหนด
ในอนาคต
นโยบายต่างประเทศ สำคัญมาก ค่อนข้างสำคัญ ไม่สำคัญเลย ไม่ทราบ/ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
1. ปกป้องประเทศที่อ่อนแอไม่ให้ถูกต่างประเทศรุกราน 57.0 26.0 2.8 14.2 100.0
2. ให้การสนับสนุนองค์การสหประชาชาติ 44.9 34.5 3.6 17.0 100.0
3. ต่อสู้กับลัทธิก่อการร้ายระหว่างประเทศ 55.1 23.4 5.5 16.0 100.0
4. รักษาอำนาจทางการทหารทั่วโลก 38.5 33.5 9.4 18.6 100.0
5. ปกป้องอาชีพคนงานไทย 67.1 18.3 2.3 12.3 100.0
6. ช่วยเผยแพร่รัฐบาลรูปแบบประชาธิปไตยให้แก่ประเทศอื่นๆ 43.7 29.8 8.9 17.6 100.0
7. รักษาฐานการผลิตพลังงานให้เพียงพอ 58.7 23.4 3.4 14.5 100.0
8. ควบคุมและลดจำนวนการย้ายถิ่นแบบผิดกฎหมาย 50.2 27.2 7.3 15.3 100.0
9. ยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประเทศด้อยพัฒนา 55.4 24.7 4.2 15.7 100.0
10. แก้ไขสภาพแวดล้อมโลก 61.0 22.4 3.2 13.4 100.0
11. ป้องกันการแพร่ขยายอาวุธปรมาณู (นิวเคลียร์) 57.2 19.6 7.0 16.2 100.0
12. รักษาผลประโยชน์ของธุรกิจไทยใน ต่างประเทศ 63.4 21.0 2.2 13.4 100.0
13. กระตุ้นการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 64.5 20.0 2.3 13.2 100.0
14. ต่อสู้กับภาวะการขาดแคลนอาหารของโลก 54.5 26.1 4.1 15.3 100.0
ตารางที่ 22 แสดงการจัดอันดับประเทศที่ประชาชนคนไทยมีความรู้สึกชอบ (จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน)
อันดับที่ ประเทศที่ประชาชนคนไทยมีความรู้สึกชอบ คะแนนเฉลี่ย
1 ญี่ปุ่น 73.36
2 จีน 72.55
3 อังกฤษ 69.50
4 สหรัฐอเมริกา 68.80
5 ออสเตรเลีย 65.33
6 ฝรั่งเศส 64.45
7 เยอรมัน 59.49
8 เกาหลีใต้ 58.10
9 ซาอุดิอาระเบีย 53.64
10 อินเดีย 53.10
11 อินโดนีเซีย 49.50
12 เม็กซิโก 49.29
13 เกาหลีเหนือ 47.57
14 อิหร่าน 44.36
15 อิสราเอล 42.50
16 อิรัก 40.30
ศูนย์วิจัยเอแบคนวัตกรรมทางสังคม การจัดการและธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
โทร. 0-2719—1550 หรือ 0-2719-1080 www.abacsimba.com หรือ www.abacpoll.au.edu
--เอแบคโพลล์--
-พห-
ลำดับที่ ความคิดเห็น ค่าร้อยละ
1 ในฐานะที่เป็นประเทศมหาอำนาจเพียงหนึ่งเดียว ประเทศสหรัฐอเมริกาควรแสดงตน
เป็นผู้นำโลกในการแก้ไขปัญหาระหว่างประเทศ 8.3
2 ประเทศสหรัฐอเมริกาควรร่วมมือกับประเทศอื่นในการแก้ไขปัญหาระหว่างประเทศ 47.3
3 ประเทศสหรัฐอเมริกาไม่ควรยุ่งเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาระหว่างประเทศ 18.0
4 ไม่ทราบ / ไม่มีความคิดเห็น 26.4
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 19 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อประเทศต่างๆ กรณีให้สิทธิและอำนาจแก่ประเทศไทย
ในการมีส่วนร่วมตัดสินใจด้านนโยบายต่างประเทศ
การให้สิทธิและอำนาจแก่ประเทศไทยในการมีส่วนร่วมตัดสินใจด้านนโยบายต่างประเทศ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น จีน อินเดีย
1. ให้สิทธิและอำนาจอย่างเต็มที่ 19.4 16.6 10.9 16.1
2. ให้สิทธิและอำนาจบ้าง 29.9 37.2 31.1 35.4
3. ให้สิทธิและอำนาจน้อย 15.5 12.2 16.1 12.1
4. ไม่ให้สิทธิและอำนาจเลย 8.0 5.0 8.2 6.4
5. ไม่ทราบ /ไม่มีความคิดเห็น 27.2 29.0 33.7 30.0
รวมทั้งสิ้น 100.0 100.0 100.0 100.0
ตารางที่ 20 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุระดับอิทธิพลของประเทศต่างๆ ที่มีต่อโลก
รายชื่อประเทศต่าง 0-3 คะแนน 4-6 คะแนน 7-10 คะแนน รวมทั้งสิ้น Mean(คะแนนเต็ม 10 คะแนน)
1. ประเทศสหรัฐอเมริกา 8.2 9.8 82.0 100.0 8.32
2. ประเทศรัสเซีย 20.0 31.9 48.1 100.0 5.97
3. ประเทศญี่ปุ่น 12.3 24.1 63.6 100.0 6.93
4. ประเทศเยอรมัน 19.0 37.7 43.3 100.0 5.73
5. ประเทศจีน 12.8 25.2 62.0 100.0 6.89
6. ประเทศอินเดีย 33.3 42.7 24.0 100.0 4.57
7. สหภาพยุโรป 19.8 26.2 54.0 100.0 6.21
8. ประเทศอังกฤษ 13.1 24.6 62.3 100.0 6.82
9. ประเทศฝรั่งเศส 15.7 29.9 54.4 100.0 6.33
ตารางที่ 21 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความสำคัญของเป้าหมายนโยบายต่างประเทศที่ประเทศไทยอาจกำหนด
ในอนาคต
นโยบายต่างประเทศ สำคัญมาก ค่อนข้างสำคัญ ไม่สำคัญเลย ไม่ทราบ/ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
1. ปกป้องประเทศที่อ่อนแอไม่ให้ถูกต่างประเทศรุกราน 57.0 26.0 2.8 14.2 100.0
2. ให้การสนับสนุนองค์การสหประชาชาติ 44.9 34.5 3.6 17.0 100.0
3. ต่อสู้กับลัทธิก่อการร้ายระหว่างประเทศ 55.1 23.4 5.5 16.0 100.0
4. รักษาอำนาจทางการทหารทั่วโลก 38.5 33.5 9.4 18.6 100.0
5. ปกป้องอาชีพคนงานไทย 67.1 18.3 2.3 12.3 100.0
6. ช่วยเผยแพร่รัฐบาลรูปแบบประชาธิปไตยให้แก่ประเทศอื่นๆ 43.7 29.8 8.9 17.6 100.0
7. รักษาฐานการผลิตพลังงานให้เพียงพอ 58.7 23.4 3.4 14.5 100.0
8. ควบคุมและลดจำนวนการย้ายถิ่นแบบผิดกฎหมาย 50.2 27.2 7.3 15.3 100.0
9. ยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประเทศด้อยพัฒนา 55.4 24.7 4.2 15.7 100.0
10. แก้ไขสภาพแวดล้อมโลก 61.0 22.4 3.2 13.4 100.0
11. ป้องกันการแพร่ขยายอาวุธปรมาณู (นิวเคลียร์) 57.2 19.6 7.0 16.2 100.0
12. รักษาผลประโยชน์ของธุรกิจไทยใน ต่างประเทศ 63.4 21.0 2.2 13.4 100.0
13. กระตุ้นการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 64.5 20.0 2.3 13.2 100.0
14. ต่อสู้กับภาวะการขาดแคลนอาหารของโลก 54.5 26.1 4.1 15.3 100.0
ตารางที่ 22 แสดงการจัดอันดับประเทศที่ประชาชนคนไทยมีความรู้สึกชอบ (จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน)
อันดับที่ ประเทศที่ประชาชนคนไทยมีความรู้สึกชอบ คะแนนเฉลี่ย
1 ญี่ปุ่น 73.36
2 จีน 72.55
3 อังกฤษ 69.50
4 สหรัฐอเมริกา 68.80
5 ออสเตรเลีย 65.33
6 ฝรั่งเศส 64.45
7 เยอรมัน 59.49
8 เกาหลีใต้ 58.10
9 ซาอุดิอาระเบีย 53.64
10 อินเดีย 53.10
11 อินโดนีเซีย 49.50
12 เม็กซิโก 49.29
13 เกาหลีเหนือ 47.57
14 อิหร่าน 44.36
15 อิสราเอล 42.50
16 อิรัก 40.30
ศูนย์วิจัยเอแบคนวัตกรรมทางสังคม การจัดการและธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
โทร. 0-2719—1550 หรือ 0-2719-1080 www.abacsimba.com หรือ www.abacpoll.au.edu
--เอแบคโพลล์--
-พห-