ดร.นพดล กรรณิกา หัวหน้าศูนย์เครือข่ายวิชาการเพื่อสังเกตการณ์และวิจัยความสุขชุมชน (ศูนย์วิจัยความสุขชุมชน) มหาวิทยาลัยอัสสัม
ชัญ เปิดเผยผลสำรวจเรื่อง “ความตั้งใจจะเดินทางไปต่างจังหวัดและประสบการณ์ปัญหาบนท้องถนนในการเดินทางของคนไทย: กรณีศึกษาประชาชนคน
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล” จำนวนทั้งสิ้น 3,214 ตัวอย่าง ซึ่งมีระยะเวลาการดำเนินโครงการระหว่างวันที่ 5 — 9 เมษายน พ.ศ. 2551 ผล
สำรวจพบว่า คนไทยส่วนใหญ่ร้อยละ 76.1 ให้ความสำคัญกับเทศกาลสงกรานต์ปีนี้ และส่วนใหญ่หรือร้อยละ 65.1 ยังไม่ได้รับข้อมูลข่าวสารแนะนำเส้น
ทางการเดินทางในช่วงเทศกาลสงกรานต์ มีร้อยละ 34.9 ได้รับแล้ว
เมื่อสอบถามถึงความตั้งใจจะเดินทางไปต่างจังหวัดหรือไม่ พบว่าส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 70 ตั้งใจจะเดินทางไปต่างจังหวัด และผล
สำรวจพบว่า ยานพาหนะที่ประชาชนตั้งใจจะใช้เดินทางอันดับแรก หรือร้อยละ 39.5 ของตัวอย่างทั้งหมดระบุเป็นรถยนต์ส่วนตัว รถเพื่อน รถญาติพี่
น้อง อันดับรองลงมาได้แก่ ร้อยละ 19.4 เป็นรถทัวร์ บขส. ประจำทางปรับอากาศ และร้อยละ 2.2 ระบุเป็นรถตู้ รถเช่า ร้อยละ 2.2 เช่นกันระบุ
เดินทางโดยเครื่องบิน ร้อยละ 2.0 ระบุตั้งใจจะเดินทางโดยรถไฟ และร้อยละ 5.6 ระบุอื่นๆ เช่น รถประจำทางไม่ปรับอากาศ รถมอเตอร์ไซค์
เป็นต้น
ประชาชนส่วนใหญ่หรือร้อยละ 65.5 ระบุปัญหาที่เคยประสบในขณะเดินทางบนถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์คือ การจราจรติดขัด รองลงมา
คือ ร้อยละ 59.0 ระบุอุบัติเหตุทางการจราจร ร้อยละ 10.6 ระบุเมาแล้วขับ ร้อยละ 8.1 ระบุถนนลื่น การเล่นน้ำบนถนน เป็นต้น
สำหรับเส้นทางถนนหลักที่ประชาชนจะใช้เดินทางออกต่างจังหวัด พบว่า ร้อยละ 24.8 ใช้ถนนสายเอเชีย รองลงมาคือร้อยละ 21.0
ถนนพหลโยธิน ร้อยละ 20.0 ถนนเพชรเกษม ร้อยละ 14.2 ถนนวงแหวนรอบนอกตะวันออก ร้อยละ 9.6 ถนน สุขุมวิท และร้อยละ 8.1 ถนนวง
แหวนรอบนอกฝั่งตะวันตก เป็นต้น
สำหรับวันที่เริ่มเดินทาง ผลสำรวจพบว่า อันดับแรกร้อยละ 39.4 ระบุเป็นวันศุกร์ที่ 11 เมษายน ร้อยละ 33.8 ระบุเป็นวันเสาร์ที่ 12
เมษายน ร้อยละ 15.7 ระบุเป็นวันอาทิตย์ที่ 13 เมษายน ร้อยละ 6.4 ระบุเป็นวันที่ 14 เมษายน ตามลำดับ ส่วนวันที่ตั้งใจจะเดินทางกลับกรุงเทพ
มหานครและปริมณฑล พบว่า อันดับแรก ร้อยละ 31.9 ระบุเป็นวันพุธที่ 16 เมษายน ร้อยละ 23.6 เป็นวันอังคารที่ 15 เมษายน ร้อยละ 19.8 ระบุ
เป็นหลังวันที่ 18 เมษายน ร้อยละ 12.8 เป็นวันจันทร์ที่ 14 เมษายน และร้อยละ 11.9 เป็นวันพฤหัสบดีที่ 17 เมษายน ตามลำดับ
ผลสำรวจพบด้วยว่า ประชาชนร้อยละ 27.7 จะเป็นคนขับรถด้วยตนเอง แต่ที่น่าเป็นห่วงคือ คนที่ตั้งใจจะขับรถด้วยตนเองร้อยละ 49.0
ตั้งใจจะดื่ม / อาจจะดื่ม กล่าวคือเกินกว่า 1 ใน 5 หรือร้อยละ 22.5 ตั้งใจจะดื่มอย่างแน่นอน และร้อยละ 26.5 อาจจะดื่ม โดยให้เหตุผลว่า ดื่ม
เพียงเล็กน้อย / ไม่อยากขัดใจเพื่อนและการชวนเชิญ / คิดว่าขับได้ / ไม่มีปัญหา เป็นต้น
ดร.นพดล กล่าวว่า ที่น่าพิจารณาอย่างยิ่งคือสาเหตุของอุบัติเหตุที่เคยพบเห็นจากประสบการณ์ในการเดินทางที่ค้นพบ ส่วนใหญ่หรือร้อยละ
89.6 ระบุมีคนขับรถด้วยความประมาทหวาดเสียว รองลงมาคือร้อยละ 87.9 มีคนขับรถเกินความเร็วที่กฎหมายกำหนด ร้อยละ 78.6 มีคนขับรถวิ่ง
ย้อนศร ร้อยละ 74.2 พื้นผิวถนนไม่ได้มาตรฐาน ร้อยละ 73.5 สภาพอากาศ ฝนตก ถนนลื่น ร้อยละ 67.9 ไม่มีไฟส่องสว่างเพียงพอ ร้อยละ 65.4
อุปกรณ์ วัสดุป้องกันอุบัติเหตุไม่เพียงพอ ร้อยละ 58.8 ขาดความต่อเนื่องของเจ้าหน้าที่ในการตรวจตราจับกุม ร้อยละ 57.5 ไม่มีป้ายจำกัดความเร็ว
เตือนสติคนขับมากเพียงพอ ร้อยละ 55.4 ไม่มีจุดพักรถที่ปลอดภัยเพียงพอ ร้อยละ 54.6 ไม่มีป้ายเตือนล่วงหน้าเพียงพอก่อนถึงจุดเสี่ยงอันตราย ร้อย
ละ 53.1 สัญญาณจราจรขัดข้องไม่มีการแก้ไข ร้อยละ 51.1 เจ้าหน้าที่ตำรวจไม่คอยตรวจตราจับกุมอย่างต่อเนื่อง
นอกจากนี้ ปัญหาอุปสรรคที่เคยพบเห็นเมื่อเกิดอุบัติเหตุบนถนนในการเดินทางต่างจังหวัดปี 2550 เป็นต้นมา พบว่า ร้อยละ 51.3 ระบุ
เจ้าหน้าที่มาที่เกิดเหตุล่าช้า ร้อยละ 20.3 มีการบอกปัดความรับผิดชอบ (โยนเรื่องกันไปมาระหว่างเจ้าหน้าที่) ร้อยละ 19.2 บอกไม่ได้พบเห็น
อุบัติเหตุเกิดที่ใด (มีปัญหาสื่อสารกับเจ้าหน้าที่รับแจ้งเหตุ) ร้อยละ 15.4 ไม่มีเจ้าหน้าที่รับสาย ร้อยละ 14.9 เจ้าหน้าที่รับแจ้งเหตุพูดจาไม่สุภาพ
ร้อยละ 14.8 เจ้าหน้าที่กู้ชีพไม่มีอุปกรณ์ทันสมัย ร้อยละ 11.1 ศูนย์รับเรื่องโทรแจ้งเหตุ (Call Center) ไม่มีประสิทธิภาพ
เมื่อสอบถามถึงความมั่นใจต่อการทำงานป้องกันอุบัติเหตุในช่วงเทศกาลสงกรานต์ปีนี้ เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา พบว่า ร้อยละ 44.9 ไม่มั่น
ใจ ร้อยละ 24.2 มั่นใจจะทำได้ดีกว่าปีก่อน และร้อยละ 30.9 ไม่มีความเห็น
สิ่งที่ประชาชนในการสำรวจครั้งนี้อยากบอกกับคนไทยที่กำลังจะเดินทางไปต่างจังหวัดช่วงสงกรานต์ปีนี้ ร้อยละ 47.6 ระบุอย่าดื่มเหล้า
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ / เมาไม่ขับ ร้อยละ 44.7 อย่าประมาท ให้มีสติ เดินทางระวังตัว ร้อยละ 22.7 ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุ ร้อยละ 8.4
ตรวจเช็คสภาพรถก่อนเดินทาง เป็นต้น
ที่น่าเป็นห่วงคือ ปัญหาที่ประชาชนกำลังกังวลใจในเทศกาลรื่นเริงสงกรานต์ปีนี้ คือ ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 83.1 กังวลเรื่องอุบัติเหตุขั้นมีคน
บาดเจ็บหรือเสียชีวิต ร้อยละ 62.8 มีการลวนลามทางเพศ ทำอนาจาร ร้อยละ 61.7 การทะเลาะวิวาท ทำร้ายร่างกาย ร้อยละ 53.4 คนเมาก่อ
ความรำคาญ ร้อยละ 50.7 การใช้ก้อนน้ำแข็งสาดปนกับน้ำ ร้อยละ 50.7 ปัญหาจราจรติดขัด ร้อยละ 41.9 โรคภัยที่มาจากการเล่นน้ำสกปรก ร้อย
ละ 41.2 กังวลการเล่นสาดน้ำทำถนนลื่น และอื่นๆ เช่น การลักขโมย ฉกชิงวิ่งราว การใช้อุปกรณ์ฉีดน้ำที่แรงเกินไป การใช้สารเคมี หรือแป้ง
อันตราย การถูกเจ้าหน้าที่เรียกรับสินบน การลักพาตัว และการก่อการร้าย เป็นต้น
รายละเอียดงานวิจัย
วัตถุประสงค์และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการวิจัย
1. เพื่อสำรวจความตั้งใจจะเดินทางและประสบการณ์ปัญหาต่างๆ บนถนนในช่วงเทศกาลสงกรานต์
2. เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาในเรื่องนี้อย่างลึกซึ้งต่อไป
ระเบียบวิธีการทำโพลล์
โครงการสำรวจภาคสนามของศูนย์เครือข่ายวิชาการเพื่อสังเกตการณ์และวิจัยความสุขชุมชน (ศูนย์วิจัยความสุขชุมชน) มหาวิทยาลัยอัสสัม
ชัญ เรื่อง สำรวจความตั้งใจจะเดินทางไปต่างจังหวัดและประสบการณ์ปัญหาบนท้องถนนในการเดินทางของคนไทย: กรณีศึกษาประชาชนคนกรุงเทพ
มหานครและปริมณฑล ซึ่งมีระยะเวลาการดำเนินโครงการระหว่างวันที่ 5-9 เมษายน พ.ศ.2551 ประเภทของการสำรวจวิจัยครั้งนี้ คือ การ
วิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) กลุ่มประชากรเป้าหมาย คือ ประชาชนที่พักอาศัยอยู่ใน กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เทคนิควิธีการสุ่ม
ตัวอย่าง ได้แก่ การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มเชิงชั้นภูมิหลายขั้น และกำหนดลักษณะของตัวอย่างให้สอดคล้องกับประชากรเป้าหมายจากการทำสำมะโน
ขนาดตัวอย่างที่ทำการสำรวจ จำนวน 3,214 ตัวอย่าง ช่วงความเชื่อมั่นอยู่ในระดับร้อยละ 95 ขณะที่ขอบเขตความคลาดเคลื่อนจากการกำหนดขนาด
ตัวอย่างอยู่ที่ +/- ร้อยละ 5 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ การสัมภาษณ์ หลังจากนั้นคณะผู้
วิจัยได้ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของแบบสอบถามทุกชุดก่อนนำเข้าวิเคราะห์ข้อมูล และงบประมาณทั้งสิ้นเป็นของมหาวิทยาลัย
ลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง
จากการพิจารณาลักษณะทั่วไปของตัวอย่างประชาชนทั่วไปพบว่า
ตัวอย่าง ร้อยละ 53.1 ระบุเป็นหญิง
ในขณะที่ ร้อยละ 46.9 ระบุเป็นชาย
ตัวอย่าง ร้อยละ 9.0 ระบุอายุระหว่าง 18-19 ปี
ร้อยละ 28.0 ระบุอายุระหว่าง 20—29 ปี
ร้อยละ 23.4 ระบุอายุระหว่าง 30—39 ปี
ร้อยละ 21.4 ระบุอายุระหว่าง 40—49 ปี
และร้อยละ 18.2 ระบุอายุ 50 ปีขึ้นไป
นอกจากนี้ ร้อยละ 50.7 ระบุยังเป็นโสด
ในขณะที่ร้อยละ 44.1 ระบุสมรสแล้ว
และร้อยละ 5.2 ระบุเป็นม่าย/หย่าร้าง/แยกกันอยู่
ตัวอย่าง ร้อยละ 73.8 ระบุสำเร็จการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรี
ร้อยละ 22.7 ระบุระดับปริญญาตรี
และร้อยละ 3.5 ระบุสูงกว่าระดับปริญญาตรี
เมื่อพิจารณาถึงการประกอบอาชีพของตัวอย่าง
พบว่า ร้อยละ 6.5 ระบุเป็นข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ
ร้อยละ 22.7 ระบุเป็นลูกจ้าง/พนักงานบริษัทเอกชน
ร้อยละ 27.0 ระบุมีอาชีพค้าขาย/กิจการรายย่อย
ร้อยละ 10.6 ระบุเป็นผู้ประกอบการ/เจ้าของธุรกิจ
ร้อยละ 18.4 ระบุเป็นนักเรียน/นักศึกษา
ร้อยละ 8.2 ระบุรับจ้างทั่วไป
ร้อยละ 2.0 ระบุยังไม่ได้ทำงาน
ในขณะที่ร้อยละ 4.0 ระบุเป็นแม่บ้าน/พ่อบ้าน/เกษียณอายุ
และร้อยละ 0.6 อาชีพอื่นๆ
ตัวอย่าง ร้อยละ 16.8 ระบุมีรายได้ไม่เกิน 5,000 บาทต่อเดือน
ร้อยละ 46.3 ระบุมีรายได้ 5,001 — 10,000 บาท
ร้อยละ 14.7 ระบุมีรายได้ 10,001 — 15,000 บาท
ร้อยละ 7.7 ระบุมีรายได้ 15,001 — 20,000 บาท
ร้อยละ 14.5 ระบุมีรายได้มากกว่า 20,000 บาท
ตัวอย่าง ร้อยละ 44.6 ระบุมีภูมิลำเนาอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
ในขณะที่ร้อยละ 55.4 ระบุมีภูมิลำเนาอยู่ต่างจังหวัด
โปรดพิจารณาประเด็นสำคัญที่ค้นพบในตารางต่อไปนี้
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุการให้ความสำคัญกับวันสงกรานต์
ลำดับที่ การให้ความสำคัญกับวันสงกรานต์ ค่าร้อยละ
1 ให้ความสำคัญ 76.1
2 ไม่ให้ความสำคัญ/เฉยๆ 17.2
3 ไม่มีความเห็น 6.7
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุ การได้รับข้อมูลข่าวสารแนะนำเส้นทางช่วงเทศกาลสงกรานต์
ลำดับที่ การได้รับข้อมูลข่าวสารแนะนำเส้นทางช่วงเทศกาลสงกรานต์ ค่าร้อยละ
1 ได้รับข้อมูลข่าวสารแนะนำเส้นทางแล้ว 34.9
2 ยังไม่ได้รับ 65.1
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุพาหนะที่ตั้งจะใจใช้ในการเดินทางออกจากกรุงเทพมหานคร
ไปต่างจังหวัด (ค่าร้อยละเฉพาะผู้ที่ระบุตั้งใจจะเดินทางไปต่างจังหวัด)
ลำดับที่ พาหนะในการใช้เดินทางออกจากกรุงเทพมหานครไปต่างจังหวัด ค่าร้อยละ
1 รถยนต์ส่วนตัว รถเพื่อน ญาติพี่น้อง 39.5
2 รถปรับอากาศประจำทาง เช่น รถทัวร์ 19.4
3 รถตู้ รถเช่า 2.2
4 เครื่องบิน 2.2
5 รถไฟ 2.0
6 อื่นๆ อาทิ รถประจำทางไม่ปรับอากาศ/รถจักรยานยนต์ (มอเตอร์ไซค์)รถตู้โดยสารรับจ้างประจำทาง 5.6
7 ไม่ได้ไปต่างจังหวัด 29.1
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 4 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุ ปัญหาที่เคยประสบในขณะเดินทางบนท้องถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์
(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ ปัญหาที่เคยประสบในขณะเดินทางบนท้องถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์ ค่าร้อยละ
1 รถติด/การจราจรติดขัด 65.5
2 อุบัติเหตุทางการจราจร 59.0
3 เมาแล้วขับ 10.6
4 ถนนลื่น/การเล่นน้ำบนถนน 8.1
5 ปัญหาอื่นๆ อาทิ รถโดยสารไม่เพียงพอ/ไม่มีมารยาทในการขับรถ/ฝกตก 2.2
ตารางที่ 5 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุเส้นทางที่ตั้งใจจะใช้ในการเดินทางออกไปต่างจังหวัด
(ค่าร้อยเฉพาะผู้ที่ตั้งใจจะเดินทางออกต่างจังหวัดและตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ เส้นทางที่ตั้งใจจะใช้ในการเดินทางออกไปต่างจังหวัด ค่าร้อยละ
1 ถนนสายเอเชีย 24.8
2 ถนนพหลโยธิน 21.0
3 ถนนเพชรเกษม 20.0
4 ถนนวงแหวนรอบนอกตะวันออก 14.2
5 ถนนสุขุมวิท 9.6
6 ถนนวงแหวนรอบนอกฝั่งตะวันตก 8.1
7 อื่นๆ 7.5
ตารางที่ 6 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุวันที่ตั้งใจจะเริ่มเดินทางออกจากกรุงเทพมหานคร
ลำดับที่ วันที่เริ่มเดินทางออกจากกรุงเทพมหานคร ค่าร้อยละ
1 วันศุกร์ที่ 11 เมษายน 39.4
2 วันเสาร์ที่ 12 เมษายน 33.8
3 วันอาทิตย์ที่ 13 เมษายน 15.7
4 วันจันทร์ที่ 14 เมษายน 6.4
5 หลังวันที่ 14 เมษายน 4.7
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 7 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุวันที่ตั้งใจจะกลับจากต่างจังหวัดสู่กรุงเทพมหานคร
ลำดับที่ วันที่กลับจากต่างจังหวัดสู่กรุงเทพมหานคร ค่าร้อยละ
3 วันพุธที่ 16 เมษายน 31.9
2 วันอังคารที่ 15 เมษายน 23.6
5 หลังวันที่ 18 เมษายน 19.8
1 วันจันทร์ที่ 14 เมษายน 12.8
4 วันพฤหัสบดีที่ 17 เมษายน 11.9
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 8 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุการขับรถในเดินทางออกจากกรุงเทพมหานครไปต่างจังหวัด
ลำดับที่ การขับรถในเดินทางออกจากกรุงเทพมหานครไปต่างจังหวัด ค่าร้อยละ
1 ขับรถด้วยตนเอง 27.7
2 ไม่ได้ขับรถด้วยตนเอง 72.3
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 9 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุ ความตั้งใจจะดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ปีนี้
ลำดับที่ ความตั้งใจจะดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ขับรถด้วยตนเอง ไม่ได้ขับรถด้วยตนเอง รวม
ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ
1 ตั้งใจจะดื่ม/ อาจจะดื่ม 49 37.1 40.4
2 ไม่ดื่ม / ไม่ดื่มอย่างแน่นอน 51 62.9 59.6
รวมทั้งสิ้น 100 100 100
เหตุผลที่ตั้งใจจะดื่ม / อาจจะดื่ม ได้แก่ เพราะ ...
ดื่มเพียงเล็กน้อย / ไม่อยากขัดใจเพื่อนและการชวนเชิญ / คิดว่าขับได้ /ไม่มีปัญหา เป็นต้น
ตารางที่ 10 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุสาเหตุของอุบัติเหตุที่เคยพบเห็นจากประสบการณ์ในการเดินทางไป
ต่างจังหวัด (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ สาเหตุของอุบัติเหตุที่เคยพบเห็น ค่าร้อยละ
1 มีคนขับรถด้วยความประมาทหวาดเสียว 89.6
2 มีคนขับรถเกินความเร็วที่กฎหมายกำหนด 87.9
3 มีคนขับรถวิ่งย้อนศร 78.6
4 พื้นผิวถนน ไม่ได้มาตรฐาน 74.2
5 สภาพอากาศ ฝนตก ถนนลื่น 73.5
6 ไม่มีไฟส่องสว่างเพียงพอ 67.9
7 อุปกรณ์ วัสดุป้องกันอุบัติเหตุไม่เพียงพอ 65.4
8 ขาดความต่อเนื่องของเจ้าหน้าที่ในการตรวจตราจับกุม 58.8
9 ไม่มีป้ายจำกัดความเร็วที่เตือนสติคนขับมากเพียงพอ 57.5
10 ไม่มีจุดพักรถที่ปลอดภัยเพียงพอ 55.4
11 ไม่มีป้ายเตือนล่วงหน้า ก่อนถึงจุดเสี่ยงอันตราย 54.6
12 สัญญาณจราจรขัดข้อง 53.1
13 เจ้าหน้าที่ตำรวจไม่คอยตรวจตราจับกุมอย่างต่อเนื่อง 51.1
ตารางที่ 11 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุปัญหาอุปสรรคที่พบเห็นเมื่อเกิดอุบัติเหตุบนถนน
(จากประสบการณ์ในการเดินทางช่วงปี 2550 และตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ ปัญหาอุปสรรคที่พบเห็นเมื่อเกิดอุบัติเหตุบนถนน ค่าร้อยละ
1 เจ้าหน้าที่มาที่เกิดเหตุล่าช้า 51.3
2 มีการบอกปัดความรับผิดชอบ (โยนเรื่องกันไปมาระหว่างเจ้าหน้าที่) 20.3
3 บอกไม่ได้ว่าพบเห็นอุบัติเหตุเกิดที่ใด (มีปัญหาสื่อสารกับเจ้าหน้าที่รับแจ้งเหตุ) 19.2
4 ไม่มีเจ้าหน้าที่รับสาย 15.4
5 เจ้าหน้าที่รับแจ้งเหตุพูดจาไม่สุภาพ 14.9
6 เจ้าหน้าที่กู้ชีพไม่มีอุปกรณ์ทันสมัย 14.8
7 ศูนย์รับเรื่องโทรแจ้งเหตุ (Call Center) ไม่มีประสิทธิภาพ 11.1
ตารางที่ 12 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความมั่นใจต่อการทำงานป้องกันอุบัติเหตุในช่วงเทศกาลสงกรานต์ปีนี้
เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา
ลำดับที่ ความมั่นใจต่อการทำงานป้องกันอุบัติเหตุในช่วงเทศกาลสงกรานต์ปีนี้ ค่าร้อยละ
1 ไม่มั่นใจ 44.9
2 มั่นใจว่าจะทำได้ดีกว่าปีที่ผ่านมา 24.2
3 ไม่มีความเห็น 30.9
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 13 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุสิ่งที่ตั้งใจจะบอกคนไทยที่กำลังเตรียมตัวเดินทางไปต่างจังหวัดในช่วง
สงกรานต์ปีนี้ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ สิ่งที่ตั้งใจจะบอกคนไทยที่กำลังจะเดินทางไปต่างจังหวัดช่วงสงกรานต์ ค่าร้อยละ
1 อย่าดื่มเหล้า เครื่องดื่มแอลกอฮอล์/ เมาไม่ขับ 47.6
2 อย่าประมาท/ให้มีสติ/เดินทางระวังตัว 44.7
3 ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุ 22.7
4 ตรวจเช็คสภาพรถให้พร้อมก่อนการเดินทาง 8.4
5 อย่าขับรถด้วยความเร็วสูง 8.0
6 อื่นๆ อาทิ ง่วงนอนให้จอดรถพัก/เคารพกฎจราจร/ไม่โทรศัพท์ขณะขับรถ 9.4
ตารางที่ 14 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุปัญหาที่รู้สึกวิตกกังวลในช่วงเทศกาลสงกรานต์ที่จะถึงนี้
(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ ปัญหาที่รู้สึกวิตกกังวลในช่วงเทศกาลสงกรานต์ที่จะถึงนี้ ค่าร้อยละ
1 อุบัติเหตุถึงขั้นมีคนบาดเจ็บหรือเสียชีวิต 83.1
2 มีการลวนลามทางเพศ/กระทำอนาจาร 62.8
3 การทะเลาะวิวาท/ทำร้ายร่างกาย 61.7
4 คนเมาก่อความรำคาญ 53.4
5 มีการใช้ก้อนน้ำแข็งสาดปนกับน้ำ 50.7
6 ปัญหาการจราจรติดขัด 50.7
7 โรคภัยที่มาจากการเล่นน้ำสกปรก 41.9
8 มีการเล่นสาดน้ำบนท้องถนนอย่างเสี่ยงอันตราย 41.2
9 การลักขโมย/ฉกชิงวิ่งราว 40.5
10 มีการใช้อุปกรณ์ฉีดน้ำที่แรงเกินไป 36.7
11 มีการใช้สารเคมีหรือแป้งที่เป็นอันตราย 35.9
12 ถูกเจ้าหน้าที่เรียกรับสินบน 25.8
13 ลักพาตัวเด็ก 21.4
14 อัคคีภัย/ไฟไหม้ 19.5
15 ปัญหาการก่อการร้าย 18.1
--เอแบคโพลล์--
-พห-
ชัญ เปิดเผยผลสำรวจเรื่อง “ความตั้งใจจะเดินทางไปต่างจังหวัดและประสบการณ์ปัญหาบนท้องถนนในการเดินทางของคนไทย: กรณีศึกษาประชาชนคน
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล” จำนวนทั้งสิ้น 3,214 ตัวอย่าง ซึ่งมีระยะเวลาการดำเนินโครงการระหว่างวันที่ 5 — 9 เมษายน พ.ศ. 2551 ผล
สำรวจพบว่า คนไทยส่วนใหญ่ร้อยละ 76.1 ให้ความสำคัญกับเทศกาลสงกรานต์ปีนี้ และส่วนใหญ่หรือร้อยละ 65.1 ยังไม่ได้รับข้อมูลข่าวสารแนะนำเส้น
ทางการเดินทางในช่วงเทศกาลสงกรานต์ มีร้อยละ 34.9 ได้รับแล้ว
เมื่อสอบถามถึงความตั้งใจจะเดินทางไปต่างจังหวัดหรือไม่ พบว่าส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 70 ตั้งใจจะเดินทางไปต่างจังหวัด และผล
สำรวจพบว่า ยานพาหนะที่ประชาชนตั้งใจจะใช้เดินทางอันดับแรก หรือร้อยละ 39.5 ของตัวอย่างทั้งหมดระบุเป็นรถยนต์ส่วนตัว รถเพื่อน รถญาติพี่
น้อง อันดับรองลงมาได้แก่ ร้อยละ 19.4 เป็นรถทัวร์ บขส. ประจำทางปรับอากาศ และร้อยละ 2.2 ระบุเป็นรถตู้ รถเช่า ร้อยละ 2.2 เช่นกันระบุ
เดินทางโดยเครื่องบิน ร้อยละ 2.0 ระบุตั้งใจจะเดินทางโดยรถไฟ และร้อยละ 5.6 ระบุอื่นๆ เช่น รถประจำทางไม่ปรับอากาศ รถมอเตอร์ไซค์
เป็นต้น
ประชาชนส่วนใหญ่หรือร้อยละ 65.5 ระบุปัญหาที่เคยประสบในขณะเดินทางบนถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์คือ การจราจรติดขัด รองลงมา
คือ ร้อยละ 59.0 ระบุอุบัติเหตุทางการจราจร ร้อยละ 10.6 ระบุเมาแล้วขับ ร้อยละ 8.1 ระบุถนนลื่น การเล่นน้ำบนถนน เป็นต้น
สำหรับเส้นทางถนนหลักที่ประชาชนจะใช้เดินทางออกต่างจังหวัด พบว่า ร้อยละ 24.8 ใช้ถนนสายเอเชีย รองลงมาคือร้อยละ 21.0
ถนนพหลโยธิน ร้อยละ 20.0 ถนนเพชรเกษม ร้อยละ 14.2 ถนนวงแหวนรอบนอกตะวันออก ร้อยละ 9.6 ถนน สุขุมวิท และร้อยละ 8.1 ถนนวง
แหวนรอบนอกฝั่งตะวันตก เป็นต้น
สำหรับวันที่เริ่มเดินทาง ผลสำรวจพบว่า อันดับแรกร้อยละ 39.4 ระบุเป็นวันศุกร์ที่ 11 เมษายน ร้อยละ 33.8 ระบุเป็นวันเสาร์ที่ 12
เมษายน ร้อยละ 15.7 ระบุเป็นวันอาทิตย์ที่ 13 เมษายน ร้อยละ 6.4 ระบุเป็นวันที่ 14 เมษายน ตามลำดับ ส่วนวันที่ตั้งใจจะเดินทางกลับกรุงเทพ
มหานครและปริมณฑล พบว่า อันดับแรก ร้อยละ 31.9 ระบุเป็นวันพุธที่ 16 เมษายน ร้อยละ 23.6 เป็นวันอังคารที่ 15 เมษายน ร้อยละ 19.8 ระบุ
เป็นหลังวันที่ 18 เมษายน ร้อยละ 12.8 เป็นวันจันทร์ที่ 14 เมษายน และร้อยละ 11.9 เป็นวันพฤหัสบดีที่ 17 เมษายน ตามลำดับ
ผลสำรวจพบด้วยว่า ประชาชนร้อยละ 27.7 จะเป็นคนขับรถด้วยตนเอง แต่ที่น่าเป็นห่วงคือ คนที่ตั้งใจจะขับรถด้วยตนเองร้อยละ 49.0
ตั้งใจจะดื่ม / อาจจะดื่ม กล่าวคือเกินกว่า 1 ใน 5 หรือร้อยละ 22.5 ตั้งใจจะดื่มอย่างแน่นอน และร้อยละ 26.5 อาจจะดื่ม โดยให้เหตุผลว่า ดื่ม
เพียงเล็กน้อย / ไม่อยากขัดใจเพื่อนและการชวนเชิญ / คิดว่าขับได้ / ไม่มีปัญหา เป็นต้น
ดร.นพดล กล่าวว่า ที่น่าพิจารณาอย่างยิ่งคือสาเหตุของอุบัติเหตุที่เคยพบเห็นจากประสบการณ์ในการเดินทางที่ค้นพบ ส่วนใหญ่หรือร้อยละ
89.6 ระบุมีคนขับรถด้วยความประมาทหวาดเสียว รองลงมาคือร้อยละ 87.9 มีคนขับรถเกินความเร็วที่กฎหมายกำหนด ร้อยละ 78.6 มีคนขับรถวิ่ง
ย้อนศร ร้อยละ 74.2 พื้นผิวถนนไม่ได้มาตรฐาน ร้อยละ 73.5 สภาพอากาศ ฝนตก ถนนลื่น ร้อยละ 67.9 ไม่มีไฟส่องสว่างเพียงพอ ร้อยละ 65.4
อุปกรณ์ วัสดุป้องกันอุบัติเหตุไม่เพียงพอ ร้อยละ 58.8 ขาดความต่อเนื่องของเจ้าหน้าที่ในการตรวจตราจับกุม ร้อยละ 57.5 ไม่มีป้ายจำกัดความเร็ว
เตือนสติคนขับมากเพียงพอ ร้อยละ 55.4 ไม่มีจุดพักรถที่ปลอดภัยเพียงพอ ร้อยละ 54.6 ไม่มีป้ายเตือนล่วงหน้าเพียงพอก่อนถึงจุดเสี่ยงอันตราย ร้อย
ละ 53.1 สัญญาณจราจรขัดข้องไม่มีการแก้ไข ร้อยละ 51.1 เจ้าหน้าที่ตำรวจไม่คอยตรวจตราจับกุมอย่างต่อเนื่อง
นอกจากนี้ ปัญหาอุปสรรคที่เคยพบเห็นเมื่อเกิดอุบัติเหตุบนถนนในการเดินทางต่างจังหวัดปี 2550 เป็นต้นมา พบว่า ร้อยละ 51.3 ระบุ
เจ้าหน้าที่มาที่เกิดเหตุล่าช้า ร้อยละ 20.3 มีการบอกปัดความรับผิดชอบ (โยนเรื่องกันไปมาระหว่างเจ้าหน้าที่) ร้อยละ 19.2 บอกไม่ได้พบเห็น
อุบัติเหตุเกิดที่ใด (มีปัญหาสื่อสารกับเจ้าหน้าที่รับแจ้งเหตุ) ร้อยละ 15.4 ไม่มีเจ้าหน้าที่รับสาย ร้อยละ 14.9 เจ้าหน้าที่รับแจ้งเหตุพูดจาไม่สุภาพ
ร้อยละ 14.8 เจ้าหน้าที่กู้ชีพไม่มีอุปกรณ์ทันสมัย ร้อยละ 11.1 ศูนย์รับเรื่องโทรแจ้งเหตุ (Call Center) ไม่มีประสิทธิภาพ
เมื่อสอบถามถึงความมั่นใจต่อการทำงานป้องกันอุบัติเหตุในช่วงเทศกาลสงกรานต์ปีนี้ เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา พบว่า ร้อยละ 44.9 ไม่มั่น
ใจ ร้อยละ 24.2 มั่นใจจะทำได้ดีกว่าปีก่อน และร้อยละ 30.9 ไม่มีความเห็น
สิ่งที่ประชาชนในการสำรวจครั้งนี้อยากบอกกับคนไทยที่กำลังจะเดินทางไปต่างจังหวัดช่วงสงกรานต์ปีนี้ ร้อยละ 47.6 ระบุอย่าดื่มเหล้า
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ / เมาไม่ขับ ร้อยละ 44.7 อย่าประมาท ให้มีสติ เดินทางระวังตัว ร้อยละ 22.7 ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุ ร้อยละ 8.4
ตรวจเช็คสภาพรถก่อนเดินทาง เป็นต้น
ที่น่าเป็นห่วงคือ ปัญหาที่ประชาชนกำลังกังวลใจในเทศกาลรื่นเริงสงกรานต์ปีนี้ คือ ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 83.1 กังวลเรื่องอุบัติเหตุขั้นมีคน
บาดเจ็บหรือเสียชีวิต ร้อยละ 62.8 มีการลวนลามทางเพศ ทำอนาจาร ร้อยละ 61.7 การทะเลาะวิวาท ทำร้ายร่างกาย ร้อยละ 53.4 คนเมาก่อ
ความรำคาญ ร้อยละ 50.7 การใช้ก้อนน้ำแข็งสาดปนกับน้ำ ร้อยละ 50.7 ปัญหาจราจรติดขัด ร้อยละ 41.9 โรคภัยที่มาจากการเล่นน้ำสกปรก ร้อย
ละ 41.2 กังวลการเล่นสาดน้ำทำถนนลื่น และอื่นๆ เช่น การลักขโมย ฉกชิงวิ่งราว การใช้อุปกรณ์ฉีดน้ำที่แรงเกินไป การใช้สารเคมี หรือแป้ง
อันตราย การถูกเจ้าหน้าที่เรียกรับสินบน การลักพาตัว และการก่อการร้าย เป็นต้น
รายละเอียดงานวิจัย
วัตถุประสงค์และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการวิจัย
1. เพื่อสำรวจความตั้งใจจะเดินทางและประสบการณ์ปัญหาต่างๆ บนถนนในช่วงเทศกาลสงกรานต์
2. เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาในเรื่องนี้อย่างลึกซึ้งต่อไป
ระเบียบวิธีการทำโพลล์
โครงการสำรวจภาคสนามของศูนย์เครือข่ายวิชาการเพื่อสังเกตการณ์และวิจัยความสุขชุมชน (ศูนย์วิจัยความสุขชุมชน) มหาวิทยาลัยอัสสัม
ชัญ เรื่อง สำรวจความตั้งใจจะเดินทางไปต่างจังหวัดและประสบการณ์ปัญหาบนท้องถนนในการเดินทางของคนไทย: กรณีศึกษาประชาชนคนกรุงเทพ
มหานครและปริมณฑล ซึ่งมีระยะเวลาการดำเนินโครงการระหว่างวันที่ 5-9 เมษายน พ.ศ.2551 ประเภทของการสำรวจวิจัยครั้งนี้ คือ การ
วิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) กลุ่มประชากรเป้าหมาย คือ ประชาชนที่พักอาศัยอยู่ใน กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เทคนิควิธีการสุ่ม
ตัวอย่าง ได้แก่ การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มเชิงชั้นภูมิหลายขั้น และกำหนดลักษณะของตัวอย่างให้สอดคล้องกับประชากรเป้าหมายจากการทำสำมะโน
ขนาดตัวอย่างที่ทำการสำรวจ จำนวน 3,214 ตัวอย่าง ช่วงความเชื่อมั่นอยู่ในระดับร้อยละ 95 ขณะที่ขอบเขตความคลาดเคลื่อนจากการกำหนดขนาด
ตัวอย่างอยู่ที่ +/- ร้อยละ 5 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ การสัมภาษณ์ หลังจากนั้นคณะผู้
วิจัยได้ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของแบบสอบถามทุกชุดก่อนนำเข้าวิเคราะห์ข้อมูล และงบประมาณทั้งสิ้นเป็นของมหาวิทยาลัย
ลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง
จากการพิจารณาลักษณะทั่วไปของตัวอย่างประชาชนทั่วไปพบว่า
ตัวอย่าง ร้อยละ 53.1 ระบุเป็นหญิง
ในขณะที่ ร้อยละ 46.9 ระบุเป็นชาย
ตัวอย่าง ร้อยละ 9.0 ระบุอายุระหว่าง 18-19 ปี
ร้อยละ 28.0 ระบุอายุระหว่าง 20—29 ปี
ร้อยละ 23.4 ระบุอายุระหว่าง 30—39 ปี
ร้อยละ 21.4 ระบุอายุระหว่าง 40—49 ปี
และร้อยละ 18.2 ระบุอายุ 50 ปีขึ้นไป
นอกจากนี้ ร้อยละ 50.7 ระบุยังเป็นโสด
ในขณะที่ร้อยละ 44.1 ระบุสมรสแล้ว
และร้อยละ 5.2 ระบุเป็นม่าย/หย่าร้าง/แยกกันอยู่
ตัวอย่าง ร้อยละ 73.8 ระบุสำเร็จการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรี
ร้อยละ 22.7 ระบุระดับปริญญาตรี
และร้อยละ 3.5 ระบุสูงกว่าระดับปริญญาตรี
เมื่อพิจารณาถึงการประกอบอาชีพของตัวอย่าง
พบว่า ร้อยละ 6.5 ระบุเป็นข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ
ร้อยละ 22.7 ระบุเป็นลูกจ้าง/พนักงานบริษัทเอกชน
ร้อยละ 27.0 ระบุมีอาชีพค้าขาย/กิจการรายย่อย
ร้อยละ 10.6 ระบุเป็นผู้ประกอบการ/เจ้าของธุรกิจ
ร้อยละ 18.4 ระบุเป็นนักเรียน/นักศึกษา
ร้อยละ 8.2 ระบุรับจ้างทั่วไป
ร้อยละ 2.0 ระบุยังไม่ได้ทำงาน
ในขณะที่ร้อยละ 4.0 ระบุเป็นแม่บ้าน/พ่อบ้าน/เกษียณอายุ
และร้อยละ 0.6 อาชีพอื่นๆ
ตัวอย่าง ร้อยละ 16.8 ระบุมีรายได้ไม่เกิน 5,000 บาทต่อเดือน
ร้อยละ 46.3 ระบุมีรายได้ 5,001 — 10,000 บาท
ร้อยละ 14.7 ระบุมีรายได้ 10,001 — 15,000 บาท
ร้อยละ 7.7 ระบุมีรายได้ 15,001 — 20,000 บาท
ร้อยละ 14.5 ระบุมีรายได้มากกว่า 20,000 บาท
ตัวอย่าง ร้อยละ 44.6 ระบุมีภูมิลำเนาอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
ในขณะที่ร้อยละ 55.4 ระบุมีภูมิลำเนาอยู่ต่างจังหวัด
โปรดพิจารณาประเด็นสำคัญที่ค้นพบในตารางต่อไปนี้
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุการให้ความสำคัญกับวันสงกรานต์
ลำดับที่ การให้ความสำคัญกับวันสงกรานต์ ค่าร้อยละ
1 ให้ความสำคัญ 76.1
2 ไม่ให้ความสำคัญ/เฉยๆ 17.2
3 ไม่มีความเห็น 6.7
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุ การได้รับข้อมูลข่าวสารแนะนำเส้นทางช่วงเทศกาลสงกรานต์
ลำดับที่ การได้รับข้อมูลข่าวสารแนะนำเส้นทางช่วงเทศกาลสงกรานต์ ค่าร้อยละ
1 ได้รับข้อมูลข่าวสารแนะนำเส้นทางแล้ว 34.9
2 ยังไม่ได้รับ 65.1
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุพาหนะที่ตั้งจะใจใช้ในการเดินทางออกจากกรุงเทพมหานคร
ไปต่างจังหวัด (ค่าร้อยละเฉพาะผู้ที่ระบุตั้งใจจะเดินทางไปต่างจังหวัด)
ลำดับที่ พาหนะในการใช้เดินทางออกจากกรุงเทพมหานครไปต่างจังหวัด ค่าร้อยละ
1 รถยนต์ส่วนตัว รถเพื่อน ญาติพี่น้อง 39.5
2 รถปรับอากาศประจำทาง เช่น รถทัวร์ 19.4
3 รถตู้ รถเช่า 2.2
4 เครื่องบิน 2.2
5 รถไฟ 2.0
6 อื่นๆ อาทิ รถประจำทางไม่ปรับอากาศ/รถจักรยานยนต์ (มอเตอร์ไซค์)รถตู้โดยสารรับจ้างประจำทาง 5.6
7 ไม่ได้ไปต่างจังหวัด 29.1
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 4 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุ ปัญหาที่เคยประสบในขณะเดินทางบนท้องถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์
(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ ปัญหาที่เคยประสบในขณะเดินทางบนท้องถนนช่วงเทศกาลสงกรานต์ ค่าร้อยละ
1 รถติด/การจราจรติดขัด 65.5
2 อุบัติเหตุทางการจราจร 59.0
3 เมาแล้วขับ 10.6
4 ถนนลื่น/การเล่นน้ำบนถนน 8.1
5 ปัญหาอื่นๆ อาทิ รถโดยสารไม่เพียงพอ/ไม่มีมารยาทในการขับรถ/ฝกตก 2.2
ตารางที่ 5 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุเส้นทางที่ตั้งใจจะใช้ในการเดินทางออกไปต่างจังหวัด
(ค่าร้อยเฉพาะผู้ที่ตั้งใจจะเดินทางออกต่างจังหวัดและตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ เส้นทางที่ตั้งใจจะใช้ในการเดินทางออกไปต่างจังหวัด ค่าร้อยละ
1 ถนนสายเอเชีย 24.8
2 ถนนพหลโยธิน 21.0
3 ถนนเพชรเกษม 20.0
4 ถนนวงแหวนรอบนอกตะวันออก 14.2
5 ถนนสุขุมวิท 9.6
6 ถนนวงแหวนรอบนอกฝั่งตะวันตก 8.1
7 อื่นๆ 7.5
ตารางที่ 6 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุวันที่ตั้งใจจะเริ่มเดินทางออกจากกรุงเทพมหานคร
ลำดับที่ วันที่เริ่มเดินทางออกจากกรุงเทพมหานคร ค่าร้อยละ
1 วันศุกร์ที่ 11 เมษายน 39.4
2 วันเสาร์ที่ 12 เมษายน 33.8
3 วันอาทิตย์ที่ 13 เมษายน 15.7
4 วันจันทร์ที่ 14 เมษายน 6.4
5 หลังวันที่ 14 เมษายน 4.7
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 7 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุวันที่ตั้งใจจะกลับจากต่างจังหวัดสู่กรุงเทพมหานคร
ลำดับที่ วันที่กลับจากต่างจังหวัดสู่กรุงเทพมหานคร ค่าร้อยละ
3 วันพุธที่ 16 เมษายน 31.9
2 วันอังคารที่ 15 เมษายน 23.6
5 หลังวันที่ 18 เมษายน 19.8
1 วันจันทร์ที่ 14 เมษายน 12.8
4 วันพฤหัสบดีที่ 17 เมษายน 11.9
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 8 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุการขับรถในเดินทางออกจากกรุงเทพมหานครไปต่างจังหวัด
ลำดับที่ การขับรถในเดินทางออกจากกรุงเทพมหานครไปต่างจังหวัด ค่าร้อยละ
1 ขับรถด้วยตนเอง 27.7
2 ไม่ได้ขับรถด้วยตนเอง 72.3
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 9 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุ ความตั้งใจจะดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ปีนี้
ลำดับที่ ความตั้งใจจะดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ขับรถด้วยตนเอง ไม่ได้ขับรถด้วยตนเอง รวม
ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ
1 ตั้งใจจะดื่ม/ อาจจะดื่ม 49 37.1 40.4
2 ไม่ดื่ม / ไม่ดื่มอย่างแน่นอน 51 62.9 59.6
รวมทั้งสิ้น 100 100 100
เหตุผลที่ตั้งใจจะดื่ม / อาจจะดื่ม ได้แก่ เพราะ ...
ดื่มเพียงเล็กน้อย / ไม่อยากขัดใจเพื่อนและการชวนเชิญ / คิดว่าขับได้ /ไม่มีปัญหา เป็นต้น
ตารางที่ 10 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุสาเหตุของอุบัติเหตุที่เคยพบเห็นจากประสบการณ์ในการเดินทางไป
ต่างจังหวัด (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ สาเหตุของอุบัติเหตุที่เคยพบเห็น ค่าร้อยละ
1 มีคนขับรถด้วยความประมาทหวาดเสียว 89.6
2 มีคนขับรถเกินความเร็วที่กฎหมายกำหนด 87.9
3 มีคนขับรถวิ่งย้อนศร 78.6
4 พื้นผิวถนน ไม่ได้มาตรฐาน 74.2
5 สภาพอากาศ ฝนตก ถนนลื่น 73.5
6 ไม่มีไฟส่องสว่างเพียงพอ 67.9
7 อุปกรณ์ วัสดุป้องกันอุบัติเหตุไม่เพียงพอ 65.4
8 ขาดความต่อเนื่องของเจ้าหน้าที่ในการตรวจตราจับกุม 58.8
9 ไม่มีป้ายจำกัดความเร็วที่เตือนสติคนขับมากเพียงพอ 57.5
10 ไม่มีจุดพักรถที่ปลอดภัยเพียงพอ 55.4
11 ไม่มีป้ายเตือนล่วงหน้า ก่อนถึงจุดเสี่ยงอันตราย 54.6
12 สัญญาณจราจรขัดข้อง 53.1
13 เจ้าหน้าที่ตำรวจไม่คอยตรวจตราจับกุมอย่างต่อเนื่อง 51.1
ตารางที่ 11 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุปัญหาอุปสรรคที่พบเห็นเมื่อเกิดอุบัติเหตุบนถนน
(จากประสบการณ์ในการเดินทางช่วงปี 2550 และตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ ปัญหาอุปสรรคที่พบเห็นเมื่อเกิดอุบัติเหตุบนถนน ค่าร้อยละ
1 เจ้าหน้าที่มาที่เกิดเหตุล่าช้า 51.3
2 มีการบอกปัดความรับผิดชอบ (โยนเรื่องกันไปมาระหว่างเจ้าหน้าที่) 20.3
3 บอกไม่ได้ว่าพบเห็นอุบัติเหตุเกิดที่ใด (มีปัญหาสื่อสารกับเจ้าหน้าที่รับแจ้งเหตุ) 19.2
4 ไม่มีเจ้าหน้าที่รับสาย 15.4
5 เจ้าหน้าที่รับแจ้งเหตุพูดจาไม่สุภาพ 14.9
6 เจ้าหน้าที่กู้ชีพไม่มีอุปกรณ์ทันสมัย 14.8
7 ศูนย์รับเรื่องโทรแจ้งเหตุ (Call Center) ไม่มีประสิทธิภาพ 11.1
ตารางที่ 12 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความมั่นใจต่อการทำงานป้องกันอุบัติเหตุในช่วงเทศกาลสงกรานต์ปีนี้
เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา
ลำดับที่ ความมั่นใจต่อการทำงานป้องกันอุบัติเหตุในช่วงเทศกาลสงกรานต์ปีนี้ ค่าร้อยละ
1 ไม่มั่นใจ 44.9
2 มั่นใจว่าจะทำได้ดีกว่าปีที่ผ่านมา 24.2
3 ไม่มีความเห็น 30.9
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 13 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุสิ่งที่ตั้งใจจะบอกคนไทยที่กำลังเตรียมตัวเดินทางไปต่างจังหวัดในช่วง
สงกรานต์ปีนี้ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ สิ่งที่ตั้งใจจะบอกคนไทยที่กำลังจะเดินทางไปต่างจังหวัดช่วงสงกรานต์ ค่าร้อยละ
1 อย่าดื่มเหล้า เครื่องดื่มแอลกอฮอล์/ เมาไม่ขับ 47.6
2 อย่าประมาท/ให้มีสติ/เดินทางระวังตัว 44.7
3 ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุ 22.7
4 ตรวจเช็คสภาพรถให้พร้อมก่อนการเดินทาง 8.4
5 อย่าขับรถด้วยความเร็วสูง 8.0
6 อื่นๆ อาทิ ง่วงนอนให้จอดรถพัก/เคารพกฎจราจร/ไม่โทรศัพท์ขณะขับรถ 9.4
ตารางที่ 14 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุปัญหาที่รู้สึกวิตกกังวลในช่วงเทศกาลสงกรานต์ที่จะถึงนี้
(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ ปัญหาที่รู้สึกวิตกกังวลในช่วงเทศกาลสงกรานต์ที่จะถึงนี้ ค่าร้อยละ
1 อุบัติเหตุถึงขั้นมีคนบาดเจ็บหรือเสียชีวิต 83.1
2 มีการลวนลามทางเพศ/กระทำอนาจาร 62.8
3 การทะเลาะวิวาท/ทำร้ายร่างกาย 61.7
4 คนเมาก่อความรำคาญ 53.4
5 มีการใช้ก้อนน้ำแข็งสาดปนกับน้ำ 50.7
6 ปัญหาการจราจรติดขัด 50.7
7 โรคภัยที่มาจากการเล่นน้ำสกปรก 41.9
8 มีการเล่นสาดน้ำบนท้องถนนอย่างเสี่ยงอันตราย 41.2
9 การลักขโมย/ฉกชิงวิ่งราว 40.5
10 มีการใช้อุปกรณ์ฉีดน้ำที่แรงเกินไป 36.7
11 มีการใช้สารเคมีหรือแป้งที่เป็นอันตราย 35.9
12 ถูกเจ้าหน้าที่เรียกรับสินบน 25.8
13 ลักพาตัวเด็ก 21.4
14 อัคคีภัย/ไฟไหม้ 19.5
15 ปัญหาการก่อการร้าย 18.1
--เอแบคโพลล์--
-พห-