ที่มาของโครงการ
ข่าวการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีหรือ ครม.ชุดใหม่ได้รับความสนใจติดตามจากประชาชนอย่างแพร่หลาย มี
ข่าวปรากฏตามสื่อมวลชนแขนงต่างๆทุกวัน ถึงบุคคลที่จะได้เข้ามาดำรงตำแหน่ง อย่างไรก็ตามยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่า
โฉมหน้าของ ครม.ชุดใหม่จะออกมาอย่างไร ทุกฝ่ายจึงต่างเฝ้าจับตามองว่า ในที่สุดแล้วบุคคลใดบ้างที่จะได้รับการ
แต่งตั้งเป็นหนึ่งในคณะรัฐมนตรีชุดทักษิณ 2/1 นี้ และผู้ที่เข้ามาดำรงตำแหน่งในรัฐบาลชุดนี้จะสามารถแก้ไขปัญหา
วิกฤตเร่งด่วนเพื่อเรียกศรัทธาจากประชาชนได้อย่างท้วมท้นเหมือนชัยชนะที่ได้รับจากการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมาหรือ
ไม่
สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ จึงได้ทำการสำรวจภาคสนามหาข้อมูลเชิงสถิติศาสตร์
จากประชาชนทั่วไปในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ถึงความคิดเห็นต่อบุคคลที่คาดว่าจะได้รับการแต่งตั้งเป็นคณะ
รัฐมนตรีชุดใหม่ดังกล่าว ด้วยการจัดส่งอาจารย์ เจ้าหน้าที่ และพนักงานเก็บรวบรวมข้อมูลลงพื้นที่ตัวอย่างที่ถูกสุ่ม
ได้ตามหลักวิชาการด้านระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์
วัตถุประสงค์และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการวิจัย
1. เพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อบุคคลที่คาดว่าจะได้รับการแต่งตั้งเป็นคณะรัฐมนตรี
ชุดใหม่
2. เพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อปัญหาสำคัญเร่งด่วนที่ต้องการให้รัฐมนตรีชุดใหม่แก้ไข
3. เพื่อสำรวจความมั่นใจของประชาชนต่อนายกรัฐมนตรีคนใหม่
4. เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาในหัวข้อเรื่องนี้อย่างลึกซึ้งต่อไป
ระเบียบวิธีการทำโพลล์
โครงการสำรวจภาคสนามของสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ในครั้งนี้ เรื่อง “ประชาชน
คิดอย่างไรต่อตัวเก็งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่: กรณีศึกษาประชาชนทั่วไปในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล” ซึ่งดำเนิน
โครงการสำรวจระหว่างวันที่ 4-5 มีนาคม 2548
ประเภทของการสำรวจวิจัยครั้งนี้คือ การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research)
กลุ่มประชากรเป้าหมาย คือ ประชาชนทั่วไปในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
เทคนิควิธีการสุ่มตัวอย่างได้แก่ การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มเชิงชั้นภูมิ (Stratified Cluster
Sampling) ในการสุ่มเลือกพื้นที่ตัวอย่าง และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (purposive
sampling) ในการเข้าถึงตัวอย่างที่มีลักษณะสอดคล้องกับประชากรเป้าหมายจากการทำสำมะโน
ขนาดตัวอย่างที่ทำการสำรวจ คือ 1,238 ตัวอย่าง
ช่วงความเชื่อมั่นอยู่ในระดับร้อยละ 95 ขณะที่ขอบเขตความคลาดเคลื่อนจากการกำหนดขนาดตัวอย่างอยู่
ที่ +/- ร้อยละ 5
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ การสัมภาษณ์
หลังจากนั้นคณะผู้วิจัยได้ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของแบบสอบถามทุกชุดก่อนนำเข้าวิเคราะห์ข้อมูล
และงบประมาณเป็นของมหาวิทยาลัย
ผลสำรวจที่ค้นพบ
จากการพิจารณาลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง พบว่าตัวอย่างร้อยละ 54.3 เป็นหญิง ร้อยละ 45.7 เป็น
ชาย ซึ่งตัวอย่างร้อยละ 32.9 อายุระหว่าง 20 — 29 ปี ร้อยละ 26.2 อายุระหว่าง 30 — 39 ปี ร้อยละ
21.9 อายุระหว่าง 40 — 49 ปี ร้อยละ 14.1 อายุ 50 ปีขึ้นไป และร้อยละ 4.9 อายุต่ำกว่า 20 ปี ซึ่ง
ตัวอย่างร้อยละ 74.5 ระบุสำเร็จการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 23.4 ระบุสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
ร้อยละ 2.1 ระบุสำเร็จการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี
นอกจากนี้ตัวอย่างร้อยละ 31.3 ระบุอาชีพค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว ร้อยละ 30.1 ระบุอาชีพรับจ้างทั่ว
ไป ร้อยละ 16.3 ระบุอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน ร้อยละ 7.6 ระบุอาชีพข้าราชการ/ พนักงานรัฐวิสาหกิจ ร้อย
ละ 7.0 ระบุเป็นนักศึกษา ร้อยละ 6.6 ระบุอาชีพอื่นๆ เช่น แม่บ้าน/พ่อบ้าน/เกษียณอายุ/เกษตรกร ในขณะที่
ร้อยละ 1.1 ไม่ได้ประกอบอาชีพ
โปรดพิจารณาประเด็นสำคัญที่ค้นพบในตารางต่อไปนี้
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรองนายกรัฐมนตรี
ลำดับที่ บุคคลที่คาดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มี รวมทั้งสิ้น
เป็นรองนายกรัฐมนตรี ความคิดเห็น
1 นายจาตุรนต์ ฉายแสง 59.8 17.4 22.8 100
2 นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ 57.4 15.4 27.2 100
3 นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย 50.6 18.8 30.6 100
4 พล.อ.ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา 44.3 21.7 34 100
5 นายอดิศัย โพธารามิก 40.6 27 32.4 100
6 พล.ต.อ.ชิดชัย วรรณสถิตย์ 35.9 28.3 35.8 100
7 นายพินิจ จารุสมบัติ 33.1 28.4 38.5 100
8 นางอุไรวรรณ เทียนทอง 21.6 40.4 38 100
ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
ลำดับที่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการดำรงตำแหน่ง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
1 พล.อ.ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา 61.0 14.6 24.4 100.0
2 พล.อ. สัมพันธ์ บุญญานันท์ 25.5 26.5 48.0 100.0
3 พล.อ.อ.คงศักดิ์ วันทนา 19.9 31.6 48.5 100.0
ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ลำดับที่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการดำรง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
1 นายวราเทพ รัตนากร 43.4 20.9 35.7 100.0
2 นายโอฬาร ไชยประวัติ 31.7 24.1 44.2 100.0
3 นายวิชัย พันธุ์โภคา 24.5 29.9 45.6 100.0
4 นายสุวิทย์ เมษิณทรีย์ 17.0 27.6 55.4 100.0
ตารางที่ 4 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ลำดับที่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการดำรงตำแหน่ง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
1 นายสมศักดิ์ เทพสุทิน 57.8 20.9 21.3 100.0
2 นายเนวิน ชิดชอบ 38.0 36.9 25.1 100.0
ตารางที่ 5 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคมนาคม
ลำดับที่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการดำรง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคมนาคม
1 นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ 54.0 21.2 24.8 100.0
2 นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ 53.2 22.2 24.6 100.0
ตารางที่ 6 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน
ลำดับที่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการดำรง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน
1 นพ.พรหมมินทร์ เลิศสุริย์เดช 45.2 19.5 35.3 100.0
2 นายวราเทพ รัตนากร 36.9 23.3 39.8 100.0
3 นายวิเศษ จูภิบาล 18.7 29.7 51.6 100.0
ตารางที่ 7 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
ลำดับที่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการดำรง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
1 นายอดิศัย โพธารามิก 51.2 21.9 26.9 100.0
2 นายพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล 38.6 22.7 38.7 100.0
ตารางที่ 8 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ลำดับที่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการดำรง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
1 นายวิษณุ เครืองาม 52.3 20.4 27.3 100.0
2 นางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ 33.5 36.3 30.2 100.0
3 นายสมศักดิ์ เทพสุทิน 27.1 35.3 37.6 100.0
ตารางที่ 9 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน
ลำดับที่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการดำรง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน
1 นางอุไรวรรณ เทียนทอง 41.5 27.9 30.6 100.0
2 นายเนวิน ชิดชอบ 39.0 34.2 26.8 100.0
ตารางที่ 10 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ลำดับที่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการดำรง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
1 นายโอฬาร ไชยประวัติ 30.2 33.0 36.8 100.0
2 นายสุขวิช รังสิตพล 26.6 31.9 41.5 100.0
ตารางที่ 11 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
ลำดับที่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการดำรง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
1 นางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ 73.5 13.2 13.3 100.0
2 นพ.สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี 37.7 27.9 34.4 100.0
ตารางที่ 12 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
ลำดับที่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการดำรง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
1 นายวราเทพ รัตนากร 39.1 21.2 39.7 100.0
2 นางเยาวภา วงศ์สวัสดิ์ 27.3 29.0 43.7 100.0
3 นายปรีชา เลาหพงศ์ชนะ 30.0 22.0 48.0 100.0
ตารางที่ 13 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความมั่นใจกรณีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่
จะเป็นไปอย่างสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน
ลำดับที่ มั่นใจหรือไม่ว่าการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ รวมทั้งสิ้น
จะเป็นไปอย่างสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน
1 มั่นใจ 36.2
2 ไม่มั่นใจ 25.0
3 ไม่มีความเห็น 38.8
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 14 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความมั่นใจกรณีคณะรัฐมนตรีชุดใหม่จะไม่ถอนทุนคืน
ลำดับที่ มั่นใจหรือไม่ว่าคณะรัฐมนตรีชุดใหม่จะไม่ถอนทุนคืน รวมทั้งสิ้น
1 มั่นใจ 23.3
2 ไม่มั่นใจ 48.6
3 ไม่มีความเห็น 28.1
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 15 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความมั่นใจต่อนายกรัฐมนตรีที่จะไม่ทำให้ผิดหวังในการ
แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี
ลำดับที่ ความมั่นใจของตัวอย่าง รวมทั้งสิ้น
1 มั่นใจ 48.5
2 ไม่มั่นใจ 28.1
3 ไม่มีความเห็น 23.4
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 16 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุปัญหาสำคัญเร่งด่วนที่ต้องการให้คณะรัฐมนตรีชุดใหม่
แก้ไข (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ ปัญหาเร่งด่วนที่ต้องการให้คณะรัฐมนตรีชุดใหม่แก้ไข รวมทั้งสิ้น
1 ปัญหาการจราจรติดขัด 65.8
2 ปัญหาค่าครองชีพสูง / สินค้าราคาแพง / น้ำมันขึ้นราคา 62.2
3 ปัญหาความยากจน/ขาดแคลนที่ดินทำกิน/ไม่มีที่อยู่อาศัย 60.3
4 ปัญหาความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 47.4
5 ปัญหาคุณภาพการศึกษา 43.0
6 ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด 41.6
7 ปัญหาด้านแรงงาน /ค่าแรงขั้นต่ำ 41.6
8 ปัญหาการทุจริตคอรัปชั่น 38.5
9 อื่นๆอาทิ /ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ/ปัญหาเด็กเร่ร่อน /
ปัญหาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เป็นต้น 27.6
บทสรุปผลสำรวจ
ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน ประธานสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ได้เปิดเผยว่า
ผลสำรวจภาคสนาม เรื่อง “ประชาชนคิดอย่างไรต่อตัวเก็งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่” ในครั้งนี้ ได้ทำการสำรวจความคิด
เห็นจากตัวอย่างประชาชนทั่วไปในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,238 ตัวอย่าง ซึ่งได้ดำเนิน
โครงการใน วันที่ 4-5 มีนาคม 2548 ประเด็นสำคัญที่ค้นพบจากการสำรวจ ดังนี้
ผลการสำรวจของเอแบคโพลล์ กรณีความคิดเห็นของตัวอย่างที่มีต่อบุคคลที่คิดว่าจะมาดำรงตำแหน่ง
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสำคัญๆ นั้น พบว่า
* บุคคลที่ตัวอย่างระบุเห็นด้วยว่าควรดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีมากที่สุด 7 อันดับแรกได้แก่
- นายจาตุรนต์ ฉายแสง (ร้อยละ 59.8)
- นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ (ร้อยละ 57.4)
- นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย (ร้อยละ 50.6)
- พล.อ.ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา (ร้อยละ 44.3)
- นายอดิศัย โพธารามิก (ร้อยละ 40.6)
- พล.ต.อ.ชิดชัย วรรณสถิตย์ (ร้อยละ 35.9)
- นายพินิจ จารุสมบัติ (ร้อยละ 33.1)
* รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พล.อ.ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา (ร้อยละ 61.0)
* รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง นายวราเทพ รัตนากร (ร้อยละ 43.4)
* รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายสมศักดิ์ เทพสุทิน (ร้อยละ 57.8)
* รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ (ร้อยละ 54.0)
* รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน นายแพทย์พรหมมินทร์ เลิศสุริย์เดช (ร้อยละ 45.2)
* รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย์ นายอดิศัย โพธารามิก (ร้อยละ 51.2)
* รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย นายวิษณุ เครืองาม (ร้อยละ 52.3)
* รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน นางอุไรวรรณ เทียนทอง (ร้อยละ 41.5)
* รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นายโอฬาร ไชยประวัติ (ร้อยละ 30.2)
* รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข นางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ (ร้อยละ 73.5)
* รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม นายวราเทพ รัตนากร (ร้อยละ 39.1)
นอกจากนี้เมื่อคณะผู้วิจัยได้สอบถามตัวอย่างถึงความมั่นใจต่อการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ว่าจะเป็นไป
อย่างสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนหรือไม่นั้น พบว่า ตัวอย่างร้อยละ 36.2 ระบุมั่นใจ ร้อยละ 25.0
ระบุไม่มั่นใจ และร้อยละ 38.8 ไม่ระบุความคิดเห็น และเมื่อคณะผู้วิจัยสอบถามต่อไปถึงความมั่นใจกรณีคณะรัฐมนตรีชุด ใหม่จะไม่เข้ามาถอนทุนคืน พบว่า ตัวอย่างร้อยละ 23.3 ระบุ มั่นใจว่าคณะรัฐมนตรีชุดใหม่จะไม่ถอนทุนคืน ในขณะที่ร้อยละ 48.6 ระบุไม่มั่นใจ และร้อยละ 28.1 ไม่ระบุความคิดเห็น
ประเด็นสำคัญที่น่าพิจารณาคือ เมื่อคณะผู้วิจัยได้สอบถามถึงความมั่นใจของตัวอย่างต่อนายกรัฐมนตรี
ในการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีนั้นพบว่า ตัวอย่างร้อยละ 48.5 ระบุว่านายกรัฐมนตรีจะไม่ทำให้ผิดหวัง ในขณะที่ร้อยละ 28.1 ระบุไม่มั่นใจ และร้อยละ 23.4 ไม่ระบุความคิดเห็น
ประเด็นสำคัญสุดท้ายที่ค้นพบจากการสำรวจของเอแบคโพลล์ในครั้งนี้ได้แก่ ปัญหาสำคัญเร่งด่วนที่ต้องการให้คณะรัฐมนตรีชุดใหม่แก้ไข ซึ่งพบว่า ตัวอย่างร้อยละ 65.8 ระบุต้องการให้เร่งแก้ไขปัญหาการจราจรติดขัด
รองลงมาคือร้อยละ 62.2 ระบุปัญหาค่าครองชีพสูง/สินค้าราคาแพง/น้ำมันขึ้นราคา ร้อยละ 60.3 ระบุปัญหาความยากจน/ขาดแคลนที่ดินทำกิน/ไม่มีที่อยู่อาศัย ร้อยละ 47.4 ระบุปัญหาความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ ร้อยละ 43.0 ระบุปัญหาคุณภาพการศึกษา ตามลำดับ
--เอแบคโพลล์--
-พห-
ข่าวการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีหรือ ครม.ชุดใหม่ได้รับความสนใจติดตามจากประชาชนอย่างแพร่หลาย มี
ข่าวปรากฏตามสื่อมวลชนแขนงต่างๆทุกวัน ถึงบุคคลที่จะได้เข้ามาดำรงตำแหน่ง อย่างไรก็ตามยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่า
โฉมหน้าของ ครม.ชุดใหม่จะออกมาอย่างไร ทุกฝ่ายจึงต่างเฝ้าจับตามองว่า ในที่สุดแล้วบุคคลใดบ้างที่จะได้รับการ
แต่งตั้งเป็นหนึ่งในคณะรัฐมนตรีชุดทักษิณ 2/1 นี้ และผู้ที่เข้ามาดำรงตำแหน่งในรัฐบาลชุดนี้จะสามารถแก้ไขปัญหา
วิกฤตเร่งด่วนเพื่อเรียกศรัทธาจากประชาชนได้อย่างท้วมท้นเหมือนชัยชนะที่ได้รับจากการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมาหรือ
ไม่
สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ จึงได้ทำการสำรวจภาคสนามหาข้อมูลเชิงสถิติศาสตร์
จากประชาชนทั่วไปในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ถึงความคิดเห็นต่อบุคคลที่คาดว่าจะได้รับการแต่งตั้งเป็นคณะ
รัฐมนตรีชุดใหม่ดังกล่าว ด้วยการจัดส่งอาจารย์ เจ้าหน้าที่ และพนักงานเก็บรวบรวมข้อมูลลงพื้นที่ตัวอย่างที่ถูกสุ่ม
ได้ตามหลักวิชาการด้านระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์
วัตถุประสงค์และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการวิจัย
1. เพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อบุคคลที่คาดว่าจะได้รับการแต่งตั้งเป็นคณะรัฐมนตรี
ชุดใหม่
2. เพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อปัญหาสำคัญเร่งด่วนที่ต้องการให้รัฐมนตรีชุดใหม่แก้ไข
3. เพื่อสำรวจความมั่นใจของประชาชนต่อนายกรัฐมนตรีคนใหม่
4. เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาในหัวข้อเรื่องนี้อย่างลึกซึ้งต่อไป
ระเบียบวิธีการทำโพลล์
โครงการสำรวจภาคสนามของสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ในครั้งนี้ เรื่อง “ประชาชน
คิดอย่างไรต่อตัวเก็งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่: กรณีศึกษาประชาชนทั่วไปในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล” ซึ่งดำเนิน
โครงการสำรวจระหว่างวันที่ 4-5 มีนาคม 2548
ประเภทของการสำรวจวิจัยครั้งนี้คือ การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research)
กลุ่มประชากรเป้าหมาย คือ ประชาชนทั่วไปในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
เทคนิควิธีการสุ่มตัวอย่างได้แก่ การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มเชิงชั้นภูมิ (Stratified Cluster
Sampling) ในการสุ่มเลือกพื้นที่ตัวอย่าง และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (purposive
sampling) ในการเข้าถึงตัวอย่างที่มีลักษณะสอดคล้องกับประชากรเป้าหมายจากการทำสำมะโน
ขนาดตัวอย่างที่ทำการสำรวจ คือ 1,238 ตัวอย่าง
ช่วงความเชื่อมั่นอยู่ในระดับร้อยละ 95 ขณะที่ขอบเขตความคลาดเคลื่อนจากการกำหนดขนาดตัวอย่างอยู่
ที่ +/- ร้อยละ 5
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ การสัมภาษณ์
หลังจากนั้นคณะผู้วิจัยได้ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของแบบสอบถามทุกชุดก่อนนำเข้าวิเคราะห์ข้อมูล
และงบประมาณเป็นของมหาวิทยาลัย
ผลสำรวจที่ค้นพบ
จากการพิจารณาลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง พบว่าตัวอย่างร้อยละ 54.3 เป็นหญิง ร้อยละ 45.7 เป็น
ชาย ซึ่งตัวอย่างร้อยละ 32.9 อายุระหว่าง 20 — 29 ปี ร้อยละ 26.2 อายุระหว่าง 30 — 39 ปี ร้อยละ
21.9 อายุระหว่าง 40 — 49 ปี ร้อยละ 14.1 อายุ 50 ปีขึ้นไป และร้อยละ 4.9 อายุต่ำกว่า 20 ปี ซึ่ง
ตัวอย่างร้อยละ 74.5 ระบุสำเร็จการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 23.4 ระบุสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
ร้อยละ 2.1 ระบุสำเร็จการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี
นอกจากนี้ตัวอย่างร้อยละ 31.3 ระบุอาชีพค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว ร้อยละ 30.1 ระบุอาชีพรับจ้างทั่ว
ไป ร้อยละ 16.3 ระบุอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน ร้อยละ 7.6 ระบุอาชีพข้าราชการ/ พนักงานรัฐวิสาหกิจ ร้อย
ละ 7.0 ระบุเป็นนักศึกษา ร้อยละ 6.6 ระบุอาชีพอื่นๆ เช่น แม่บ้าน/พ่อบ้าน/เกษียณอายุ/เกษตรกร ในขณะที่
ร้อยละ 1.1 ไม่ได้ประกอบอาชีพ
โปรดพิจารณาประเด็นสำคัญที่ค้นพบในตารางต่อไปนี้
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรองนายกรัฐมนตรี
ลำดับที่ บุคคลที่คาดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มี รวมทั้งสิ้น
เป็นรองนายกรัฐมนตรี ความคิดเห็น
1 นายจาตุรนต์ ฉายแสง 59.8 17.4 22.8 100
2 นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ 57.4 15.4 27.2 100
3 นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย 50.6 18.8 30.6 100
4 พล.อ.ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา 44.3 21.7 34 100
5 นายอดิศัย โพธารามิก 40.6 27 32.4 100
6 พล.ต.อ.ชิดชัย วรรณสถิตย์ 35.9 28.3 35.8 100
7 นายพินิจ จารุสมบัติ 33.1 28.4 38.5 100
8 นางอุไรวรรณ เทียนทอง 21.6 40.4 38 100
ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
ลำดับที่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการดำรงตำแหน่ง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
1 พล.อ.ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา 61.0 14.6 24.4 100.0
2 พล.อ. สัมพันธ์ บุญญานันท์ 25.5 26.5 48.0 100.0
3 พล.อ.อ.คงศักดิ์ วันทนา 19.9 31.6 48.5 100.0
ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ลำดับที่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการดำรง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
1 นายวราเทพ รัตนากร 43.4 20.9 35.7 100.0
2 นายโอฬาร ไชยประวัติ 31.7 24.1 44.2 100.0
3 นายวิชัย พันธุ์โภคา 24.5 29.9 45.6 100.0
4 นายสุวิทย์ เมษิณทรีย์ 17.0 27.6 55.4 100.0
ตารางที่ 4 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ลำดับที่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการดำรงตำแหน่ง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
1 นายสมศักดิ์ เทพสุทิน 57.8 20.9 21.3 100.0
2 นายเนวิน ชิดชอบ 38.0 36.9 25.1 100.0
ตารางที่ 5 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคมนาคม
ลำดับที่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการดำรง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคมนาคม
1 นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ 54.0 21.2 24.8 100.0
2 นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ 53.2 22.2 24.6 100.0
ตารางที่ 6 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน
ลำดับที่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการดำรง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน
1 นพ.พรหมมินทร์ เลิศสุริย์เดช 45.2 19.5 35.3 100.0
2 นายวราเทพ รัตนากร 36.9 23.3 39.8 100.0
3 นายวิเศษ จูภิบาล 18.7 29.7 51.6 100.0
ตารางที่ 7 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
ลำดับที่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการดำรง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
1 นายอดิศัย โพธารามิก 51.2 21.9 26.9 100.0
2 นายพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล 38.6 22.7 38.7 100.0
ตารางที่ 8 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ลำดับที่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการดำรง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
1 นายวิษณุ เครืองาม 52.3 20.4 27.3 100.0
2 นางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ 33.5 36.3 30.2 100.0
3 นายสมศักดิ์ เทพสุทิน 27.1 35.3 37.6 100.0
ตารางที่ 9 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน
ลำดับที่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการดำรง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน
1 นางอุไรวรรณ เทียนทอง 41.5 27.9 30.6 100.0
2 นายเนวิน ชิดชอบ 39.0 34.2 26.8 100.0
ตารางที่ 10 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ลำดับที่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการดำรง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
1 นายโอฬาร ไชยประวัติ 30.2 33.0 36.8 100.0
2 นายสุขวิช รังสิตพล 26.6 31.9 41.5 100.0
ตารางที่ 11 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
ลำดับที่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการดำรง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
1 นางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ 73.5 13.2 13.3 100.0
2 นพ.สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี 37.7 27.9 34.4 100.0
ตารางที่ 12 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อบุคคลที่คิดว่าจะได้รับการแต่งตั้ง
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
ลำดับที่ บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการดำรง เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความคิดเห็น รวมทั้งสิ้น
ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
1 นายวราเทพ รัตนากร 39.1 21.2 39.7 100.0
2 นางเยาวภา วงศ์สวัสดิ์ 27.3 29.0 43.7 100.0
3 นายปรีชา เลาหพงศ์ชนะ 30.0 22.0 48.0 100.0
ตารางที่ 13 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความมั่นใจกรณีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่
จะเป็นไปอย่างสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน
ลำดับที่ มั่นใจหรือไม่ว่าการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ รวมทั้งสิ้น
จะเป็นไปอย่างสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน
1 มั่นใจ 36.2
2 ไม่มั่นใจ 25.0
3 ไม่มีความเห็น 38.8
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 14 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความมั่นใจกรณีคณะรัฐมนตรีชุดใหม่จะไม่ถอนทุนคืน
ลำดับที่ มั่นใจหรือไม่ว่าคณะรัฐมนตรีชุดใหม่จะไม่ถอนทุนคืน รวมทั้งสิ้น
1 มั่นใจ 23.3
2 ไม่มั่นใจ 48.6
3 ไม่มีความเห็น 28.1
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 15 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความมั่นใจต่อนายกรัฐมนตรีที่จะไม่ทำให้ผิดหวังในการ
แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี
ลำดับที่ ความมั่นใจของตัวอย่าง รวมทั้งสิ้น
1 มั่นใจ 48.5
2 ไม่มั่นใจ 28.1
3 ไม่มีความเห็น 23.4
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 16 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุปัญหาสำคัญเร่งด่วนที่ต้องการให้คณะรัฐมนตรีชุดใหม่
แก้ไข (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ ปัญหาเร่งด่วนที่ต้องการให้คณะรัฐมนตรีชุดใหม่แก้ไข รวมทั้งสิ้น
1 ปัญหาการจราจรติดขัด 65.8
2 ปัญหาค่าครองชีพสูง / สินค้าราคาแพง / น้ำมันขึ้นราคา 62.2
3 ปัญหาความยากจน/ขาดแคลนที่ดินทำกิน/ไม่มีที่อยู่อาศัย 60.3
4 ปัญหาความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 47.4
5 ปัญหาคุณภาพการศึกษา 43.0
6 ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด 41.6
7 ปัญหาด้านแรงงาน /ค่าแรงขั้นต่ำ 41.6
8 ปัญหาการทุจริตคอรัปชั่น 38.5
9 อื่นๆอาทิ /ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ/ปัญหาเด็กเร่ร่อน /
ปัญหาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เป็นต้น 27.6
บทสรุปผลสำรวจ
ศ.ดร. ศรีศักดิ์ จามรมาน ประธานสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ได้เปิดเผยว่า
ผลสำรวจภาคสนาม เรื่อง “ประชาชนคิดอย่างไรต่อตัวเก็งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่” ในครั้งนี้ ได้ทำการสำรวจความคิด
เห็นจากตัวอย่างประชาชนทั่วไปในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,238 ตัวอย่าง ซึ่งได้ดำเนิน
โครงการใน วันที่ 4-5 มีนาคม 2548 ประเด็นสำคัญที่ค้นพบจากการสำรวจ ดังนี้
ผลการสำรวจของเอแบคโพลล์ กรณีความคิดเห็นของตัวอย่างที่มีต่อบุคคลที่คิดว่าจะมาดำรงตำแหน่ง
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสำคัญๆ นั้น พบว่า
* บุคคลที่ตัวอย่างระบุเห็นด้วยว่าควรดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีมากที่สุด 7 อันดับแรกได้แก่
- นายจาตุรนต์ ฉายแสง (ร้อยละ 59.8)
- นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ (ร้อยละ 57.4)
- นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย (ร้อยละ 50.6)
- พล.อ.ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา (ร้อยละ 44.3)
- นายอดิศัย โพธารามิก (ร้อยละ 40.6)
- พล.ต.อ.ชิดชัย วรรณสถิตย์ (ร้อยละ 35.9)
- นายพินิจ จารุสมบัติ (ร้อยละ 33.1)
* รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พล.อ.ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา (ร้อยละ 61.0)
* รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง นายวราเทพ รัตนากร (ร้อยละ 43.4)
* รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายสมศักดิ์ เทพสุทิน (ร้อยละ 57.8)
* รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ (ร้อยละ 54.0)
* รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน นายแพทย์พรหมมินทร์ เลิศสุริย์เดช (ร้อยละ 45.2)
* รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย์ นายอดิศัย โพธารามิก (ร้อยละ 51.2)
* รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย นายวิษณุ เครืองาม (ร้อยละ 52.3)
* รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน นางอุไรวรรณ เทียนทอง (ร้อยละ 41.5)
* รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นายโอฬาร ไชยประวัติ (ร้อยละ 30.2)
* รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข นางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ (ร้อยละ 73.5)
* รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม นายวราเทพ รัตนากร (ร้อยละ 39.1)
นอกจากนี้เมื่อคณะผู้วิจัยได้สอบถามตัวอย่างถึงความมั่นใจต่อการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ว่าจะเป็นไป
อย่างสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนหรือไม่นั้น พบว่า ตัวอย่างร้อยละ 36.2 ระบุมั่นใจ ร้อยละ 25.0
ระบุไม่มั่นใจ และร้อยละ 38.8 ไม่ระบุความคิดเห็น และเมื่อคณะผู้วิจัยสอบถามต่อไปถึงความมั่นใจกรณีคณะรัฐมนตรีชุด ใหม่จะไม่เข้ามาถอนทุนคืน พบว่า ตัวอย่างร้อยละ 23.3 ระบุ มั่นใจว่าคณะรัฐมนตรีชุดใหม่จะไม่ถอนทุนคืน ในขณะที่ร้อยละ 48.6 ระบุไม่มั่นใจ และร้อยละ 28.1 ไม่ระบุความคิดเห็น
ประเด็นสำคัญที่น่าพิจารณาคือ เมื่อคณะผู้วิจัยได้สอบถามถึงความมั่นใจของตัวอย่างต่อนายกรัฐมนตรี
ในการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีนั้นพบว่า ตัวอย่างร้อยละ 48.5 ระบุว่านายกรัฐมนตรีจะไม่ทำให้ผิดหวัง ในขณะที่ร้อยละ 28.1 ระบุไม่มั่นใจ และร้อยละ 23.4 ไม่ระบุความคิดเห็น
ประเด็นสำคัญสุดท้ายที่ค้นพบจากการสำรวจของเอแบคโพลล์ในครั้งนี้ได้แก่ ปัญหาสำคัญเร่งด่วนที่ต้องการให้คณะรัฐมนตรีชุดใหม่แก้ไข ซึ่งพบว่า ตัวอย่างร้อยละ 65.8 ระบุต้องการให้เร่งแก้ไขปัญหาการจราจรติดขัด
รองลงมาคือร้อยละ 62.2 ระบุปัญหาค่าครองชีพสูง/สินค้าราคาแพง/น้ำมันขึ้นราคา ร้อยละ 60.3 ระบุปัญหาความยากจน/ขาดแคลนที่ดินทำกิน/ไม่มีที่อยู่อาศัย ร้อยละ 47.4 ระบุปัญหาความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ ร้อยละ 43.0 ระบุปัญหาคุณภาพการศึกษา ตามลำดับ
--เอแบคโพลล์--
-พห-