จากการที่พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้เข้าร่วมประชุม และกล่าวสุนทรพจน์ให้แก่บรรดานักธุรกิจชั้นนำนานาชาติในงาน “2001 ฟอร์จูนโกลบอล ฟอรั่ม” ที่ฮ่องกง เมื่อวันที่ 8-10 พฤษภาคม 2544 ซึ่งเป็นเวทีที่นายกรัฐมนตรีได้แสดงวิสัยทัศน์เกี่ยวกับสภาพเศรษฐกิจ ทิศทางการพัฒนาประเทศ และการพัฒนาระดับภูมิภาคเอเชีย ตลอดจนแนวทางความร่วมมือระหว่างประเทศ เป็นที่คาดหวังว่าจะช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีขึ้นให้กับประเทศไทย และปูทางสำหรับการร่วมมือจากต่างประเทศในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยต่อไป ทั้งนี้เพื่อเป็นการประเมินความคิดเห็นของประชาชนต่อการเข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ของนายกรัฐมนตรี และสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางความร่วมมือระหว่างประเทศในทัศนะของประชาชนประเด็นสำคัญที่ค้นพบนั้น
ประชาชน ร้อยละ 67.8 ได้มีการติดตามข่าวสารเรื่องนี้
และมีความมั่นใจว่า พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จะกอบกู้ภาพลักษณ์ของประเทศไทยได้จากการเข้าร่วมประชุมครั้งนี้ ร้อยละ 48.5
ไม่มั่นใจ ร้อยละ 26.1
ส่วนความมั่นใจว่า พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จะสามารถทำงานร่วมกับผู้นำประเทศอื่นในเอเชียอย่างเข้ากันได้ดีนั้น
ประชาชนที่ได้ออกความเห็น มีความมั่นใจ ร้อยละ 65.1
และไม่มั่นใจ ร้อยละ 18.7
ทางด้านการระบุความมั่นใจว่าหลังจากการประชุมครั้งนี้จะทำให้นักธุรกิจต่างชาติเข้ามาลงทุนในประเทศไทยมากขึ้นหรือไม่
ประชาชนที่ได้ออกความเห็น มีความมั่นใจ ร้อยละ 45.7
และไม่มั่นใจ ร้อยละ 33.7
ในเรื่องที่ต้องการให้รัฐบาลเร่งความร่วมมือกับประเทศในเอเชีย 3 อันดับแรก ประชาชนต้องการให้
ร่วมมือกันแก้ไขปัญหายาเสพติด ร้อยละ 63.3
เปิดประเทศติดต่อทำธุรกิจกันมากขึ้น ร้อยละ 51.3
ร่วมมือกันแก้ปัญหาคนยากจนในแต่ละประเทศ ร้อยละ 49.1
ส่วนประเทศมหาอำนาจที่เชื่อว่าถ้าร่วมมือกับประเทศไทย แล้วจะทำให้เศรษฐกิจของประเทศไทยฟื้นฟูได้ ประชาชนคิดว่าเป็น
อเมริกา ร้อยละ 59.9
ญี่ปุ่น ร้อยละ 53.2
จีน ร้อยละ 47.7
อังกฤษ ร้อยละ 13.2
ฝรั่งเศส ร้อยละ 5.2
เยอรมัน ร้อยละ 2.9
อื่น ๆ เช่น สิงคโปร์, เกาหลี, อินเดีย สวีเดน ฯลฯ เป็นต้น ร้อยละ 11.9
และประเทศในภูมิภาคเอเชียที่เห็นว่า มีความสัมพันธ์กับประเทศไทยเป็นอย่างดี ประชาชนเห็นว่าเป็น
จีน ร้อยละ 56.9
ญี่ปุ่น ร้อยละ 48.4
มาเลเซีย ร้อยละ 23.2
สิงคโปร์ ร้อยละ 15.2
ลาว ร้อยละ 15.1
ฮ่องกง (ประเทศจีน) ร้อยละ 6.5
เกาหลี ร้อยละ 4.9
อินโดนีเซีย ร้อยละ 4.6
ไต้หวัน ร้อยละ 2.9
ฟิลิปปินส์ ร้อยละ 2.9
อื่น ๆ เช่น เวียตนาม, อินเดีย, กัมพูชา, บรูไน เป็นต้น ร้อยละ 8.2
เป็นที่น่าสังเกตว่า ตัวอย่างระบุว่า ที่ผ่านมา ประเทศ “พม่า” มีความสัมพันธ์เป็นอย่างดีกับประเทศไทย มีเพียงร้อยละ 1.1
--เอแบคโพลล์--
ประชาชน ร้อยละ 67.8 ได้มีการติดตามข่าวสารเรื่องนี้
และมีความมั่นใจว่า พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จะกอบกู้ภาพลักษณ์ของประเทศไทยได้จากการเข้าร่วมประชุมครั้งนี้ ร้อยละ 48.5
ไม่มั่นใจ ร้อยละ 26.1
ส่วนความมั่นใจว่า พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จะสามารถทำงานร่วมกับผู้นำประเทศอื่นในเอเชียอย่างเข้ากันได้ดีนั้น
ประชาชนที่ได้ออกความเห็น มีความมั่นใจ ร้อยละ 65.1
และไม่มั่นใจ ร้อยละ 18.7
ทางด้านการระบุความมั่นใจว่าหลังจากการประชุมครั้งนี้จะทำให้นักธุรกิจต่างชาติเข้ามาลงทุนในประเทศไทยมากขึ้นหรือไม่
ประชาชนที่ได้ออกความเห็น มีความมั่นใจ ร้อยละ 45.7
และไม่มั่นใจ ร้อยละ 33.7
ในเรื่องที่ต้องการให้รัฐบาลเร่งความร่วมมือกับประเทศในเอเชีย 3 อันดับแรก ประชาชนต้องการให้
ร่วมมือกันแก้ไขปัญหายาเสพติด ร้อยละ 63.3
เปิดประเทศติดต่อทำธุรกิจกันมากขึ้น ร้อยละ 51.3
ร่วมมือกันแก้ปัญหาคนยากจนในแต่ละประเทศ ร้อยละ 49.1
ส่วนประเทศมหาอำนาจที่เชื่อว่าถ้าร่วมมือกับประเทศไทย แล้วจะทำให้เศรษฐกิจของประเทศไทยฟื้นฟูได้ ประชาชนคิดว่าเป็น
อเมริกา ร้อยละ 59.9
ญี่ปุ่น ร้อยละ 53.2
จีน ร้อยละ 47.7
อังกฤษ ร้อยละ 13.2
ฝรั่งเศส ร้อยละ 5.2
เยอรมัน ร้อยละ 2.9
อื่น ๆ เช่น สิงคโปร์, เกาหลี, อินเดีย สวีเดน ฯลฯ เป็นต้น ร้อยละ 11.9
และประเทศในภูมิภาคเอเชียที่เห็นว่า มีความสัมพันธ์กับประเทศไทยเป็นอย่างดี ประชาชนเห็นว่าเป็น
จีน ร้อยละ 56.9
ญี่ปุ่น ร้อยละ 48.4
มาเลเซีย ร้อยละ 23.2
สิงคโปร์ ร้อยละ 15.2
ลาว ร้อยละ 15.1
ฮ่องกง (ประเทศจีน) ร้อยละ 6.5
เกาหลี ร้อยละ 4.9
อินโดนีเซีย ร้อยละ 4.6
ไต้หวัน ร้อยละ 2.9
ฟิลิปปินส์ ร้อยละ 2.9
อื่น ๆ เช่น เวียตนาม, อินเดีย, กัมพูชา, บรูไน เป็นต้น ร้อยละ 8.2
เป็นที่น่าสังเกตว่า ตัวอย่างระบุว่า ที่ผ่านมา ประเทศ “พม่า” มีความสัมพันธ์เป็นอย่างดีกับประเทศไทย มีเพียงร้อยละ 1.1
--เอแบคโพลล์--