ศ.ดร.ศรีศักดิ์ จามรมาน ประธานสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ เปิดเผยผลสำรวจเรื่อง “ดัชนีความสุขของเยาวชนไทย : กรณีศึกษาเยาวชน
ไทย อายุ 12-24 ปี ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล” ในครั้งนี้ได้ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล จากเยาวชนไทย อายุ 12-24 ปี ใน
เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,564 ตัวอย่าง ซึ่งดำเนินโครงการสำรวจในระหว่างวันที่ 20-23 มกราคม 2550 ประเด็นสำคัญที่
ค้นพบจากการสำรวจในครั้งนี้ มีดังนี้
จากการสอบถามตัวอย่างถึงกิจกรรมต่างๆ ที่ทำเป็นประจำทุกสัปดาห์ในแต่ละเดือน พบว่า ร้อยละ 84.1 พักผ่อน นอนหลับอยู่ที่บ้าน รอง
ลงมาร้อยละ 67.3 เล่นดนตรี/เล่นกีฬา และ ร้อยละ 65.3 เรียนพิเศษ/อ่านหนังสือ/เข้าห้องสมุดตามลำดับ
เมื่อสอบถามตัวอย่างถึงค่านิยมที่แท้จริงในการใช้ชีวิตของเยาวชนในแต่ละด้าน ซึ่งในที่นี้แบ่งออกเป็น 5 ด้าน คือด้านวัตถุ ด้านรูปลักษณ์
ด้านระดับการศึกษา ด้านครอบครัว และด้านศาสนา พบว่าในด้านวัตถุ ตัวอย่างร้อยละ 32.4 เห็นว่าการมีทรัพย์สินเงินทองจำนวนมากทำให้มีความ
สุข ร้อยละ 32.3 ไม่อยากถูกมองว่าเอ้าท์ (เชย) ร้อยละ 25.5 ไม่ชอบใส่เสื้อผ้าซ้ำๆ ในด้านรูปลักษณ์ ตัวอย่างร้อยละ 41.1 รู้สึกไม่มั่นใจเมื่อ
พบว่าตนเองดูไม่ดี ร้อยละ 38.6 เห็นว่าการมีรูปร่างหน้าตาดีมีชัยไปกว่าครึ่ง ร้อยละ 29.6 รู้สึกไม่มั่นใจถ้ามีคนทักว่าอ้วน ด้านระดับการศึกษา
ร้อยละ 39.8 อยากมีผลการเรียนดีมากกว่าที่จะเข้าใจในบทเรียน ร้อยละ 25.1 เลือกเรียนวิชาที่ให้ผลการเรียนดีมากกว่าวิชาที่ชอบ ด้านครอบ
ครัว ร้อยละ 68.1 เห็นว่าครอบครัวเป็นที่พึงทางใจ ร้อยละ 57.0 ให้ความใส่ใจความเป็นไปของคนในครอบครัว ร้อยละ 53.7 คอยช่วยเหลือคน
ในครอบครัวเมื่อเกิดปัญหา และในด้านศาสนา ร้อยละ 55.5 เห็นว่าการปฏิบัติตนตามคำสอนของศาสนาเป็นสิ่งจำเป็น ร้อยละ 52.7 เชื่อว่าศาสนา
ช่วยทำให้คนพ้นทุกข์ได้อย่างแท้จริง ร้อยละ 49.9 เห็นว่าศาสนาเป็นที่พึ่งทางใจ
ตัวอย่างร้อยละ 85.7 รู้สึกประทับใจมากถึงมากที่สุดต่อบุคคลที่รักครอบครัว รองลงมาประทับใจคนที่ปฏิบัติตนตามหลักคำสอนทางศาสนา
(ร้อยละ 59.6) และคนที่เรียนเก่ง (ร้อยละ 52.5) ตามลำดับ
ร้อยละ 79.7 มีความเชื่อในระดับมากถึงมากที่สุดว่าคนที่มีชีวิตครอบครัวดีจะประสบความสำเร็จในชีวิต รองลงมาได้แก่ คนที่จบการศึกษา
ในระดับสูง (ร้อยละ 69.3) และคนที่เข้าถึงหลักคำสอนของศาสนา (ร้อยละ 56.0) ตามลำดับ
ในขณะที่ตัวอย่างร้อยละ 75.8 ให้ความสำคัญระดับมากถึงมากที่สุดต่อการเรียนสูงๆ รองลงมาได้แก่การพูดคุย ถึงเรื่องในแต่ละวันกับ
คนในครอบครัว (ร้อยละ 69.3) และการมีรูปร่างหน้าตาดี (ร้อยละ 41.4) ตามลำดับ
ตัวอย่างร้อยละ 66.2 คลายเครียดโดยการพูดคุยกับคนในครอบครัวมากถึงมากที่สุด รองลงมาได้แก่ การซื้อของ/ ช็อปปิ้ง (ร้อยละ
39.7) และการนึกถึงคำสอนในศาสนา อ่านหนังสือธรรมะ ทำสมาธิ สวดมนต์ (ร้อยละ 38.2)
ประเด็นสำคัญอีกประเด็นหนึ่งที่ค้นพบคือ ตัวอย่างร้อยละ 73.4 คิดว่าการแข่งขันทางธุรกิจสู่ชัยชนะเป็นเรื่องปกติ ร้อยละ 59.5 เห็น
ว่าการทุจริตคอรัปชั่นเป็นเรื่องปกติธรรมดาในการทำธุรกิจ ร้อยละ 59.5 ซื้อสินค้ามาแล้วพบว่าไม่ได้ ใช้งานอย่างเต็มที่ ร้อยละ 51.3 คิดอยากซื้อ
อะไรก็ซื้อทันที และ ร้อยละ 27.5 เคยซื้อหวย/สลากกินแบ่งรัฐบาลในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา
ค่าคะแนนเฉลี่ยความสุขมวลรวม (Gross Domestic Happiness, GDH) ของเยาวชนไทยอายุ 12-24 ปีในเขตกรุงเทพมหานครและ
ปริมณฑล เท่ากับ 3.52 คะแนน (จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน) ซึ่งอยู่ในระดับที่ค่อนข้างมีความสุข
และผลการวิเคราะห์ทางสถิติพบว่า เพศหญิงจะมีค่าคะแนนเฉลี่ยความสุขมวลรวมมากกว่าเพศชาย และเพศหญิงจะมีค่านิยมด้านวัตถุ ด้าน
รูปลักษณ์ ด้านระดับการศึกษา ด้านครอบครัว ด้านศาสนา มากกว่าเพศชาย นอกจากนี้เยาวชน ที่ใช้เวลาส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่กับพ่อแม่จะมีค่าคะแนน
เฉลี่ยความสุขมวลรวมมากกว่าเยาวชนที่ใช้เวลาส่วนใหญ่พักอาศัย กับคนอื่น เยาวชนที่ใช้เวลาส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่กับพ่อแม่จะมีค่านิยมด้านครอบครัว
มากกว่าเยาวชนที่ใช้เวลาส่วนใหญ่ พักอาศัยกับคนอื่น และเยาวชนที่ใช้เวลาส่วนใหญ่พักอาศัยกับคนอื่นจะมีค่านิยมด้านรูปลักษณ์มากกว่าเยาวชนที่ใช้
เวลา ส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่กับพ่อแม่
รายละเอียดการวิจัย
วัตถุประสงค์และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. เพื่อสำรวจการใช้เวลาว่างของเยาวชนไทย
2. เพื่อสำรวจทัศนคติในการใช้ชีวิตของเยาวชนไทย
3. เพื่อนสำรวจดัชนีความสุขมวลรวมของเยาวชนไทย
4. เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาในหัวข้อเรื่องนี้อย่างลึกซึ้งต่อไป
ระเบียบวิธีการดำเนินโครงการ
โครงการสำรวจภาคสนามของสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เรื่อง “ดัชนีความสุขของเยาวชนไทย : กรณีศึกษา
เยาวชนไทย อายุ 12-24 ปี ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล” ซึ่งดำเนินโครงการสำรวจในระหว่างวันที่ 20-23 มกราคม 2550
ประเภทของการสำรวจวิจัยครั้งนี้ คือ การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research)
กลุ่มประชากรเป้าหมาย คือ เยาวชนไทย อายุ 12-24 ปี ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
เทคนิควิธีการสุ่มตัวอย่าง ได้แก่ การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มเชิงชั้นภูมิหลายชั้น และกำหนดลักษณะของตัวอย่างให้สอดคล้องกับประชากร
เป้าหมายจากการทำสำมะโน ขนาดตัวอย่างในการสำรวจ จำนวน 1,564 ตัวอย่าง ช่วงความเชื่อมั่นอยู่ในระดับร้อยละ 95 ขณะที่ขอบเขตความคลาด
เคลื่อนจากการกำหนดขนาดตัวอย่างอยู่ที่ +/- ร้อยละ 5
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ การสัมภาษณ์
หลังจากนั้น คณะผู้วิจัยได้ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของแบบสอบถามก่อนนำเข้าวิเคราะห์ข้อมูล และงบประมาณทั้งสิ้น
เป็นของมหาวิทยาลัย
ลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง
จากการพิจารณาลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง พบว่า
ตัวอย่าง ร้อยละ 52.0 ระบุเป็นหญิง
ในขณะที่ร้อยละ 48.0 ระบุเป็นชาย
ตัวอย่าง ร้อยละ 36.1 อายุระหว่าง 20-24 ปี
ร้อยละ 32.7 อายุระหว่าง 16-19 ปี
ร้อยละ 31.2 อายุระหว่าง 12-15 ปี
ตัวอย่าง ร้อยละ 36.7 ศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี
ร้อยละ 32.0 ศึกษาอยู่ในระดับ ม.ต้นหรือต่ำกว่า
ร้อยละ 20.5 ศึกษาในระดับ ม.ปลาย/ปวช.
ร้อยละ 7.4 สำเร็จการศึกษาแล้ว
ร้อยละ 1.9 ศึกษาในระดับ ปวส./อนุปริญญา
ร้อยละ 1.1 ไม่ได้เรียนหนังสือ
และร้อยละ 0.4 ศึกษาในระดับสูงกว่าปริญญาตรี
ตัวอย่าง ร้อยละ 29.3 มีรายรับเฉลี่ย 2,001-4,000 บาท/เดือน
ร้อยละ 26.5 มีรายรับเฉลี่ยไม่เกิน 2,000 บาท/เดือน
ร้อยละ 20.8 มีรายรับเฉลี่ย 4,001-6,000 บาท/เดือน
ร้อยละ 13.4 มีรายรับเฉลี่ยมากกว่า 8,000 บาท/เดือน
ร้อยละ 10.7 มีรายรับเฉลี่ย 6,001-8,000 บาท/เดือน
ในขณะที่ตัวอย่าง ร้อยละ 21.7 มีรายจ่ายมากกว่า 5,000 บาท/เดือน
ร้อยละ 18.7 ระบุมีรายจ่ายเฉลี่ยไม่เกิน 1,000 บาท/เดือน
ร้อยละ 18.5 มีรายจ่ายเฉลี่ย 1,001-2,000 บาท/เดือน
ร้อยละ 17.9 มีรายจ่ายเฉลี่ย 2,001-3,000 บาท/เดือน
ร้อยละ 12.4 มีรายจ่ายเฉลี่ย 3,001-4,000 บาท/เดือน
และร้อยละ 10.8 มีรายจ่ายเฉลี่ย 4,001-5,000 บาท/เดือน
โปรดพิจารณาประเด็นสำคัญที่ค้นพบ
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุกิจกรรมต่างๆ ที่ทำเป็นประจำทุกสัปดาห์ ในแต่ละเดือน
ลำดับที่ กิจกรรมต่างๆ ที่ทำเป็นประจำทุกสัปดาห์ ในแต่ละเดือน ค่าร้อยละ
1 พักผ่อน นอนหลับอยู่ที่บ้าน 84.1
2 เล่นดนตรี/เล่นกีฬา 67.3
3 เรียนพิเศษ/อ่านหนังสือ/เข้าห้องสมุด 65.3
4 ทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกับครอบครัว 63.0
5 เล่นเกมคอมพิวเตอร์ /เกมกด/เกมเพลย์ (ที่ไม่ใช่เกมออนไลน์) 57.8
6 ช็อปปิ้ง เที่ยวห้างสรรพสินค้า 53.7
7 เล่นเกมออนไลน์หรือเล่นเกมผ่านทางอินเทอร์เน็ต 45.1
8 กิจกรรมทางศาสนา ทำบุญ/บริจาคทาน 44.3
9 ทำกิจกรรมเพื่อสังคมสาธารณะประโยชน์ 37.3
10 ทำงานหารายได้/ทำงานพิเศษ 31.7
11 ดูหนังสือ/ภาพยนตร์/อินเทอร์เน็ตที่ทำให้เกิดความรู้สึกทางเพศ 20.8
12 ชมภาพยนตร์ที่โรงภาพยนตร์ 15.7
13 ดูการแสดงดนตรี/คอนเสิร์ต 15.4
14 เที่ยวกลางคืนตามสถานบันเทิง เช่น ผับ/ดิสโก้/คาราโอเกะ 13.0
15 ท่องเที่ยวตามแหล่งธรรมชาติ เช่น ทะเล ภูเขา 11.1
ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุค่านิยมที่แท้จริงในการใช้ชีวิตของเยาวชน
ค่านิยม ค่าร้อยละ
ด้านวัตถุ
1. การมีทรัพย์สินเงินทองจำนวนมากทำให้ฉันมีความสุข 32.4
2. ฉันไม่อยากถูกมองว่า เอ้าท์ (เชย) 32.3
3. ฉันไม่ชอบใส่เสื้อผ้าซ้ำๆ 25.5
4. ฉันจะหาซื้อของชิ้นใหม่ เมื่อฉันเบื่อชิ้นที่มีอยู่ 19.8
5. ฉันมักจะซื้อของที่มัน “อินเทรนด์” อยู่เสมอ 16.6
ด้านรูปลักษณ์
6. ฉันไม่มั่นใจเมื่อพบว่าตนเองดูไม่ดี 41.1
7. การมีรูปร่างหน้าตาที่ดีถือว่ามีชัยไปกว่าครึ่ง 38.6
8. ฉันรู้สึกไม่มั่นใจถ้ามีคนทักว่าฉันอ้วนขึ้น 29.6
9. ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ของฉัน หมดไปกับการดูแลรูปร่างหน้าตา 13.5
ด้านระดับการศึกษา
10. ฉันอยากจะมีผลทางการเรียนดีมากกว่าที่จะเข้าใจในบทเรียน 39.8
11. ฉันจะเลือกเรียนวิชาที่ให้ผลการเรียนดี มากกว่าวิชาที่ฉันชอบ 25.1
ด้านครอบครัว
12. ครอบครัวคือที่พึ่งทางใจของฉัน 68.1
13. ฉันใส่ใจความเป็นไปของคนในครอบครัว 57.0
14. ฉันคอยช่วยเหลือคนในครอบครัวเมื่อเกิดปัญหาขึ้น 53.7
15. ฉันใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่กับครอบครัว 37.2
ด้านศาสนา
16. การปฏิบัติตนตามคำสอนของศาสนาเป็นสิ่งจำเป็น 55.5
17. ฉันเชื่อว่าศาสนาช่วยให้คนพ้นทุกข์ได้อย่างแท้จริง 52.7
18. ศาสนาเป็นที่พึ่งทางใจของฉัน 49.9
19. ฉันอยากศึกษาคำสอนของศาสนาให้มากขึ้น 35.0
ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความรู้สึกประทับใจต่อบุคคลในลักษณะต่างๆ
ลักษณะของบุคคล มากที่สุด/มาก ปานกลาง น้อยที่สุด/น้อย รวมทั้งสิ้น
1. รักครอบครัว 85.7 10.2 4.1 100.0
2. ปฏิบัติตนตามหลักคำสอนของศาสนา 59.6 30.7 9.7 100.0
3. เรียนเก่ง 52.5 36.8 10.7 100.0
4. มีรูปร่างหน้าตาดี 41.4 41.3 17.3 100.0
5. มีฐานะทางเศรษฐกิจดี 32.6 51.8 15.6 100.0
ตารางที่ 4 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความเชื่อต่อการประสบความสำเร็จในชีวิตของบุคคลในลักษณะต่างๆ
ลักษณะของบุคคล มากที่สุด/มาก ปานกลาง น้อยที่สุด/น้อย รวมทั้งสิ้น
1. มีชีวิตครอบครัวดี 79.7 15.3 5.0 100.0
2. จบการศึกษาในระดับสูง 69.3 23.5 7.2 100.0
3. เข้าถึงหลักคำสอนของศาสนา 56.0 31.9 12.1 100.0
4. มีฐานะทางเศรษฐกิจดี 52.1 36.2 11.7 100.0
ตารางที่ 5 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุระดับการให้ความสำคัญกับสิ่งต่างๆ
สิ่งต่างๆ มากที่สุด/มาก ปานกลาง น้อยที่สุด/น้อย รวมทั้งสิ้น
1. การเรียนสูงๆ 75.8 18.0 6.2 100.0
2. การพูดคุยถึงเรื่องในแต่ละวันกับคนในครอบครัว 61.5 28.4 10.1 100.0
3. การมีรูปร่างหน้าตาดี 41.4 40.6 18.0 100.0
4.การเรียนกวดวิชา 37.6 34.3 28.1 100.0
ตารางที่ 6 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุวิธีต่างๆ ที่ใช้ในการคลายเครียด
วิธีการคลายเครียด มากที่สุด/มาก ปานกลาง น้อยที่สุด/น้อย รวมทั้งสิ้น
1. พูดคุยกับคนในครอบครัว 66.2 24.7 9.1 100.0
2. ซื้อของ/เดินช็อปปิ้ง 39.7 32.4 27.9 100.0
3. นึกถึงคำสอนในศาสนา อ่านหนังสือธรรมะ ทำสมาธิ สวดมนต์ 38.2 37.3 24.5 100.0
4. ทำผม/ดูแลผิดพรรณ 29.9 27.8 42.3 100.0
ตารางที่ 7 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุการได้คิด ได้ทำ ได้มี กับประเด็นต่างๆ
ลำดับที่ ประเด็นต่างๆ ค่าร้อยละ
1 คิดว่าการแข่งขันทางธุรกิจสู่ชัยชนะเป็นเรื่องปกติ 73.4
2 ท่านเป็นคนที่มักวางแผน ดำเนินการใช้จ่ายและหารายได้อย่างเป็นขั้นตอน 63.1
3 คิดว่าการทุจริตคอรัปชั่นเป็นเรื่องปกติธรรมดาในการทำธุรกิจ 59.5
4 หลังซื้อสินค้ามาพบว่าไม่ค่อยได้ใช้งานอย่างเต็มที่ 59.1
5 คิดอยากซื้ออะไรก็ซื้อทันที 51.3
6 ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา ท่านมุ่งทำงานหาข้าวปลาอาหารพออยู่พอกินมากกว่ามุ่งทำงานหาเงิน 48.8
7 ถ้าไม่มีรายได้เดือนนี้ จะเดือดร้อนต้องพึ่งพาคนอื่น 46.9
8 ท่านเป็นคนที่ขยันมุมานะทำงานหนักมากกว่าคนอื่น เมื่อเทียบกับคนอื่นที่รู้จักอีกประมาณ 100 คน 44.9
9 ช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา เคยซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลหรือหวย 27.5
ตารางที่ 8 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความเป็นจริงในข้อความต่างๆ
ลำดับที่ ประเด็นต่างๆ ค่าร้อยละ
1 คนในครอบครัวของฉันมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน 62.3
2 การยอมรับความจริง ทำให้ฉันสบายใจขึ้น 62.2
3 ครอบครัวสนับสนุนในสิ่งที่ฉันสนใจ 59.4
4 ฉันคิดว่ามนุษย์เกิดมาเพื่อช่วยเหลือกันและกัน 55.9
5 ฉันพอใจกับสิ่งของที่ฉันมี 55.4
6 เพื่อน ๆ ให้กำลังใจฉันเสมอ เมื่อฉันมีปัญหา 54.9
7 ฉันภูมิใจที่ฉันทำประโยชน์ให้กับสังคม 54.5
8 ฉันพูดคุยกับพ่อแม่ได้ทุกเรื่อง 54.2
9 ครอบครัวช่วยฉันแก้ปัญหาต่าง ๆ 53.8
10 ฉันพอใจกับความสามารถของฉัน 53.2
11 ฉันมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของครอบครัว 51.6
12 ฉันภูมิใจที่ฉันเป็นคนเสียสละ 51.6
13 ฉันพอใจในบุคลิกภาพของฉัน 50.5
14 เมื่อเพื่อนมีปัญหา ก็จะเล่าให้ฉันฟัง 50.2
15 ฉันพร้อมรับสถานการณ์ที่แย่ๆได้ 48.8
16 ครอบครัวของฉันใช้เวลาว่างร่วมกัน 48.5
17 ฉันพอใจกับสุขภาพของฉัน 48.4
18 ฉันพอใจกับรูปร่างหน้าตาของฉัน 46.5
19 ฉันยอมรับข้อเสียของคนทุกคนได้ 46.0
20 ฉันกลัวว่า ครอบครัวฉันจะไม่มีเงินในยามฉุกเฉิน 40.0
21 ฉันอยากให้เพื่อนฟังความคิดเห็นของฉันมากกว่านี้ 28.0
22 ฉันผิดหวังกับการกระทำของตนเอง 27.1
23 ฉันมีปัญหาเรื่องค่าใช้จ่ายในแต่ละวันของฉัน 23.9
24 ปัญหาสุขภาพเป็นอุปสรรคในชีวิตฉัน 23.9
25 ฉันกลัวว่าทางบ้านจะส่งฉันเรียนได้ไม่เต็มที่ 22.8
26 ฉันรู้สึกเบื่อหน่ายกับชีวิต 22.4
27 ฉันกังวลกับโรคที่ฉันเป็น 19.5
28 ฉันกลัวว่าที่อยู่ของฉันจะไม่ปลอดภัย 17.2
29 ฉันกลัวว่าผู้อื่นจะเหนือกว่า 16.2
30 ฉันมีปัญหากับผู้อื่น 14.0
ตารางที่ 9 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยความสุขมวลรวมของเยาวชนไทยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
-ค่าคะแนนเฉลี่ยความสุขมวลรวมของเยาวชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร คะแนนเต็ม 5 คะแนน ความหมาย
และปริมณฑล(Gross Domestic Happiness, GDH) 3.52 ค่อนข้างมีความสุข
ตารางที่ 10 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุลักษณะของที่พักอาศัยในปัจจุบัน
ลำดับที่ ลักษณะของที่พักอาศัยในปัจจุบัน ค่าร้อยละ
1 บ้านเดี่ยว 45.1
2 ทาวน์เฮ้าส์ 18.1
3 คอนโดมิเนียม/แมนชั่น/อพาร์ตเมนต์ 17.0
4 อาคารพาณิชย์ 5.4
5 หอพักของสถานศึกษา 7.7
6 อื่นๆ เช่น ห้องแถว/วัด/บ้านแฝด 6.7
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 11 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุบุคคลที่พักอาศัยอยู่ด้วยในปัจจุบัน (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ บุคคลที่พักอาศัยอยู่ด้วยในปัจจุบัน ค่าร้อยละ
1 แม่ 50.1
2 พ่อ 46.2
3 พี่-น้อง 42.1
4 ญาติ 24.9
5 เพื่อน 15.7
6 อยู่กับแฟน/คู่รัก 7.2
7 พักอาศัยอยู่คนเดียว 4.8
8 อื่นๆ เช่น ครู อาจารย์/ผู้ปกครองที่ไม่ใช่ญาติ/พระ 3.1
ตารางที่ 12 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุบุคคลที่ใช้เวลาส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่ด้วยมากที่สุด
ลำดับที่ บุคคลที่ใช้เวลาส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่ด้วยมากที่สุด ค่าร้อยละ
1 อยู่คนเดียว 23.6
2 พ่อ 4.5
3 แม่ 17.1
4 พ่อและแม่ทั้งสองคน 24.1
5 ญาติ/พี่น้อง 12.4
6 เพื่อน 14.1
7 อื่นๆ เช่น ครูอาจารย์/ผู้ปกครองที่ไม่ใช่ญาติ/พระ 4.2
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 13 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุแหล่งที่มาของรายรับในแต่ละเดือน (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ แหล่งที่มาของรายรับในแต่ละเดือน ค่าร้อยละ
1 พ่อ/แม่ 80.1
2 ทำงานหารายได้ด้วยตัวเอง 19.9
3 พี่/น้อง/ญาติ 20.1
4 กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา 7.2
5 แฟน/คู่รัก 6.9
6 ทุนการศึกษา 3.4
7 เพื่อน 3.1
8 อื่นๆ เช่น ครูอาจารย์/ผู้ปกครองที่ไม่ใช่ญาติ/พระ 1.6
ตารางที่ 14 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุค่าใช้จ่ายในแต่ละเดือน (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ ค่าใช้จ่ายในแต่ละเดือน ค่าร้อยละ
1 ค่าอาหาร/เครื่องใช้ประจำวัน 83.6
2 ค่าอุปกรณ์การเรียน 62.1
3 ค่าเดินทาง 60.2
4 ค่าบริการโทรศัพท์/อุปกรณ์สื่อสาร 45.3
5 ค่าเครื่องแต่งกาย/เครื่องประดับ 41.2
6 ค่าเช่าที่พักอาศัย 23.8
7 ทำบุญบริจาคทาน 23.8
8 ค่าชั่วโมงอินเทอร์เน็ต 20.0
9 ค่าใช้จ่ายในการเที่ยวสถานบันเทิง 18.3
10 ค่าเกมคอมพิวเตอร์/เกมกด 17.2
11 ฝากธนาคาร/ออมทรัพย์ 16.2
12 ค่าใช้จ่ายในการเรียนเสริมหลักสูตร 12.1
13 ค่าอุปกรณ์กีฬา 11.6
14 ใช้จ่ายในการเดินทางท่องเที่ยวตามธรรมชาติ 10.6
15 ค่าผ่อนชำระสินค้าต่างๆ 10.2
16 เสี่ยงโชค 7.4
สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ โทร.0-2719-1549-50
www.abacpoll.au.edu หรือ www.abacpoll.com
--เอแบคโพลล์--
-พห-
ไทย อายุ 12-24 ปี ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล” ในครั้งนี้ได้ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล จากเยาวชนไทย อายุ 12-24 ปี ใน
เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,564 ตัวอย่าง ซึ่งดำเนินโครงการสำรวจในระหว่างวันที่ 20-23 มกราคม 2550 ประเด็นสำคัญที่
ค้นพบจากการสำรวจในครั้งนี้ มีดังนี้
จากการสอบถามตัวอย่างถึงกิจกรรมต่างๆ ที่ทำเป็นประจำทุกสัปดาห์ในแต่ละเดือน พบว่า ร้อยละ 84.1 พักผ่อน นอนหลับอยู่ที่บ้าน รอง
ลงมาร้อยละ 67.3 เล่นดนตรี/เล่นกีฬา และ ร้อยละ 65.3 เรียนพิเศษ/อ่านหนังสือ/เข้าห้องสมุดตามลำดับ
เมื่อสอบถามตัวอย่างถึงค่านิยมที่แท้จริงในการใช้ชีวิตของเยาวชนในแต่ละด้าน ซึ่งในที่นี้แบ่งออกเป็น 5 ด้าน คือด้านวัตถุ ด้านรูปลักษณ์
ด้านระดับการศึกษา ด้านครอบครัว และด้านศาสนา พบว่าในด้านวัตถุ ตัวอย่างร้อยละ 32.4 เห็นว่าการมีทรัพย์สินเงินทองจำนวนมากทำให้มีความ
สุข ร้อยละ 32.3 ไม่อยากถูกมองว่าเอ้าท์ (เชย) ร้อยละ 25.5 ไม่ชอบใส่เสื้อผ้าซ้ำๆ ในด้านรูปลักษณ์ ตัวอย่างร้อยละ 41.1 รู้สึกไม่มั่นใจเมื่อ
พบว่าตนเองดูไม่ดี ร้อยละ 38.6 เห็นว่าการมีรูปร่างหน้าตาดีมีชัยไปกว่าครึ่ง ร้อยละ 29.6 รู้สึกไม่มั่นใจถ้ามีคนทักว่าอ้วน ด้านระดับการศึกษา
ร้อยละ 39.8 อยากมีผลการเรียนดีมากกว่าที่จะเข้าใจในบทเรียน ร้อยละ 25.1 เลือกเรียนวิชาที่ให้ผลการเรียนดีมากกว่าวิชาที่ชอบ ด้านครอบ
ครัว ร้อยละ 68.1 เห็นว่าครอบครัวเป็นที่พึงทางใจ ร้อยละ 57.0 ให้ความใส่ใจความเป็นไปของคนในครอบครัว ร้อยละ 53.7 คอยช่วยเหลือคน
ในครอบครัวเมื่อเกิดปัญหา และในด้านศาสนา ร้อยละ 55.5 เห็นว่าการปฏิบัติตนตามคำสอนของศาสนาเป็นสิ่งจำเป็น ร้อยละ 52.7 เชื่อว่าศาสนา
ช่วยทำให้คนพ้นทุกข์ได้อย่างแท้จริง ร้อยละ 49.9 เห็นว่าศาสนาเป็นที่พึ่งทางใจ
ตัวอย่างร้อยละ 85.7 รู้สึกประทับใจมากถึงมากที่สุดต่อบุคคลที่รักครอบครัว รองลงมาประทับใจคนที่ปฏิบัติตนตามหลักคำสอนทางศาสนา
(ร้อยละ 59.6) และคนที่เรียนเก่ง (ร้อยละ 52.5) ตามลำดับ
ร้อยละ 79.7 มีความเชื่อในระดับมากถึงมากที่สุดว่าคนที่มีชีวิตครอบครัวดีจะประสบความสำเร็จในชีวิต รองลงมาได้แก่ คนที่จบการศึกษา
ในระดับสูง (ร้อยละ 69.3) และคนที่เข้าถึงหลักคำสอนของศาสนา (ร้อยละ 56.0) ตามลำดับ
ในขณะที่ตัวอย่างร้อยละ 75.8 ให้ความสำคัญระดับมากถึงมากที่สุดต่อการเรียนสูงๆ รองลงมาได้แก่การพูดคุย ถึงเรื่องในแต่ละวันกับ
คนในครอบครัว (ร้อยละ 69.3) และการมีรูปร่างหน้าตาดี (ร้อยละ 41.4) ตามลำดับ
ตัวอย่างร้อยละ 66.2 คลายเครียดโดยการพูดคุยกับคนในครอบครัวมากถึงมากที่สุด รองลงมาได้แก่ การซื้อของ/ ช็อปปิ้ง (ร้อยละ
39.7) และการนึกถึงคำสอนในศาสนา อ่านหนังสือธรรมะ ทำสมาธิ สวดมนต์ (ร้อยละ 38.2)
ประเด็นสำคัญอีกประเด็นหนึ่งที่ค้นพบคือ ตัวอย่างร้อยละ 73.4 คิดว่าการแข่งขันทางธุรกิจสู่ชัยชนะเป็นเรื่องปกติ ร้อยละ 59.5 เห็น
ว่าการทุจริตคอรัปชั่นเป็นเรื่องปกติธรรมดาในการทำธุรกิจ ร้อยละ 59.5 ซื้อสินค้ามาแล้วพบว่าไม่ได้ ใช้งานอย่างเต็มที่ ร้อยละ 51.3 คิดอยากซื้อ
อะไรก็ซื้อทันที และ ร้อยละ 27.5 เคยซื้อหวย/สลากกินแบ่งรัฐบาลในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา
ค่าคะแนนเฉลี่ยความสุขมวลรวม (Gross Domestic Happiness, GDH) ของเยาวชนไทยอายุ 12-24 ปีในเขตกรุงเทพมหานครและ
ปริมณฑล เท่ากับ 3.52 คะแนน (จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน) ซึ่งอยู่ในระดับที่ค่อนข้างมีความสุข
และผลการวิเคราะห์ทางสถิติพบว่า เพศหญิงจะมีค่าคะแนนเฉลี่ยความสุขมวลรวมมากกว่าเพศชาย และเพศหญิงจะมีค่านิยมด้านวัตถุ ด้าน
รูปลักษณ์ ด้านระดับการศึกษา ด้านครอบครัว ด้านศาสนา มากกว่าเพศชาย นอกจากนี้เยาวชน ที่ใช้เวลาส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่กับพ่อแม่จะมีค่าคะแนน
เฉลี่ยความสุขมวลรวมมากกว่าเยาวชนที่ใช้เวลาส่วนใหญ่พักอาศัย กับคนอื่น เยาวชนที่ใช้เวลาส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่กับพ่อแม่จะมีค่านิยมด้านครอบครัว
มากกว่าเยาวชนที่ใช้เวลาส่วนใหญ่ พักอาศัยกับคนอื่น และเยาวชนที่ใช้เวลาส่วนใหญ่พักอาศัยกับคนอื่นจะมีค่านิยมด้านรูปลักษณ์มากกว่าเยาวชนที่ใช้
เวลา ส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่กับพ่อแม่
รายละเอียดการวิจัย
วัตถุประสงค์และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. เพื่อสำรวจการใช้เวลาว่างของเยาวชนไทย
2. เพื่อสำรวจทัศนคติในการใช้ชีวิตของเยาวชนไทย
3. เพื่อนสำรวจดัชนีความสุขมวลรวมของเยาวชนไทย
4. เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาในหัวข้อเรื่องนี้อย่างลึกซึ้งต่อไป
ระเบียบวิธีการดำเนินโครงการ
โครงการสำรวจภาคสนามของสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เรื่อง “ดัชนีความสุขของเยาวชนไทย : กรณีศึกษา
เยาวชนไทย อายุ 12-24 ปี ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล” ซึ่งดำเนินโครงการสำรวจในระหว่างวันที่ 20-23 มกราคม 2550
ประเภทของการสำรวจวิจัยครั้งนี้ คือ การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research)
กลุ่มประชากรเป้าหมาย คือ เยาวชนไทย อายุ 12-24 ปี ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
เทคนิควิธีการสุ่มตัวอย่าง ได้แก่ การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มเชิงชั้นภูมิหลายชั้น และกำหนดลักษณะของตัวอย่างให้สอดคล้องกับประชากร
เป้าหมายจากการทำสำมะโน ขนาดตัวอย่างในการสำรวจ จำนวน 1,564 ตัวอย่าง ช่วงความเชื่อมั่นอยู่ในระดับร้อยละ 95 ขณะที่ขอบเขตความคลาด
เคลื่อนจากการกำหนดขนาดตัวอย่างอยู่ที่ +/- ร้อยละ 5
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ การสัมภาษณ์
หลังจากนั้น คณะผู้วิจัยได้ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของแบบสอบถามก่อนนำเข้าวิเคราะห์ข้อมูล และงบประมาณทั้งสิ้น
เป็นของมหาวิทยาลัย
ลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง
จากการพิจารณาลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง พบว่า
ตัวอย่าง ร้อยละ 52.0 ระบุเป็นหญิง
ในขณะที่ร้อยละ 48.0 ระบุเป็นชาย
ตัวอย่าง ร้อยละ 36.1 อายุระหว่าง 20-24 ปี
ร้อยละ 32.7 อายุระหว่าง 16-19 ปี
ร้อยละ 31.2 อายุระหว่าง 12-15 ปี
ตัวอย่าง ร้อยละ 36.7 ศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี
ร้อยละ 32.0 ศึกษาอยู่ในระดับ ม.ต้นหรือต่ำกว่า
ร้อยละ 20.5 ศึกษาในระดับ ม.ปลาย/ปวช.
ร้อยละ 7.4 สำเร็จการศึกษาแล้ว
ร้อยละ 1.9 ศึกษาในระดับ ปวส./อนุปริญญา
ร้อยละ 1.1 ไม่ได้เรียนหนังสือ
และร้อยละ 0.4 ศึกษาในระดับสูงกว่าปริญญาตรี
ตัวอย่าง ร้อยละ 29.3 มีรายรับเฉลี่ย 2,001-4,000 บาท/เดือน
ร้อยละ 26.5 มีรายรับเฉลี่ยไม่เกิน 2,000 บาท/เดือน
ร้อยละ 20.8 มีรายรับเฉลี่ย 4,001-6,000 บาท/เดือน
ร้อยละ 13.4 มีรายรับเฉลี่ยมากกว่า 8,000 บาท/เดือน
ร้อยละ 10.7 มีรายรับเฉลี่ย 6,001-8,000 บาท/เดือน
ในขณะที่ตัวอย่าง ร้อยละ 21.7 มีรายจ่ายมากกว่า 5,000 บาท/เดือน
ร้อยละ 18.7 ระบุมีรายจ่ายเฉลี่ยไม่เกิน 1,000 บาท/เดือน
ร้อยละ 18.5 มีรายจ่ายเฉลี่ย 1,001-2,000 บาท/เดือน
ร้อยละ 17.9 มีรายจ่ายเฉลี่ย 2,001-3,000 บาท/เดือน
ร้อยละ 12.4 มีรายจ่ายเฉลี่ย 3,001-4,000 บาท/เดือน
และร้อยละ 10.8 มีรายจ่ายเฉลี่ย 4,001-5,000 บาท/เดือน
โปรดพิจารณาประเด็นสำคัญที่ค้นพบ
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุกิจกรรมต่างๆ ที่ทำเป็นประจำทุกสัปดาห์ ในแต่ละเดือน
ลำดับที่ กิจกรรมต่างๆ ที่ทำเป็นประจำทุกสัปดาห์ ในแต่ละเดือน ค่าร้อยละ
1 พักผ่อน นอนหลับอยู่ที่บ้าน 84.1
2 เล่นดนตรี/เล่นกีฬา 67.3
3 เรียนพิเศษ/อ่านหนังสือ/เข้าห้องสมุด 65.3
4 ทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกับครอบครัว 63.0
5 เล่นเกมคอมพิวเตอร์ /เกมกด/เกมเพลย์ (ที่ไม่ใช่เกมออนไลน์) 57.8
6 ช็อปปิ้ง เที่ยวห้างสรรพสินค้า 53.7
7 เล่นเกมออนไลน์หรือเล่นเกมผ่านทางอินเทอร์เน็ต 45.1
8 กิจกรรมทางศาสนา ทำบุญ/บริจาคทาน 44.3
9 ทำกิจกรรมเพื่อสังคมสาธารณะประโยชน์ 37.3
10 ทำงานหารายได้/ทำงานพิเศษ 31.7
11 ดูหนังสือ/ภาพยนตร์/อินเทอร์เน็ตที่ทำให้เกิดความรู้สึกทางเพศ 20.8
12 ชมภาพยนตร์ที่โรงภาพยนตร์ 15.7
13 ดูการแสดงดนตรี/คอนเสิร์ต 15.4
14 เที่ยวกลางคืนตามสถานบันเทิง เช่น ผับ/ดิสโก้/คาราโอเกะ 13.0
15 ท่องเที่ยวตามแหล่งธรรมชาติ เช่น ทะเล ภูเขา 11.1
ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุค่านิยมที่แท้จริงในการใช้ชีวิตของเยาวชน
ค่านิยม ค่าร้อยละ
ด้านวัตถุ
1. การมีทรัพย์สินเงินทองจำนวนมากทำให้ฉันมีความสุข 32.4
2. ฉันไม่อยากถูกมองว่า เอ้าท์ (เชย) 32.3
3. ฉันไม่ชอบใส่เสื้อผ้าซ้ำๆ 25.5
4. ฉันจะหาซื้อของชิ้นใหม่ เมื่อฉันเบื่อชิ้นที่มีอยู่ 19.8
5. ฉันมักจะซื้อของที่มัน “อินเทรนด์” อยู่เสมอ 16.6
ด้านรูปลักษณ์
6. ฉันไม่มั่นใจเมื่อพบว่าตนเองดูไม่ดี 41.1
7. การมีรูปร่างหน้าตาที่ดีถือว่ามีชัยไปกว่าครึ่ง 38.6
8. ฉันรู้สึกไม่มั่นใจถ้ามีคนทักว่าฉันอ้วนขึ้น 29.6
9. ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ของฉัน หมดไปกับการดูแลรูปร่างหน้าตา 13.5
ด้านระดับการศึกษา
10. ฉันอยากจะมีผลทางการเรียนดีมากกว่าที่จะเข้าใจในบทเรียน 39.8
11. ฉันจะเลือกเรียนวิชาที่ให้ผลการเรียนดี มากกว่าวิชาที่ฉันชอบ 25.1
ด้านครอบครัว
12. ครอบครัวคือที่พึ่งทางใจของฉัน 68.1
13. ฉันใส่ใจความเป็นไปของคนในครอบครัว 57.0
14. ฉันคอยช่วยเหลือคนในครอบครัวเมื่อเกิดปัญหาขึ้น 53.7
15. ฉันใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่กับครอบครัว 37.2
ด้านศาสนา
16. การปฏิบัติตนตามคำสอนของศาสนาเป็นสิ่งจำเป็น 55.5
17. ฉันเชื่อว่าศาสนาช่วยให้คนพ้นทุกข์ได้อย่างแท้จริง 52.7
18. ศาสนาเป็นที่พึ่งทางใจของฉัน 49.9
19. ฉันอยากศึกษาคำสอนของศาสนาให้มากขึ้น 35.0
ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความรู้สึกประทับใจต่อบุคคลในลักษณะต่างๆ
ลักษณะของบุคคล มากที่สุด/มาก ปานกลาง น้อยที่สุด/น้อย รวมทั้งสิ้น
1. รักครอบครัว 85.7 10.2 4.1 100.0
2. ปฏิบัติตนตามหลักคำสอนของศาสนา 59.6 30.7 9.7 100.0
3. เรียนเก่ง 52.5 36.8 10.7 100.0
4. มีรูปร่างหน้าตาดี 41.4 41.3 17.3 100.0
5. มีฐานะทางเศรษฐกิจดี 32.6 51.8 15.6 100.0
ตารางที่ 4 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความเชื่อต่อการประสบความสำเร็จในชีวิตของบุคคลในลักษณะต่างๆ
ลักษณะของบุคคล มากที่สุด/มาก ปานกลาง น้อยที่สุด/น้อย รวมทั้งสิ้น
1. มีชีวิตครอบครัวดี 79.7 15.3 5.0 100.0
2. จบการศึกษาในระดับสูง 69.3 23.5 7.2 100.0
3. เข้าถึงหลักคำสอนของศาสนา 56.0 31.9 12.1 100.0
4. มีฐานะทางเศรษฐกิจดี 52.1 36.2 11.7 100.0
ตารางที่ 5 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุระดับการให้ความสำคัญกับสิ่งต่างๆ
สิ่งต่างๆ มากที่สุด/มาก ปานกลาง น้อยที่สุด/น้อย รวมทั้งสิ้น
1. การเรียนสูงๆ 75.8 18.0 6.2 100.0
2. การพูดคุยถึงเรื่องในแต่ละวันกับคนในครอบครัว 61.5 28.4 10.1 100.0
3. การมีรูปร่างหน้าตาดี 41.4 40.6 18.0 100.0
4.การเรียนกวดวิชา 37.6 34.3 28.1 100.0
ตารางที่ 6 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุวิธีต่างๆ ที่ใช้ในการคลายเครียด
วิธีการคลายเครียด มากที่สุด/มาก ปานกลาง น้อยที่สุด/น้อย รวมทั้งสิ้น
1. พูดคุยกับคนในครอบครัว 66.2 24.7 9.1 100.0
2. ซื้อของ/เดินช็อปปิ้ง 39.7 32.4 27.9 100.0
3. นึกถึงคำสอนในศาสนา อ่านหนังสือธรรมะ ทำสมาธิ สวดมนต์ 38.2 37.3 24.5 100.0
4. ทำผม/ดูแลผิดพรรณ 29.9 27.8 42.3 100.0
ตารางที่ 7 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุการได้คิด ได้ทำ ได้มี กับประเด็นต่างๆ
ลำดับที่ ประเด็นต่างๆ ค่าร้อยละ
1 คิดว่าการแข่งขันทางธุรกิจสู่ชัยชนะเป็นเรื่องปกติ 73.4
2 ท่านเป็นคนที่มักวางแผน ดำเนินการใช้จ่ายและหารายได้อย่างเป็นขั้นตอน 63.1
3 คิดว่าการทุจริตคอรัปชั่นเป็นเรื่องปกติธรรมดาในการทำธุรกิจ 59.5
4 หลังซื้อสินค้ามาพบว่าไม่ค่อยได้ใช้งานอย่างเต็มที่ 59.1
5 คิดอยากซื้ออะไรก็ซื้อทันที 51.3
6 ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา ท่านมุ่งทำงานหาข้าวปลาอาหารพออยู่พอกินมากกว่ามุ่งทำงานหาเงิน 48.8
7 ถ้าไม่มีรายได้เดือนนี้ จะเดือดร้อนต้องพึ่งพาคนอื่น 46.9
8 ท่านเป็นคนที่ขยันมุมานะทำงานหนักมากกว่าคนอื่น เมื่อเทียบกับคนอื่นที่รู้จักอีกประมาณ 100 คน 44.9
9 ช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา เคยซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลหรือหวย 27.5
ตารางที่ 8 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความเป็นจริงในข้อความต่างๆ
ลำดับที่ ประเด็นต่างๆ ค่าร้อยละ
1 คนในครอบครัวของฉันมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน 62.3
2 การยอมรับความจริง ทำให้ฉันสบายใจขึ้น 62.2
3 ครอบครัวสนับสนุนในสิ่งที่ฉันสนใจ 59.4
4 ฉันคิดว่ามนุษย์เกิดมาเพื่อช่วยเหลือกันและกัน 55.9
5 ฉันพอใจกับสิ่งของที่ฉันมี 55.4
6 เพื่อน ๆ ให้กำลังใจฉันเสมอ เมื่อฉันมีปัญหา 54.9
7 ฉันภูมิใจที่ฉันทำประโยชน์ให้กับสังคม 54.5
8 ฉันพูดคุยกับพ่อแม่ได้ทุกเรื่อง 54.2
9 ครอบครัวช่วยฉันแก้ปัญหาต่าง ๆ 53.8
10 ฉันพอใจกับความสามารถของฉัน 53.2
11 ฉันมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของครอบครัว 51.6
12 ฉันภูมิใจที่ฉันเป็นคนเสียสละ 51.6
13 ฉันพอใจในบุคลิกภาพของฉัน 50.5
14 เมื่อเพื่อนมีปัญหา ก็จะเล่าให้ฉันฟัง 50.2
15 ฉันพร้อมรับสถานการณ์ที่แย่ๆได้ 48.8
16 ครอบครัวของฉันใช้เวลาว่างร่วมกัน 48.5
17 ฉันพอใจกับสุขภาพของฉัน 48.4
18 ฉันพอใจกับรูปร่างหน้าตาของฉัน 46.5
19 ฉันยอมรับข้อเสียของคนทุกคนได้ 46.0
20 ฉันกลัวว่า ครอบครัวฉันจะไม่มีเงินในยามฉุกเฉิน 40.0
21 ฉันอยากให้เพื่อนฟังความคิดเห็นของฉันมากกว่านี้ 28.0
22 ฉันผิดหวังกับการกระทำของตนเอง 27.1
23 ฉันมีปัญหาเรื่องค่าใช้จ่ายในแต่ละวันของฉัน 23.9
24 ปัญหาสุขภาพเป็นอุปสรรคในชีวิตฉัน 23.9
25 ฉันกลัวว่าทางบ้านจะส่งฉันเรียนได้ไม่เต็มที่ 22.8
26 ฉันรู้สึกเบื่อหน่ายกับชีวิต 22.4
27 ฉันกังวลกับโรคที่ฉันเป็น 19.5
28 ฉันกลัวว่าที่อยู่ของฉันจะไม่ปลอดภัย 17.2
29 ฉันกลัวว่าผู้อื่นจะเหนือกว่า 16.2
30 ฉันมีปัญหากับผู้อื่น 14.0
ตารางที่ 9 แสดงค่าคะแนนเฉลี่ยความสุขมวลรวมของเยาวชนไทยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
-ค่าคะแนนเฉลี่ยความสุขมวลรวมของเยาวชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร คะแนนเต็ม 5 คะแนน ความหมาย
และปริมณฑล(Gross Domestic Happiness, GDH) 3.52 ค่อนข้างมีความสุข
ตารางที่ 10 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุลักษณะของที่พักอาศัยในปัจจุบัน
ลำดับที่ ลักษณะของที่พักอาศัยในปัจจุบัน ค่าร้อยละ
1 บ้านเดี่ยว 45.1
2 ทาวน์เฮ้าส์ 18.1
3 คอนโดมิเนียม/แมนชั่น/อพาร์ตเมนต์ 17.0
4 อาคารพาณิชย์ 5.4
5 หอพักของสถานศึกษา 7.7
6 อื่นๆ เช่น ห้องแถว/วัด/บ้านแฝด 6.7
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 11 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุบุคคลที่พักอาศัยอยู่ด้วยในปัจจุบัน (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ บุคคลที่พักอาศัยอยู่ด้วยในปัจจุบัน ค่าร้อยละ
1 แม่ 50.1
2 พ่อ 46.2
3 พี่-น้อง 42.1
4 ญาติ 24.9
5 เพื่อน 15.7
6 อยู่กับแฟน/คู่รัก 7.2
7 พักอาศัยอยู่คนเดียว 4.8
8 อื่นๆ เช่น ครู อาจารย์/ผู้ปกครองที่ไม่ใช่ญาติ/พระ 3.1
ตารางที่ 12 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุบุคคลที่ใช้เวลาส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่ด้วยมากที่สุด
ลำดับที่ บุคคลที่ใช้เวลาส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่ด้วยมากที่สุด ค่าร้อยละ
1 อยู่คนเดียว 23.6
2 พ่อ 4.5
3 แม่ 17.1
4 พ่อและแม่ทั้งสองคน 24.1
5 ญาติ/พี่น้อง 12.4
6 เพื่อน 14.1
7 อื่นๆ เช่น ครูอาจารย์/ผู้ปกครองที่ไม่ใช่ญาติ/พระ 4.2
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 13 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุแหล่งที่มาของรายรับในแต่ละเดือน (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ แหล่งที่มาของรายรับในแต่ละเดือน ค่าร้อยละ
1 พ่อ/แม่ 80.1
2 ทำงานหารายได้ด้วยตัวเอง 19.9
3 พี่/น้อง/ญาติ 20.1
4 กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา 7.2
5 แฟน/คู่รัก 6.9
6 ทุนการศึกษา 3.4
7 เพื่อน 3.1
8 อื่นๆ เช่น ครูอาจารย์/ผู้ปกครองที่ไม่ใช่ญาติ/พระ 1.6
ตารางที่ 14 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุค่าใช้จ่ายในแต่ละเดือน (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ ค่าใช้จ่ายในแต่ละเดือน ค่าร้อยละ
1 ค่าอาหาร/เครื่องใช้ประจำวัน 83.6
2 ค่าอุปกรณ์การเรียน 62.1
3 ค่าเดินทาง 60.2
4 ค่าบริการโทรศัพท์/อุปกรณ์สื่อสาร 45.3
5 ค่าเครื่องแต่งกาย/เครื่องประดับ 41.2
6 ค่าเช่าที่พักอาศัย 23.8
7 ทำบุญบริจาคทาน 23.8
8 ค่าชั่วโมงอินเทอร์เน็ต 20.0
9 ค่าใช้จ่ายในการเที่ยวสถานบันเทิง 18.3
10 ค่าเกมคอมพิวเตอร์/เกมกด 17.2
11 ฝากธนาคาร/ออมทรัพย์ 16.2
12 ค่าใช้จ่ายในการเรียนเสริมหลักสูตร 12.1
13 ค่าอุปกรณ์กีฬา 11.6
14 ใช้จ่ายในการเดินทางท่องเที่ยวตามธรรมชาติ 10.6
15 ค่าผ่อนชำระสินค้าต่างๆ 10.2
16 เสี่ยงโชค 7.4
สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ โทร.0-2719-1549-50
www.abacpoll.au.edu หรือ www.abacpoll.com
--เอแบคโพลล์--
-พห-