ดร.นพดล กรรณิกา ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยเอแบค นวัตกรรมทางสังคม การจัดการและธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (The ABAC
Social Innovation in Management and Business Analysis) เปิดเผยผลสำรวจเรื่อง “ประชาชนคิดอย่างไรต่อปัญหาไอทีวี: กรณีศึกษา
ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งใน เขตกรุงเทพมหานคร” จำนวนทั้งสิ้น 1,205 ตัวอย่าง ซึ่งดำเนินมีระยะเวลาการดำเนินโครงการระหว่าง วันที่ 6-7
มีนาคม พ.ศ. 2550 ประเด็นสำคัญที่ค้นพบจากการสำรวจในครั้งนี้ มีดังนี้
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุ พฤติกรรมการติดตามข่าวสารประจำวันในช่วง 30 วันที่ผ่านมา
ลำดับที่ การติดตามข่าวสารประจำวัน ค่าร้อยละ
1 ทุกวัน/เกือบทุกวัน 49.2
2 3-4 วันต่อสัปดาห์ 23.6
3 1-2 วันต่อสัปดาห์ 14.4
4 ติดตามเป็นบางสัปดาห์ 8.6
5 ไม่ได้ติดตามเลย 4.2
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุ พฤติกรรมการรับชมสถานีโทรทัศน์ไอทีวี ในช่วง 30 วันที่ผ่านมา
ลำดับที่ การรับชมสถานีโทรทัศน์ไอทีวี ค่าร้อยละ
1 ติดตามชม 67.9
2 ไม่ได้ติดตามชม 32.1
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุ การรับทราบข่าวคณะรัฐมนตรีมีมติให้ปิดสถานีโทรทัศน์ไอทีวี
ลำดับที่ การรับทราบข่าว ค่าร้อยละ
1 ทราบข่าว 96.3
2 ไม่ทราบข่าว 3.7
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 4 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุ ความต้องการให้สถานีโทรทัศน์ไอทีวีทำหน้าที่สื่อเสรีต่อไป
ลำดับที่ ความต้องการของตัวอย่าง ค่าร้อยละ
1 ต้องการ 76.4
2 ไม่ต้องการ 10.3
3 ไม่มีความเห็น 13.3
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 5 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุ ความรู้สึกต่อปัญหาที่เกิดขึ้นกับสถานีโทรทัศน์ไอทีวี
ลำดับที่ ความรู้สึก ค่าร้อยละ
1 เสียใจ เห็นใจ 82.5
2 ไม่รู้สึกอะไร 6.9
3 ไม่มีความเห็น 10.6
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 6 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นกรณีไอทีวีจะไม่เสรี ถ้าไปขึ้นกับหน่วยงานของรัฐบาล
ลำดับที่ ความกังวล ค่าร้อยละ
1 คิดว่าไอทีวีจะไม่เสรีอีกต่อไป 54.0
2 คิดว่า ไอทีวีจะยังเป็นสื่อเสรีต่อไป 21.9
3 ไม่มีความเห็น 24.1
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 7 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นกรณีหลักที่รัฐควรใช้ในการแก้ปัญหาให้ไอทีวี
ลำดับที่ ความคิดเห็น ค่าร้อยละ
1 ควรใช้หลักนิติศาสตร์มากกว่า 14.8
2 ควรใช้หลักรัฐศาสตร์มากกว่า 25.2
3 ควรใช้ทั้งสอง 46.8
4 ไม่มีความเห็น 13.2
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 8 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความอยากเห็นสื่อโทรทัศน์มีความเข้มแข็งในการทำหน้าที่สะท้อน
ความเป็นจริงให้สังคมโดยไม่ตกอยู่ภายใต้การครอบงำของกลุ่มอำนาจใดๆ
ลำดับที่ ความคิดเห็น ค่าร้อยละ
1 อยากเห็น 80.7
2 ไม่อยากเห็น 4.3
3 ไม่มีความเห็น 15.0
รวมทั้งสิ้น 100.0
โปรดพิจารณารายละเอียดของโครงการสำรวจ
วัตถุประสงค์และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. เพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อปัญหาไอทีวี
2. เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาในหัวข้อเรื่องนี้อย่างลึกซึ้งต่อไป
ระเบียบวิธีการทำโพลล์
โครงการสำรวจภาคสนามของสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เรื่อง ““ประชาชนคิดอย่างไรต่อปัญหาไอทีวี: กรณีศึกษา
ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งใน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล” ซึ่งดำเนินโครงการระหว่างวันที่ 6-7 มีนาคม พ.ศ. 2550
ประเภทของการสำรวจวิจัยครั้งนี้ คือ การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research)
กลุ่มประชากรเป้าหมาย คือ ประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไป ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
เทคนิควิธีการสุ่มตัวอย่าง ได้แก่ การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มเชิงชั้นภูมิหลายขั้น และกำหนดลักษณะของตัวอย่างให้สอดคล้องกับประชากร
เป้าหมายจากการทำสำมะโน
ขนาดตัวอย่างที่ทำการสำรวจ จำนวน 1,205 ตัวอย่าง
ช่วงความเชื่อมั่นอยู่ในระดับร้อยละ 95 ขณะที่ขอบเขตความคลาดเคลื่อนจากการกำหนดขนาดตัวอย่างอยู่ที่ +/- ร้อยละ 5
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ การสัมภาษณ์ หลังจากนั้นคณะผู้วิจัยได้ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของแบบสอบถามทุกชุดก่อนนำเข้า
วิเคราะห์ข้อมูล และงบประมาณทั้งสิ้นเป็นของมหาวิทยาลัย
ลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง
จากการพิจารณาลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง พบว่า
ตัวอย่าง ร้อยละ 50.1 ระบุเป็นหญิง
ในขณะที่ร้อยละ 49.9 ระบุเป็นชาย
ตัวอย่าง ร้อยละ 8.6 อายุต่ำกว่า 20 ปี
ร้อยละ 23.0 อายุระหว่าง 20—29 ปี
ร้อยละ 23.8 อายุระหว่าง 30—39 ปี
ร้อยละ 20.1 อายุระหว่าง 40—49 ปี
และร้อยละ 24.5 อายุ 50 ปีขึ้นไป
ตัวอย่าง ร้อยละ 71.4 ระบุสำเร็จการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรี
ร้อยละ 24.7 ระบุสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
และร้อยละ 3.9 ระบุสำเร็จการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี
ตัวอย่าง ร้อยละ 32.8 ระบุอาชีพค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว
ร้อยละ 19.7 ระบุอาชีพรับจ้างทั่วไป
ร้อยละ 20.6 ระบุอาชีพพนักงาน/ลูกจ้างเอกชน
ร้อยละ 11.5 ระบุอาชีพข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ
ร้อยละ 8.2 เป็นนักเรียน/นักศึกษา
ร้อยละ 5.2 เป็นพ่อบ้าน/แม่บ้าน/เกษียณอายุ
ร้อยละ 2.0 ระบุว่างงาน
ศูนย์วิจัยเอแบค นวัตกรรมทางสังคม การจัดการและธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ โทร.0-2719-1549-50
www.abacsimba.au.edu
--เอแบคโพลล์--
-พห-
Social Innovation in Management and Business Analysis) เปิดเผยผลสำรวจเรื่อง “ประชาชนคิดอย่างไรต่อปัญหาไอทีวี: กรณีศึกษา
ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งใน เขตกรุงเทพมหานคร” จำนวนทั้งสิ้น 1,205 ตัวอย่าง ซึ่งดำเนินมีระยะเวลาการดำเนินโครงการระหว่าง วันที่ 6-7
มีนาคม พ.ศ. 2550 ประเด็นสำคัญที่ค้นพบจากการสำรวจในครั้งนี้ มีดังนี้
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุ พฤติกรรมการติดตามข่าวสารประจำวันในช่วง 30 วันที่ผ่านมา
ลำดับที่ การติดตามข่าวสารประจำวัน ค่าร้อยละ
1 ทุกวัน/เกือบทุกวัน 49.2
2 3-4 วันต่อสัปดาห์ 23.6
3 1-2 วันต่อสัปดาห์ 14.4
4 ติดตามเป็นบางสัปดาห์ 8.6
5 ไม่ได้ติดตามเลย 4.2
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุ พฤติกรรมการรับชมสถานีโทรทัศน์ไอทีวี ในช่วง 30 วันที่ผ่านมา
ลำดับที่ การรับชมสถานีโทรทัศน์ไอทีวี ค่าร้อยละ
1 ติดตามชม 67.9
2 ไม่ได้ติดตามชม 32.1
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุ การรับทราบข่าวคณะรัฐมนตรีมีมติให้ปิดสถานีโทรทัศน์ไอทีวี
ลำดับที่ การรับทราบข่าว ค่าร้อยละ
1 ทราบข่าว 96.3
2 ไม่ทราบข่าว 3.7
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 4 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุ ความต้องการให้สถานีโทรทัศน์ไอทีวีทำหน้าที่สื่อเสรีต่อไป
ลำดับที่ ความต้องการของตัวอย่าง ค่าร้อยละ
1 ต้องการ 76.4
2 ไม่ต้องการ 10.3
3 ไม่มีความเห็น 13.3
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 5 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุ ความรู้สึกต่อปัญหาที่เกิดขึ้นกับสถานีโทรทัศน์ไอทีวี
ลำดับที่ ความรู้สึก ค่าร้อยละ
1 เสียใจ เห็นใจ 82.5
2 ไม่รู้สึกอะไร 6.9
3 ไม่มีความเห็น 10.6
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 6 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นกรณีไอทีวีจะไม่เสรี ถ้าไปขึ้นกับหน่วยงานของรัฐบาล
ลำดับที่ ความกังวล ค่าร้อยละ
1 คิดว่าไอทีวีจะไม่เสรีอีกต่อไป 54.0
2 คิดว่า ไอทีวีจะยังเป็นสื่อเสรีต่อไป 21.9
3 ไม่มีความเห็น 24.1
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 7 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นกรณีหลักที่รัฐควรใช้ในการแก้ปัญหาให้ไอทีวี
ลำดับที่ ความคิดเห็น ค่าร้อยละ
1 ควรใช้หลักนิติศาสตร์มากกว่า 14.8
2 ควรใช้หลักรัฐศาสตร์มากกว่า 25.2
3 ควรใช้ทั้งสอง 46.8
4 ไม่มีความเห็น 13.2
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 8 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความอยากเห็นสื่อโทรทัศน์มีความเข้มแข็งในการทำหน้าที่สะท้อน
ความเป็นจริงให้สังคมโดยไม่ตกอยู่ภายใต้การครอบงำของกลุ่มอำนาจใดๆ
ลำดับที่ ความคิดเห็น ค่าร้อยละ
1 อยากเห็น 80.7
2 ไม่อยากเห็น 4.3
3 ไม่มีความเห็น 15.0
รวมทั้งสิ้น 100.0
โปรดพิจารณารายละเอียดของโครงการสำรวจ
วัตถุประสงค์และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. เพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อปัญหาไอทีวี
2. เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาในหัวข้อเรื่องนี้อย่างลึกซึ้งต่อไป
ระเบียบวิธีการทำโพลล์
โครงการสำรวจภาคสนามของสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เรื่อง ““ประชาชนคิดอย่างไรต่อปัญหาไอทีวี: กรณีศึกษา
ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งใน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล” ซึ่งดำเนินโครงการระหว่างวันที่ 6-7 มีนาคม พ.ศ. 2550
ประเภทของการสำรวจวิจัยครั้งนี้ คือ การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research)
กลุ่มประชากรเป้าหมาย คือ ประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไป ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
เทคนิควิธีการสุ่มตัวอย่าง ได้แก่ การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มเชิงชั้นภูมิหลายขั้น และกำหนดลักษณะของตัวอย่างให้สอดคล้องกับประชากร
เป้าหมายจากการทำสำมะโน
ขนาดตัวอย่างที่ทำการสำรวจ จำนวน 1,205 ตัวอย่าง
ช่วงความเชื่อมั่นอยู่ในระดับร้อยละ 95 ขณะที่ขอบเขตความคลาดเคลื่อนจากการกำหนดขนาดตัวอย่างอยู่ที่ +/- ร้อยละ 5
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ การสัมภาษณ์ หลังจากนั้นคณะผู้วิจัยได้ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของแบบสอบถามทุกชุดก่อนนำเข้า
วิเคราะห์ข้อมูล และงบประมาณทั้งสิ้นเป็นของมหาวิทยาลัย
ลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง
จากการพิจารณาลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง พบว่า
ตัวอย่าง ร้อยละ 50.1 ระบุเป็นหญิง
ในขณะที่ร้อยละ 49.9 ระบุเป็นชาย
ตัวอย่าง ร้อยละ 8.6 อายุต่ำกว่า 20 ปี
ร้อยละ 23.0 อายุระหว่าง 20—29 ปี
ร้อยละ 23.8 อายุระหว่าง 30—39 ปี
ร้อยละ 20.1 อายุระหว่าง 40—49 ปี
และร้อยละ 24.5 อายุ 50 ปีขึ้นไป
ตัวอย่าง ร้อยละ 71.4 ระบุสำเร็จการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรี
ร้อยละ 24.7 ระบุสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
และร้อยละ 3.9 ระบุสำเร็จการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี
ตัวอย่าง ร้อยละ 32.8 ระบุอาชีพค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว
ร้อยละ 19.7 ระบุอาชีพรับจ้างทั่วไป
ร้อยละ 20.6 ระบุอาชีพพนักงาน/ลูกจ้างเอกชน
ร้อยละ 11.5 ระบุอาชีพข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ
ร้อยละ 8.2 เป็นนักเรียน/นักศึกษา
ร้อยละ 5.2 เป็นพ่อบ้าน/แม่บ้าน/เกษียณอายุ
ร้อยละ 2.0 ระบุว่างงาน
ศูนย์วิจัยเอแบค นวัตกรรมทางสังคม การจัดการและธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ โทร.0-2719-1549-50
www.abacsimba.au.edu
--เอแบคโพลล์--
-พห-