ดร.นพดล กรรณิกา หัวหน้าศูนย์เครือข่ายวิชาการเพื่อสังเกตการณ์และวิจัยความสุขชุมชน (ศูนย์วิจัยความสุขชุมชน) มหาวิทยาลัยอัสสัม
ชัญ (ABAC Academic Network for Community Happiness Observation and Research, ANCHOR) เปิดเผยผลวิจัยเรื่อง เสียง
ประชาชนในวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ กรณีศึกษาประชาชนที่มีภูมิลำเนาใน 18 จังหวัดของประเทศ จำนวนทั้งสิ้น 3,088 ตัวอย่าง ดำเนินโครงการ
ระหว่างวันที่ 25 มีนาคม — 10 เมษายน ที่ผ่านมา
ดร.นพดล กล่าวว่า เมื่อถามถึงสิ่งที่คนไทยอยากบอกต่อกัน ในโอกาสวันสงกรานต์ หรือวันขึ้นปีใหม่ของคนไทย พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อย
ละ 72.2 ขอให้คนไทยรักและสามัคคีกัน รองลงมาร้อยละ 13.8 อยากให้คนไทยรู้จักขอบคุณ ขอโทษ และรู้จักให้อภัย ร้อยละ13.0 ให้ช่วยกันทำงาน
เพื่อประเทศชาติ ร้อยละ 9.7 ให้เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน ร้อยละ 6.6 อย่าเห็นแก่ตัว ให้คิดถึงประโยชน์ของประเทศชาติเป็นหลัก และร้อยละ 8.3
ระบุอื่นๆ เช่น ให้มีความเมตตา อย่าทรยศชาติ อย่าทะเลาะกัน เป็นต้น
หัวหน้าศูนย์วิจัยความสุขชุมชน กล่าวว่า ที่น่าสนใจคือ พรที่ประชาชนอยากได้มากที่สุด หลายคนอาจคิดถึงเรื่องความร่ำรวย แต่ผลสำรวจ
พบว่า สิ่งที่ประชาชนอยากได้มากที่สุดคือ ร้อยละ 33.0 ระบุสุขภาพที่ดี แข็งแรง อันดับสองได้แก่ ร้อยละ 24.8 ระบุความร่ำรวยมีเงินทอง โชคลาภ
อันดับที่สามได้แก่ ร้อยละ 11.6 มีชีวิตคู่ ครอบครัวที่อบอุ่น ร้อยละ 9.9 ระบุมีความเจริญรุ่งเรืองในหน้าที่การงาน ร้อยละ 7.4 ระบุประสบความ
สำเร็จในการศึกษาเล่าเรียน ร้อยละ 7.3 ระบุให้คนที่เรารักมีความสุข เป็นต้น
ส่วนสิ่งที่อยากได้เป็นของขวัญในโอกาสเทศกาลสงกรานต์ปีนี้จากนายกรัฐมนตรี (นายสมัคร สุนทรเวช) ผลสำรวจพบว่า อันดับแรกหรือ
ร้อยละ 44.0 เป็นการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ อันดับสองหรือร้อยละ 12.7 ทำให้ประเทศชาติสงบสุข อันดับสามได้แก่ ร้อยละ 10.9 ขอให้ใจเย็น สุขุม
รับฟังคนอื่นให้มากขึ้น ร้อยละ 7.0 ขอให้ตั้งใจทำงานให้ดีที่สุด และร้อยละ 5.0 ขอให้ยุบสภา หรือลาออก ตามลำดับ
ที่น่าเป็นห่วงคือ ประชาชนส่วนใหญ่หรือร้อยละ 75.3 กลับไม่ทราบวันผู้สูงอายุ ที่ทราบและระบุได้ถูกต้องว่าตรงกับวันที่ 13 เมษายนของ
ทุกปีมีเพียงร้อยละ 24.7 เท่านั้น
ผลสำรวจยังพบด้วยว่า ประชาชนส่วนใหญ่หรือร้อยละ 77.2 ยังไม่เคยไปทำบุญให้กับผู้สูงอายุที่สถานสงเคราะห์หรือบ้านพักคนชราในขณะที่
มีเพียงร้อยละ 22.8 เท่านั้นที่เคยไป
อย่างไรก็ตาม เมื่อถามถึงสิทธิประโยชน์ที่ผู้สูงอายุคนไทยควรได้รับจากรัฐ พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 65.6 ระบุเป็นเงินเดือน
สวัสดิการประจำเดือน ร้อยละ 48.4 ระบุค่ารักษาพยาบาลฟรี ร้อยละ 23.1ระบุได้รับส่วนลดค่าโดยสารในการเดินทาง และร้อยละ 4.5 ระบุอื่นๆ
เช่น ยกเว้นภาษีเงินได้ มีบ้านพักคนชราและการส่งเสริมอาชีพในวัยชราภาพ
“ที่น่าสนใจคือ ประชาชนส่วนใหญ่หรือร้อยละ 86.6 มองว่าผู้สูงอายุไม่เป็นภาระของสังคมไทย ในขณะที่ร้อยละ 13.4 มองว่าเป็นภาระ
ของสังคม และประชาชนส่วนใหญ่เกือบทั้งหมดหรือร้อยละ 97.5 เห็นว่าควรดูแลผู้สูงอายุให้ดีขึ้นในขณะที่เพียงร้อยละ 2.5 เห็นว่าไม่ควร ยิ่งไปกว่า
นั้น ประชาชนส่วนใหญ่หรือร้อยละ 74.8 ยินดีจ่ายภาษีเพิ่มขึ้นเพื่อทำให้สวัสดิการของผู้สูงอายุดีขึ้น ในขณะที่ร้อยละ 25.2 ไม่ยินดีจ่าย ซึ่งแตกต่างไป
จากผลสำรวจในต่างประเทศที่เคยพบว่า คนส่วนใหญ่เมื่อต้องจ่ายภาษีเพิ่มมักจะไม่ยินดีจ่าย แต่สำหรับสังคมไทยที่สำรวจพบว่า คนไทยส่วนใหญ่ยินดีจ่าย
ภาษีเพิ่มเพื่อผู้สูงอายุจึงนับว่าเป็นสัญญาณที่ดีและเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของสังคมไทย” หัวหน้าศูนย์วิจัยความสุขชุมชน กล่าว
และเมื่อสอบถามถึงความตั้งใจจะเลิกทำงานเมื่ออายุเท่าใด พบว่า เกินกว่าครึ่งหรือร้อยละ 54.5 ระบุจะเลิกทำงานอายุเฉลี่ยที่ 58 ปี
ในขณะที่ร้อยละ 45.5 จะไม่เลิกทำงาน แต่เมื่อสอบถามสิ่งที่ตั้งใจจะทำในช่วงบั้นปลายชีวิตหลังเลิกทำงานแล้ว พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 71.4 ระบุ
อยู่บ้าน อยู่กับครอบครัว ดูแลลูกหลาน ร้อยละ 46.7 จะทำบุญไหว้พระตามวัดต่างๆ ร้อยละ 40.1 จะใช้ชีวิตท่ามกลางธรรมชาติ ร้อยละ 36.5 จะ
ท่องเที่ยว และร้อยละ 24.5 จะเป็นอาสาสมัครทำประโยชน์ให้ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ประชาชนตั้งใจจะทำเป็นอันดับแรก ถ้าวันนี้เป็นวันผู้สูงอายุ พบว่า อันดับแรก หรือร้อยละ 28.9 ระบุ ทำบุญ อันดับ
สองหรือร้อยละ 27.7 ระบุดูแลลูกหลาน อยู่กับครอบครัว มีความสุขกับครอบครัว อันดับสามร้อยละ 12.9 ระบุพักผ่อนอยู่กับบ้าน ร้อยละ 9.8 ดูแล
สุขภาพตนเอง ร้อยละ 5.4 ท่องเที่ยวตามที่ต่างๆ ตามลำดับ
ที่น่าสนใจคือ เมื่อถามว่า ถ้าต้องเสียชีวิตไปด้วยโรคชรา อยากเกิดเป็นคนไทยอีกหรือไม่ พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 86.3 อยากเกิด
เป็นคนไทยอีก ในขณะที่ร้อยละ 13.7 ไม่อยากเกิดเป็นคนไทยอีก โดยผลสำรวจพบด้วยว่า อายุเฉลี่ยที่อยากอยู่ในชีวิตมนุษย์ของคนไทยเท่ากับ 72 ปี
6 เดือน และประชาชนผู้สูงอายุที่ทำคุณประโยชน์ให้กับประเทศชาติในทรรศนะของประชาชนที่ถูกศึกษาครั้งนี้ พบว่า อันดับแรกหรือร้อยละ 44.4 ระบุ
พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ อันดับสองหรือร้อยละ 28.5 ระบุ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร อันดับสามหรือร้อยละ 23.0 ระบุนายชวน หลีกภัย อันดับสี่
หรือร้อยละ 12.7 นายอานันท์ ปันยารชุน และร้อยละ 10.4 ระบุนายสมัคร สุนทรเวช ตามลำดับ
รายละเอียดงานวิจัย
วัตถุประสงค์และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการวิจัย
1. เพื่อสำรวจสิ่งที่ประชาชนอยากได้ในวันสงกรานต์
2. เพื่อสำรวจการรับรู้ของประชาชนและความคิดเห็นเกี่ยวกับวันผู้สูงอายู
3. เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาในเรื่องนี้อย่างลึกซึ้งต่อไป
ระเบียบวิธีการทำโพลล์
โครงการสำรวจภาคสนามของศูนย์วิจัยความสุขชุมชน มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เรื่อง เสียงประชาชนในวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ กรณี
ศึกษาประชาชนที่มีภูมิลำเนาใน 18 จังหวัดของประเทศ ซึ่งมีระยะเวลาการดำเนินโครงการระหว่างวันที่ 25 มีนาคม — 10 เมษายน พ.ศ.2551
ประเภทของการสำรวจวิจัยครั้งนี้ คือ การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) กลุ่มประชากรเป้าหมาย คือ ประชาชนภูมิลำเนาใน กรุงเทพมหา
นคร สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี ลพบุรี จันทบุรี สุพรรณบุรี นครราชสีมา สุรินทร์ อุบลราชธานี ขอนแก่น สกลนคร
เชียงราย ลำปาง อุตรดิตถ์ นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี ชุมพร
เทคนิควิธีการสุ่มตัวอย่าง ได้แก่ การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มเชิงชั้นภูมิหลายขั้น และกำหนดลักษณะของตัวอย่างให้สอดคล้องกับประชากร
เป้าหมายจากการทำสำมะโน ขนาดตัวอย่างที่ทำการสำรวจ จำนวน 3,088 ตัวอย่าง ช่วงความเชื่อมั่นอยู่ในระดับร้อยละ 95 ขณะที่ขอบเขตความ
คลาดเคลื่อนจากการกำหนดขนาดตัวอย่างอยู่ที่ +/- ร้อยละ 5 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
คือ การสัมภาษณ์ หลังจากนั้นคณะผู้วิจัยได้ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของแบบสอบถามทุกชุดก่อนนำเข้าวิเคราะห์ข้อมูล และงบประมาณทั้งสิ้นเป็น
ของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้มีคณะผู้วิจัยประจำโครงการจำนวนทั้งสิ้น 116 คน
ลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง
จากการพิจารณาลักษณะทั่วไปของตัวอย่างประชาชนทั่วไปพบว่า ตัวอย่างร้อยละ 57.2 ระบุเป็นหญิง ในขณะที่ร้อยละ 42.8 ระบุ
เป็นชาย ตัวอย่างร้อยละ 13.7 ระบุอายุระหว่าง 18-19 ปี ร้อยละ 34.8 ระบุอายุระหว่าง 20—29 ปี ร้อยละ 25.3 ระบุอายุระหว่าง 30—39 ปี
ร้อยละ 15.7 ระบุอายุระหว่าง 40—49 ปี และร้อยละ 10.5 ระบุอายุ 50 ปีขึ้นไป
ตัวอย่างร้อยละ 70.7 ระบุสำเร็จการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรี ร้อยละ 26.3 ระบุระดับปริญญาตรี และร้อยละ 3.0 ระบุสูงกว่า
ระดับปริญญาตรี เมื่อพิจารณาถึงการประกอบอาชีพของตัวอย่างพบว่า ร้อยละ 7.5 ระบุเป็นข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 21.4
ระบุเป็นลูกจ้าง/พนักงานบริษัทเอกชน ร้อยละ 23.6 ระบุมีอาชีพค้าขาย/กิจการย่อย ร้อยละ 9.5 ระบุเป็นผู้ประกอบการ/เจ้าของธุรกิจ ร้อยละ
17.6 ระบุเป็นนักเรียน/นักศึกษา ร้อยละ 9.7 ระบุรับจ้างทั่วไป ร้อยละ 3.0 ระบุยังไม่ได้ทำงาน ในขณะที่ร้อยละ 4.7 ระบุเป็นแม่บ้าน/พ่อบ้าน/
เกษียณอายุ ในขณะที่ร้อยละ 3.0 ไม่ระบุอาชีพ
ตัวอย่างร้อยละ 18.1 ระบุมีรายได้ไม่เกิน 5,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 47.0 ระบุมีรายได้ 5,001 — 10,000 บาท ร้อยละ
14.7 ระบุมีรายได้ 10,001 — 15,000 บาท ร้อยละ 7.7 ระบุมีรายได้ 15,001 — 20,000 บาท ร้อยละ 12.5 ระบุมีรายได้มากกว่า
20,000 บาท ตัวอย่างร้อยละ 44.1 ระบุมีภูมิลำเนาอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในขณะที่ร้อยละ 55.9 ระบุมีภูมิลำเนาอยู่ต่างจังหวัด
โปรดพิจารณาประเด็นสำคัญที่ค้นพบในตารางต่อไปนี้
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุสิ่งที่อยากให้คนไทยบอกต่อกัน ในโอกาสวันสงกรานต์(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ สิ่งที่อยากให้คนไทยบอกต่อกัน ค่าร้อยละ
1 ขอให้คนไทยรักและสามัคคีกัน 72.2
2 รู้จัก ขอบคุณ-ขอโทษ/รู้จักให้อภัย 13.8
3 ให้ช่วยกันทำงานเพื่อประเทศชาติ/ให้พัฒนาประเทศชาติดีกว่า 13.0
4 ให้เคารพสิทธิซึ่งกันละกัน 9.7
5 อย่าเห็นแก่ตัว/ให้คิดถึงประโยชน์ของประเทศชาติเป็นหลัก 6.6
6 อื่นๆ อาทิ ให้มีความเมตตา/อย่าทรยศชาติ/อย่าทะเลาะกัน 8.3
ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุพรที่อยากได้รับมากที่สุดในวันสงกรานต์นี้
ลำดับที่ พรที่อยากได้รับมากที่สุดในวันสงกรานต์นี้ ค่าร้อยละ
1 มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง 33.0
2 ร่ำรวยมีเงินทอง/มีโชคลาภ 24.8
3 มีชีวิตคู่/ครอบครัวที่อบอุ่น 11.6
4 มีความเจริญรุ่งเรืองในหน้าที่การงาน 9.9
5 ประสบความสำเร็จในการศึกษาเล่าเรียน 7.4
6 ให้คนที่เรารักมีความสุข 7.3
7 อื่นๆ อาทิ มีคนเคารพรัก/มีคนนับหน้าถือตา /มีเพื่อน 6.0
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุ ของขวัญในวันสงกรานต์ที่อยากได้จากนายกรัฐมนตรี (นายสมัคร สุนทรเวช)
ลำดับที่ ของขวัญในวันสงกรานต์ที่อยากได้จากนายกรัฐมนตรี ค่าร้อยละ
(นายสมัคร สุนทรเวช)
1 แก้ไขปัญหาของประเทศ อาทิ ปัญหาเศรษฐกิจ/น้ำมันแพง/สินค้าราคาแพง 44.0
2 ทำประเทศชาติให้สงบสุข 12.7
3 ใจเย็น/สุขุม/รับฟังคนอื่นให้มากขึ้น 10.9
4 ตั้งใจทำงานให้ดีที่สุด 7.0
5 ยุบสภา/ลาออก 5.0
6 อื่นๆ อาทิ คิดก่อนพูด/พูดแต่ความจริง/มีความยุติธรรม/ซื่อสัตย์ไม่โกงกิน 11.6
7 ไม่อยากได้อะไร 8.8
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 4 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุการรับทราบต่อวันผู้สูงอายุ
ลำดับที่ การรับทราบวันผู้สูงอายุ ค่าร้อยละ
1 ทราบว่าตรงกับวันที่ 13 เมษายน ของทุกปี 24.7
2 ไม่ทราบ 75.3
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 5 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุประสบการณ์ในการเดินทางไปทำบุญให้กับผู้สูงอายุที่สถานสงเคราะห์/
บ้านพักคนชรา
ลำดับที่ ประสบการณ์ในการเดินทางไปทำบุญให้กับ
ผู้สูงอายุที่สถานสงเคราะห์/บ้านพักคนชรา ค่าร้อยละ
1 เคยไป 22.8
2 ไม่เคยไป 77.2
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 6 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุสิทธิประโยชน์ที่ผู้สูงอายุคนไทยควรได้รับจากรัฐ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ สิทธิประโยชน์ที่ผู้สูงอายุคนไทยควรได้รับจากรัฐ ค่าร้อยละ
1 ได้รับเงินเดือน/สวัสดิการประจำเดือน 65.6
2 ค่ารักษาพยาบาลฟรี/ไม่ต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาล/ประกันสุขภาพ 48.4
3 ได้รับส่วนลดค่าโดยสารในการเดินทาง 23.1
4 อื่นๆ อาทิ ยกเว้นภาษีเงินได้/มีบ้านพักคนชรา/การส่งเสริมอาชีพ 4.5
ตารางที่ 7 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นกรณีผู้สูงอายุเป็นภาระของสังคม (ไทย)
ลำดับที่ ความคิดเห็นกรณีผู้สูงอายุเป็นภาระของสังคม (ไทย) ค่าร้อยละ
1 เป็นภาระของสังคมไทย 13.4
2 ไม่เป็นภาระ 86.6
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 8 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นกรณีการเพิ่มสวัสดิการดูแลผู้สูงอายุให้มากขึ้นกว่าปัจจุบัน
ลำดับที่ ความคิดเห็นกรณีการเพิ่มสวัสดิการดูแลผู้สูงอายุให้มากขึ้นกว่าปัจจุบัน ค่าร้อยละ
1 ควรดูแลให้ดีขึ้น 97.5
2 ไม่ควร 2.5
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 9 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุการยินดีจ่ายภาษีเพิ่มเพื่อทำให้สวัสดิการของผู้สูงอายุดีขึ้น
ลำดับที่ การยินดีจ่ายภาษีเพิ่มเพื่อทำให้สวัสดิการของผู้สูงอายุดีขึ้น ค่าร้อยละ
1 ยินดีจ่ายภาษีเพิ่มขึ้น 74.8
2 ไม่ยินดีจ่าย 25.2
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 10 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความตั้งใจจะเลิกทำงานเมื่อมีอายุมากขึ้น
ลำดับที่ ความตั้งใจจะเลิกทำงานเมื่อมีอายุมากขึ้น ค่าร้อยละ
1 จะเลิกทำงาน โดยเฉลี่ยตั้งใจจะเลิกทำงาน/เกษียณอายุการทำงานที่อายุ 58 ปี 54.5
2 ไม่ตั้งใจจะเลิกทำงาน 45.5
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 11 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุสิ่งที่ตั้งใจจะทำในช่วงบั้นปลายชีวิตหลังจากเลิกทำงานแล้ว
(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ สิ่งที่ตั้งใจจะทำในช่วงบั้นปลายชีวิตหลังจากเลิกทำงานแล้ว ค่าร้อยละ
1 อยู่บ้าน/อยู่กับครอบครัว/ดูแลลูกหลาน 71.4
2 ทำบุญไหว้พระตามที่ต่างๆ 46.7
3 ใช้ชีวิตท่ามกลางธรรมชาติในต่างจังหวัด 40.1
4 ท่องเที่ยวตามสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ 36.5
5 เป็นอาสาสมัครทำประโยชน์ให้ชุมชน สังคม และประเทศชาติ 24.5
ตารางที่ 12 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุสิ่งที่ตั้งใจจะทำเป็นอันดับแรกหากวันนี้ตนเองเป็นผู้สูงอายุ
ลำดับที่ สิ่งที่ตั้งใจจะทำเป็นอันดับแรกหากวันนี้เป็นผู้สูงอายุ ค่าร้อยละ
1 ทำบุญ 28.9
2 ดูแลลูกหลาน/อยู่กับครอบครัว/มีความสุขกับครอบครัว 27.7
3 พักผ่อนอยู่กับบ้าน/ไม่ทำอะไร 12.9
4 ดูแลสุขภาพตัวเอง 9.8
5 ท่องเที่ยว 5.4
6 อื่นๆ อาทิ ดูแลตัวเองไม่ให้เป็นปัญหาสังคม/ทำงานต่อไปเรื่อยๆ/พบปะสังสรรค์กับเพื่อนฝูง/ใช้ชีวิตอย่างพอเพียง 15.3
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 13 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความต้องการเกิดเป็นไทยอีก ถ้าต้องเสียชีวิตไปด้วยโรคชรา
ลำดับที่ ความต้องการเกิดเป็นไทยอีก ถ้าต้องเสียชีวิตไปด้วยโรคชรา ค่าร้อยละ
1 อยากเกิดเป็นคนไทยอีก 86.3
2 ไม่อยาก 13.7
รวมทั้งสิ้น 100.0
อายุเฉลี่ยที่อยากอยู่ในชีวิตมุนษย์เท่ากับ 72 ปี 6 เดือน
ตารางที่ 14 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุ ประชาชนผู้สูงอายุที่เคยสร้างคุณประโยชน์ให้กับประเทศชาติ
(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ ประชาชนผู้สูงอายุที่เคยสร้างคุณประโยชน์ให้กับประเทศชาติ ค่าร้อยละ
1 พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ 44.4
2 พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร 28.5
3 นายชวน หลีกภัย 23.0
4 นายอานันท์ ปันยารชุน 12.7
5 นายสมัคร สุนทรเวช 10.4
6 อื่นๆอาทิ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช/พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ/นายสัญญา
ธรรมศักดิ์/นายบัญญัติ บรรทัดฐาน/นายบรรหาร ศิลปะอาชา 14.0
--เอแบคโพลล์--
-พห-
ชัญ (ABAC Academic Network for Community Happiness Observation and Research, ANCHOR) เปิดเผยผลวิจัยเรื่อง เสียง
ประชาชนในวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ กรณีศึกษาประชาชนที่มีภูมิลำเนาใน 18 จังหวัดของประเทศ จำนวนทั้งสิ้น 3,088 ตัวอย่าง ดำเนินโครงการ
ระหว่างวันที่ 25 มีนาคม — 10 เมษายน ที่ผ่านมา
ดร.นพดล กล่าวว่า เมื่อถามถึงสิ่งที่คนไทยอยากบอกต่อกัน ในโอกาสวันสงกรานต์ หรือวันขึ้นปีใหม่ของคนไทย พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อย
ละ 72.2 ขอให้คนไทยรักและสามัคคีกัน รองลงมาร้อยละ 13.8 อยากให้คนไทยรู้จักขอบคุณ ขอโทษ และรู้จักให้อภัย ร้อยละ13.0 ให้ช่วยกันทำงาน
เพื่อประเทศชาติ ร้อยละ 9.7 ให้เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน ร้อยละ 6.6 อย่าเห็นแก่ตัว ให้คิดถึงประโยชน์ของประเทศชาติเป็นหลัก และร้อยละ 8.3
ระบุอื่นๆ เช่น ให้มีความเมตตา อย่าทรยศชาติ อย่าทะเลาะกัน เป็นต้น
หัวหน้าศูนย์วิจัยความสุขชุมชน กล่าวว่า ที่น่าสนใจคือ พรที่ประชาชนอยากได้มากที่สุด หลายคนอาจคิดถึงเรื่องความร่ำรวย แต่ผลสำรวจ
พบว่า สิ่งที่ประชาชนอยากได้มากที่สุดคือ ร้อยละ 33.0 ระบุสุขภาพที่ดี แข็งแรง อันดับสองได้แก่ ร้อยละ 24.8 ระบุความร่ำรวยมีเงินทอง โชคลาภ
อันดับที่สามได้แก่ ร้อยละ 11.6 มีชีวิตคู่ ครอบครัวที่อบอุ่น ร้อยละ 9.9 ระบุมีความเจริญรุ่งเรืองในหน้าที่การงาน ร้อยละ 7.4 ระบุประสบความ
สำเร็จในการศึกษาเล่าเรียน ร้อยละ 7.3 ระบุให้คนที่เรารักมีความสุข เป็นต้น
ส่วนสิ่งที่อยากได้เป็นของขวัญในโอกาสเทศกาลสงกรานต์ปีนี้จากนายกรัฐมนตรี (นายสมัคร สุนทรเวช) ผลสำรวจพบว่า อันดับแรกหรือ
ร้อยละ 44.0 เป็นการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ อันดับสองหรือร้อยละ 12.7 ทำให้ประเทศชาติสงบสุข อันดับสามได้แก่ ร้อยละ 10.9 ขอให้ใจเย็น สุขุม
รับฟังคนอื่นให้มากขึ้น ร้อยละ 7.0 ขอให้ตั้งใจทำงานให้ดีที่สุด และร้อยละ 5.0 ขอให้ยุบสภา หรือลาออก ตามลำดับ
ที่น่าเป็นห่วงคือ ประชาชนส่วนใหญ่หรือร้อยละ 75.3 กลับไม่ทราบวันผู้สูงอายุ ที่ทราบและระบุได้ถูกต้องว่าตรงกับวันที่ 13 เมษายนของ
ทุกปีมีเพียงร้อยละ 24.7 เท่านั้น
ผลสำรวจยังพบด้วยว่า ประชาชนส่วนใหญ่หรือร้อยละ 77.2 ยังไม่เคยไปทำบุญให้กับผู้สูงอายุที่สถานสงเคราะห์หรือบ้านพักคนชราในขณะที่
มีเพียงร้อยละ 22.8 เท่านั้นที่เคยไป
อย่างไรก็ตาม เมื่อถามถึงสิทธิประโยชน์ที่ผู้สูงอายุคนไทยควรได้รับจากรัฐ พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 65.6 ระบุเป็นเงินเดือน
สวัสดิการประจำเดือน ร้อยละ 48.4 ระบุค่ารักษาพยาบาลฟรี ร้อยละ 23.1ระบุได้รับส่วนลดค่าโดยสารในการเดินทาง และร้อยละ 4.5 ระบุอื่นๆ
เช่น ยกเว้นภาษีเงินได้ มีบ้านพักคนชราและการส่งเสริมอาชีพในวัยชราภาพ
“ที่น่าสนใจคือ ประชาชนส่วนใหญ่หรือร้อยละ 86.6 มองว่าผู้สูงอายุไม่เป็นภาระของสังคมไทย ในขณะที่ร้อยละ 13.4 มองว่าเป็นภาระ
ของสังคม และประชาชนส่วนใหญ่เกือบทั้งหมดหรือร้อยละ 97.5 เห็นว่าควรดูแลผู้สูงอายุให้ดีขึ้นในขณะที่เพียงร้อยละ 2.5 เห็นว่าไม่ควร ยิ่งไปกว่า
นั้น ประชาชนส่วนใหญ่หรือร้อยละ 74.8 ยินดีจ่ายภาษีเพิ่มขึ้นเพื่อทำให้สวัสดิการของผู้สูงอายุดีขึ้น ในขณะที่ร้อยละ 25.2 ไม่ยินดีจ่าย ซึ่งแตกต่างไป
จากผลสำรวจในต่างประเทศที่เคยพบว่า คนส่วนใหญ่เมื่อต้องจ่ายภาษีเพิ่มมักจะไม่ยินดีจ่าย แต่สำหรับสังคมไทยที่สำรวจพบว่า คนไทยส่วนใหญ่ยินดีจ่าย
ภาษีเพิ่มเพื่อผู้สูงอายุจึงนับว่าเป็นสัญญาณที่ดีและเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของสังคมไทย” หัวหน้าศูนย์วิจัยความสุขชุมชน กล่าว
และเมื่อสอบถามถึงความตั้งใจจะเลิกทำงานเมื่ออายุเท่าใด พบว่า เกินกว่าครึ่งหรือร้อยละ 54.5 ระบุจะเลิกทำงานอายุเฉลี่ยที่ 58 ปี
ในขณะที่ร้อยละ 45.5 จะไม่เลิกทำงาน แต่เมื่อสอบถามสิ่งที่ตั้งใจจะทำในช่วงบั้นปลายชีวิตหลังเลิกทำงานแล้ว พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 71.4 ระบุ
อยู่บ้าน อยู่กับครอบครัว ดูแลลูกหลาน ร้อยละ 46.7 จะทำบุญไหว้พระตามวัดต่างๆ ร้อยละ 40.1 จะใช้ชีวิตท่ามกลางธรรมชาติ ร้อยละ 36.5 จะ
ท่องเที่ยว และร้อยละ 24.5 จะเป็นอาสาสมัครทำประโยชน์ให้ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ประชาชนตั้งใจจะทำเป็นอันดับแรก ถ้าวันนี้เป็นวันผู้สูงอายุ พบว่า อันดับแรก หรือร้อยละ 28.9 ระบุ ทำบุญ อันดับ
สองหรือร้อยละ 27.7 ระบุดูแลลูกหลาน อยู่กับครอบครัว มีความสุขกับครอบครัว อันดับสามร้อยละ 12.9 ระบุพักผ่อนอยู่กับบ้าน ร้อยละ 9.8 ดูแล
สุขภาพตนเอง ร้อยละ 5.4 ท่องเที่ยวตามที่ต่างๆ ตามลำดับ
ที่น่าสนใจคือ เมื่อถามว่า ถ้าต้องเสียชีวิตไปด้วยโรคชรา อยากเกิดเป็นคนไทยอีกหรือไม่ พบว่า ส่วนใหญ่หรือร้อยละ 86.3 อยากเกิด
เป็นคนไทยอีก ในขณะที่ร้อยละ 13.7 ไม่อยากเกิดเป็นคนไทยอีก โดยผลสำรวจพบด้วยว่า อายุเฉลี่ยที่อยากอยู่ในชีวิตมนุษย์ของคนไทยเท่ากับ 72 ปี
6 เดือน และประชาชนผู้สูงอายุที่ทำคุณประโยชน์ให้กับประเทศชาติในทรรศนะของประชาชนที่ถูกศึกษาครั้งนี้ พบว่า อันดับแรกหรือร้อยละ 44.4 ระบุ
พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ อันดับสองหรือร้อยละ 28.5 ระบุ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร อันดับสามหรือร้อยละ 23.0 ระบุนายชวน หลีกภัย อันดับสี่
หรือร้อยละ 12.7 นายอานันท์ ปันยารชุน และร้อยละ 10.4 ระบุนายสมัคร สุนทรเวช ตามลำดับ
รายละเอียดงานวิจัย
วัตถุประสงค์และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการวิจัย
1. เพื่อสำรวจสิ่งที่ประชาชนอยากได้ในวันสงกรานต์
2. เพื่อสำรวจการรับรู้ของประชาชนและความคิดเห็นเกี่ยวกับวันผู้สูงอายู
3. เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาในเรื่องนี้อย่างลึกซึ้งต่อไป
ระเบียบวิธีการทำโพลล์
โครงการสำรวจภาคสนามของศูนย์วิจัยความสุขชุมชน มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เรื่อง เสียงประชาชนในวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ กรณี
ศึกษาประชาชนที่มีภูมิลำเนาใน 18 จังหวัดของประเทศ ซึ่งมีระยะเวลาการดำเนินโครงการระหว่างวันที่ 25 มีนาคม — 10 เมษายน พ.ศ.2551
ประเภทของการสำรวจวิจัยครั้งนี้ คือ การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) กลุ่มประชากรเป้าหมาย คือ ประชาชนภูมิลำเนาใน กรุงเทพมหา
นคร สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี ลพบุรี จันทบุรี สุพรรณบุรี นครราชสีมา สุรินทร์ อุบลราชธานี ขอนแก่น สกลนคร
เชียงราย ลำปาง อุตรดิตถ์ นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี ชุมพร
เทคนิควิธีการสุ่มตัวอย่าง ได้แก่ การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มเชิงชั้นภูมิหลายขั้น และกำหนดลักษณะของตัวอย่างให้สอดคล้องกับประชากร
เป้าหมายจากการทำสำมะโน ขนาดตัวอย่างที่ทำการสำรวจ จำนวน 3,088 ตัวอย่าง ช่วงความเชื่อมั่นอยู่ในระดับร้อยละ 95 ขณะที่ขอบเขตความ
คลาดเคลื่อนจากการกำหนดขนาดตัวอย่างอยู่ที่ +/- ร้อยละ 5 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
คือ การสัมภาษณ์ หลังจากนั้นคณะผู้วิจัยได้ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของแบบสอบถามทุกชุดก่อนนำเข้าวิเคราะห์ข้อมูล และงบประมาณทั้งสิ้นเป็น
ของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้มีคณะผู้วิจัยประจำโครงการจำนวนทั้งสิ้น 116 คน
ลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง
จากการพิจารณาลักษณะทั่วไปของตัวอย่างประชาชนทั่วไปพบว่า ตัวอย่างร้อยละ 57.2 ระบุเป็นหญิง ในขณะที่ร้อยละ 42.8 ระบุ
เป็นชาย ตัวอย่างร้อยละ 13.7 ระบุอายุระหว่าง 18-19 ปี ร้อยละ 34.8 ระบุอายุระหว่าง 20—29 ปี ร้อยละ 25.3 ระบุอายุระหว่าง 30—39 ปี
ร้อยละ 15.7 ระบุอายุระหว่าง 40—49 ปี และร้อยละ 10.5 ระบุอายุ 50 ปีขึ้นไป
ตัวอย่างร้อยละ 70.7 ระบุสำเร็จการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรี ร้อยละ 26.3 ระบุระดับปริญญาตรี และร้อยละ 3.0 ระบุสูงกว่า
ระดับปริญญาตรี เมื่อพิจารณาถึงการประกอบอาชีพของตัวอย่างพบว่า ร้อยละ 7.5 ระบุเป็นข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 21.4
ระบุเป็นลูกจ้าง/พนักงานบริษัทเอกชน ร้อยละ 23.6 ระบุมีอาชีพค้าขาย/กิจการย่อย ร้อยละ 9.5 ระบุเป็นผู้ประกอบการ/เจ้าของธุรกิจ ร้อยละ
17.6 ระบุเป็นนักเรียน/นักศึกษา ร้อยละ 9.7 ระบุรับจ้างทั่วไป ร้อยละ 3.0 ระบุยังไม่ได้ทำงาน ในขณะที่ร้อยละ 4.7 ระบุเป็นแม่บ้าน/พ่อบ้าน/
เกษียณอายุ ในขณะที่ร้อยละ 3.0 ไม่ระบุอาชีพ
ตัวอย่างร้อยละ 18.1 ระบุมีรายได้ไม่เกิน 5,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 47.0 ระบุมีรายได้ 5,001 — 10,000 บาท ร้อยละ
14.7 ระบุมีรายได้ 10,001 — 15,000 บาท ร้อยละ 7.7 ระบุมีรายได้ 15,001 — 20,000 บาท ร้อยละ 12.5 ระบุมีรายได้มากกว่า
20,000 บาท ตัวอย่างร้อยละ 44.1 ระบุมีภูมิลำเนาอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ในขณะที่ร้อยละ 55.9 ระบุมีภูมิลำเนาอยู่ต่างจังหวัด
โปรดพิจารณาประเด็นสำคัญที่ค้นพบในตารางต่อไปนี้
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุสิ่งที่อยากให้คนไทยบอกต่อกัน ในโอกาสวันสงกรานต์(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ สิ่งที่อยากให้คนไทยบอกต่อกัน ค่าร้อยละ
1 ขอให้คนไทยรักและสามัคคีกัน 72.2
2 รู้จัก ขอบคุณ-ขอโทษ/รู้จักให้อภัย 13.8
3 ให้ช่วยกันทำงานเพื่อประเทศชาติ/ให้พัฒนาประเทศชาติดีกว่า 13.0
4 ให้เคารพสิทธิซึ่งกันละกัน 9.7
5 อย่าเห็นแก่ตัว/ให้คิดถึงประโยชน์ของประเทศชาติเป็นหลัก 6.6
6 อื่นๆ อาทิ ให้มีความเมตตา/อย่าทรยศชาติ/อย่าทะเลาะกัน 8.3
ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุพรที่อยากได้รับมากที่สุดในวันสงกรานต์นี้
ลำดับที่ พรที่อยากได้รับมากที่สุดในวันสงกรานต์นี้ ค่าร้อยละ
1 มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง 33.0
2 ร่ำรวยมีเงินทอง/มีโชคลาภ 24.8
3 มีชีวิตคู่/ครอบครัวที่อบอุ่น 11.6
4 มีความเจริญรุ่งเรืองในหน้าที่การงาน 9.9
5 ประสบความสำเร็จในการศึกษาเล่าเรียน 7.4
6 ให้คนที่เรารักมีความสุข 7.3
7 อื่นๆ อาทิ มีคนเคารพรัก/มีคนนับหน้าถือตา /มีเพื่อน 6.0
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุ ของขวัญในวันสงกรานต์ที่อยากได้จากนายกรัฐมนตรี (นายสมัคร สุนทรเวช)
ลำดับที่ ของขวัญในวันสงกรานต์ที่อยากได้จากนายกรัฐมนตรี ค่าร้อยละ
(นายสมัคร สุนทรเวช)
1 แก้ไขปัญหาของประเทศ อาทิ ปัญหาเศรษฐกิจ/น้ำมันแพง/สินค้าราคาแพง 44.0
2 ทำประเทศชาติให้สงบสุข 12.7
3 ใจเย็น/สุขุม/รับฟังคนอื่นให้มากขึ้น 10.9
4 ตั้งใจทำงานให้ดีที่สุด 7.0
5 ยุบสภา/ลาออก 5.0
6 อื่นๆ อาทิ คิดก่อนพูด/พูดแต่ความจริง/มีความยุติธรรม/ซื่อสัตย์ไม่โกงกิน 11.6
7 ไม่อยากได้อะไร 8.8
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 4 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุการรับทราบต่อวันผู้สูงอายุ
ลำดับที่ การรับทราบวันผู้สูงอายุ ค่าร้อยละ
1 ทราบว่าตรงกับวันที่ 13 เมษายน ของทุกปี 24.7
2 ไม่ทราบ 75.3
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 5 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุประสบการณ์ในการเดินทางไปทำบุญให้กับผู้สูงอายุที่สถานสงเคราะห์/
บ้านพักคนชรา
ลำดับที่ ประสบการณ์ในการเดินทางไปทำบุญให้กับ
ผู้สูงอายุที่สถานสงเคราะห์/บ้านพักคนชรา ค่าร้อยละ
1 เคยไป 22.8
2 ไม่เคยไป 77.2
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 6 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุสิทธิประโยชน์ที่ผู้สูงอายุคนไทยควรได้รับจากรัฐ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ สิทธิประโยชน์ที่ผู้สูงอายุคนไทยควรได้รับจากรัฐ ค่าร้อยละ
1 ได้รับเงินเดือน/สวัสดิการประจำเดือน 65.6
2 ค่ารักษาพยาบาลฟรี/ไม่ต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาล/ประกันสุขภาพ 48.4
3 ได้รับส่วนลดค่าโดยสารในการเดินทาง 23.1
4 อื่นๆ อาทิ ยกเว้นภาษีเงินได้/มีบ้านพักคนชรา/การส่งเสริมอาชีพ 4.5
ตารางที่ 7 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นกรณีผู้สูงอายุเป็นภาระของสังคม (ไทย)
ลำดับที่ ความคิดเห็นกรณีผู้สูงอายุเป็นภาระของสังคม (ไทย) ค่าร้อยละ
1 เป็นภาระของสังคมไทย 13.4
2 ไม่เป็นภาระ 86.6
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 8 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นกรณีการเพิ่มสวัสดิการดูแลผู้สูงอายุให้มากขึ้นกว่าปัจจุบัน
ลำดับที่ ความคิดเห็นกรณีการเพิ่มสวัสดิการดูแลผู้สูงอายุให้มากขึ้นกว่าปัจจุบัน ค่าร้อยละ
1 ควรดูแลให้ดีขึ้น 97.5
2 ไม่ควร 2.5
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 9 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุการยินดีจ่ายภาษีเพิ่มเพื่อทำให้สวัสดิการของผู้สูงอายุดีขึ้น
ลำดับที่ การยินดีจ่ายภาษีเพิ่มเพื่อทำให้สวัสดิการของผู้สูงอายุดีขึ้น ค่าร้อยละ
1 ยินดีจ่ายภาษีเพิ่มขึ้น 74.8
2 ไม่ยินดีจ่าย 25.2
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 10 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความตั้งใจจะเลิกทำงานเมื่อมีอายุมากขึ้น
ลำดับที่ ความตั้งใจจะเลิกทำงานเมื่อมีอายุมากขึ้น ค่าร้อยละ
1 จะเลิกทำงาน โดยเฉลี่ยตั้งใจจะเลิกทำงาน/เกษียณอายุการทำงานที่อายุ 58 ปี 54.5
2 ไม่ตั้งใจจะเลิกทำงาน 45.5
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 11 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุสิ่งที่ตั้งใจจะทำในช่วงบั้นปลายชีวิตหลังจากเลิกทำงานแล้ว
(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ สิ่งที่ตั้งใจจะทำในช่วงบั้นปลายชีวิตหลังจากเลิกทำงานแล้ว ค่าร้อยละ
1 อยู่บ้าน/อยู่กับครอบครัว/ดูแลลูกหลาน 71.4
2 ทำบุญไหว้พระตามที่ต่างๆ 46.7
3 ใช้ชีวิตท่ามกลางธรรมชาติในต่างจังหวัด 40.1
4 ท่องเที่ยวตามสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ 36.5
5 เป็นอาสาสมัครทำประโยชน์ให้ชุมชน สังคม และประเทศชาติ 24.5
ตารางที่ 12 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุสิ่งที่ตั้งใจจะทำเป็นอันดับแรกหากวันนี้ตนเองเป็นผู้สูงอายุ
ลำดับที่ สิ่งที่ตั้งใจจะทำเป็นอันดับแรกหากวันนี้เป็นผู้สูงอายุ ค่าร้อยละ
1 ทำบุญ 28.9
2 ดูแลลูกหลาน/อยู่กับครอบครัว/มีความสุขกับครอบครัว 27.7
3 พักผ่อนอยู่กับบ้าน/ไม่ทำอะไร 12.9
4 ดูแลสุขภาพตัวเอง 9.8
5 ท่องเที่ยว 5.4
6 อื่นๆ อาทิ ดูแลตัวเองไม่ให้เป็นปัญหาสังคม/ทำงานต่อไปเรื่อยๆ/พบปะสังสรรค์กับเพื่อนฝูง/ใช้ชีวิตอย่างพอเพียง 15.3
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 13 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความต้องการเกิดเป็นไทยอีก ถ้าต้องเสียชีวิตไปด้วยโรคชรา
ลำดับที่ ความต้องการเกิดเป็นไทยอีก ถ้าต้องเสียชีวิตไปด้วยโรคชรา ค่าร้อยละ
1 อยากเกิดเป็นคนไทยอีก 86.3
2 ไม่อยาก 13.7
รวมทั้งสิ้น 100.0
อายุเฉลี่ยที่อยากอยู่ในชีวิตมุนษย์เท่ากับ 72 ปี 6 เดือน
ตารางที่ 14 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุ ประชาชนผู้สูงอายุที่เคยสร้างคุณประโยชน์ให้กับประเทศชาติ
(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ ประชาชนผู้สูงอายุที่เคยสร้างคุณประโยชน์ให้กับประเทศชาติ ค่าร้อยละ
1 พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ 44.4
2 พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร 28.5
3 นายชวน หลีกภัย 23.0
4 นายอานันท์ ปันยารชุน 12.7
5 นายสมัคร สุนทรเวช 10.4
6 อื่นๆอาทิ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช/พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ/นายสัญญา
ธรรมศักดิ์/นายบัญญัติ บรรทัดฐาน/นายบรรหาร ศิลปะอาชา 14.0
--เอแบคโพลล์--
-พห-