13. มอร์ฟีน 87.3 8.4 4.3 100.0
14. ฝิ่น 89.2 8.0 2.8 100.0
15.โคเคน 88.3 8.0 3.7 100.0
ตารางที่ 9 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อกรณีการกลับมาแพร่ระบาดของยาเสพติด
ลำดับที่ ความคิดเห็น ค่าร้อยละ
1 คิดว่ากลับมาแล้ว 54.3
2 คิดว่ายังไม่กลับมา 10.2
3 ไม่ทราบ 35.5
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 10 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุสถานที่ที่คิดว่ายาเสพติดกำลังกลับมาแพร่ระบาด
(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ สถานที่ที่คิดว่ายาเสพติดกำลังกลับมาแพร่ระบาด ค่าร้อยละ
1 เธค/ผับ/สถานบันเทิง 58.0
2 โรงเรียน/สถานศึกษา 30.1
3 บริเวณใกล้เคียงกับชุมชนที่พักอาศัย 29.5
4 ในชุมชนที่พักอาศัย 21.8
5 สถานที่ก่อสร้าง 15.6
6 ที่ทำงาน 4.6
7 อื่น ๆ อาทิ ในชุมชนแออัดต่างๆ /ชุมชนใต้สะพานลอย /ที่รกร้าง เป็นต้น 3.9
ตารางที่ 11 ผลประมาณการจำนวนเยาวชนทั้งในระบบการศึกษาและนอกระบบการศึกษาที่ใช้สิ่งเสพติด
ประเภทต่าง ๆ จำแนกตามช่วงเวลา
ประเภทสิ่งเสพติด ใช้ตลอดประสบการณ์ชีวิต ใช้ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา ใช้ในช่วง 30 วันที่ผ่านมา
1. บุหรี่ 403,546 341,504 313,789
2. เหล้า 635,816 554,731 450,524
3. เบียร์/ไวน์/สปาย 678,950 554,511 442,849
4. น้ำผลไม้ผสมแอลกอฮอล์ 518,364 398,953 316,799
5. ยาบ้า 78,774 52,307 41,666
6. กัญชา 111,917 80,547 56,306
7. สารระเหย/กาว/แล็ค 47,408 29,554 27,683
8. กระท่อม 64,413 44,930 36,702
9. ยาอี/เอ็กซ์ตาซี/ยาเลิฟ 49,443 39,062 32,395
10. ยานอนหลับ/ยาคลายเครียด 89,412 63,118 49,595
11. ยาไอซ์ 33,834 27,381 23,281
*** หมายเหตุ ฐานประชากรที่มีอายุ 12-24 ปี ในเขตกรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการจำนวน
ทั้งสิ้น 1,562,986 คน (หนึ่งล้านห้าแสนหกหมื่นสองพันเก้าร้อยแปดสิบหกคน)
ตารางที่ 12 เปรียบเทียบผลการประมาณการจำนวนเยาวชนที่ใช้ยาบ้า ระหว่างผลวิจัยช่วง 3 เดือนหลังประกาศ
สงครามยาเสพติด (พฤษภาคม 2546) กับผลวิจัยเดือน พฤษภาคม 2549
ช่วงเวลาของผลวิจัย ผลประมาณการเยาวชนที่ใช้ยาบ้า(คน) ส่วนต่าง (%)
ผลวิจัยช่วง 3 เดือนหลังประกาศสงครามยาเสพติด (พฤษภาคม 2546) 5,060 +723.4%
ผลสำรวจล่าสุด พฤษภาคม 2549 41,666 +723.4%
ตารางที่ 13 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุสาเหตุการกลับมาของยาเสพติด (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ สาเหตุการกลับมาของยาเสพติด ค่าร้อยละ
1 เจ้าหน้าที่ของรัฐปราบปรามยาเสพติดไม่จริงจัง 69.1
2 ความไม่ต่อเนื่องของนโยบายแก้ไขปัญหายาเสพติด 60.7
3 ปัญหาผู้มีอิทธิพล 53.9
4 บทลงโทษผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดยังไม่รุนแรง 42.4
5 ยังมีแหล่งมั่วสุมของเยาวชน 38.8
6 ผู้เสพยังไม่ได้รับการบำบัด / ผู้เสพได้รับการบำบัดแล้วแต่กลับมาเสพอีก 22.4
7 สังคมยังไม่ยอมรับผู้ที่เคยติดยาเสพติดทำให้เกิดปัญหาการหันกลับมาเสพซ้ำ 19.9
8 อื่นๆ อาทิ สภาพเศรษฐกิจตกต่ำ/การฟื้นฟูบุคลากรยังไม่ครบวงจร /
กระบวนการของการสร้างงาน สร้างอาชีพยังไม่ดีพอ 10.3
ตารางที่ 14 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลในการแก้ไขปัญหายาเสพติด
(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ ข้อเสนอแนะต่อรัฐบาล ค่าร้อยละ
1 รัฐบาลควรมีการปราบปรามอย่างจริงจัง / มีการรณรงค์อย่างต่อเนื่อง 72.6
2 ควรให้ความรู้กับเยาวชนเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด 70.5
3 ส่งเสริมการทำกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ให้กับเยาวชน 68.9
4 แก้ไขปัญหาผู้มีอิทธิพล 66.3
5 ลดพื้นที่เสี่ยงของเยาวชน 56.1
6 ส่งเสริมทางด้านอาชีพให้กับผู้ที่ติดยาเสพติด/คนว่างงาน ให้มีรายได้เลี้ยงครอบครัว/แก้ปัญหาการว่างงาน 49.3
7 ผู้ติดยาเสพติดควรได้รับการบำบัดอย่างถูกต้อง และมีการติดตามผลการบำบัดอย่างต่อเนื่อง 30.5
8 แก้ไขปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ/ปัญหาคนว่างงาน 19.8
9 กำจัดแหล่งมั่วสุมต่างๆ และเพิ่มบทลงโทษให้กับผู้ค้า ผู้ผลิต และผู้เสพยาเสพติด 11.2
สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ โทร.0-2719-1549-50
www.abacpoll.au.edu หรือ www.abacpoll.com
--เอแบคโพลล์--
-พห-
14. ฝิ่น 89.2 8.0 2.8 100.0
15.โคเคน 88.3 8.0 3.7 100.0
ตารางที่ 9 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อกรณีการกลับมาแพร่ระบาดของยาเสพติด
ลำดับที่ ความคิดเห็น ค่าร้อยละ
1 คิดว่ากลับมาแล้ว 54.3
2 คิดว่ายังไม่กลับมา 10.2
3 ไม่ทราบ 35.5
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 10 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุสถานที่ที่คิดว่ายาเสพติดกำลังกลับมาแพร่ระบาด
(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ สถานที่ที่คิดว่ายาเสพติดกำลังกลับมาแพร่ระบาด ค่าร้อยละ
1 เธค/ผับ/สถานบันเทิง 58.0
2 โรงเรียน/สถานศึกษา 30.1
3 บริเวณใกล้เคียงกับชุมชนที่พักอาศัย 29.5
4 ในชุมชนที่พักอาศัย 21.8
5 สถานที่ก่อสร้าง 15.6
6 ที่ทำงาน 4.6
7 อื่น ๆ อาทิ ในชุมชนแออัดต่างๆ /ชุมชนใต้สะพานลอย /ที่รกร้าง เป็นต้น 3.9
ตารางที่ 11 ผลประมาณการจำนวนเยาวชนทั้งในระบบการศึกษาและนอกระบบการศึกษาที่ใช้สิ่งเสพติด
ประเภทต่าง ๆ จำแนกตามช่วงเวลา
ประเภทสิ่งเสพติด ใช้ตลอดประสบการณ์ชีวิต ใช้ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา ใช้ในช่วง 30 วันที่ผ่านมา
1. บุหรี่ 403,546 341,504 313,789
2. เหล้า 635,816 554,731 450,524
3. เบียร์/ไวน์/สปาย 678,950 554,511 442,849
4. น้ำผลไม้ผสมแอลกอฮอล์ 518,364 398,953 316,799
5. ยาบ้า 78,774 52,307 41,666
6. กัญชา 111,917 80,547 56,306
7. สารระเหย/กาว/แล็ค 47,408 29,554 27,683
8. กระท่อม 64,413 44,930 36,702
9. ยาอี/เอ็กซ์ตาซี/ยาเลิฟ 49,443 39,062 32,395
10. ยานอนหลับ/ยาคลายเครียด 89,412 63,118 49,595
11. ยาไอซ์ 33,834 27,381 23,281
*** หมายเหตุ ฐานประชากรที่มีอายุ 12-24 ปี ในเขตกรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการจำนวน
ทั้งสิ้น 1,562,986 คน (หนึ่งล้านห้าแสนหกหมื่นสองพันเก้าร้อยแปดสิบหกคน)
ตารางที่ 12 เปรียบเทียบผลการประมาณการจำนวนเยาวชนที่ใช้ยาบ้า ระหว่างผลวิจัยช่วง 3 เดือนหลังประกาศ
สงครามยาเสพติด (พฤษภาคม 2546) กับผลวิจัยเดือน พฤษภาคม 2549
ช่วงเวลาของผลวิจัย ผลประมาณการเยาวชนที่ใช้ยาบ้า(คน) ส่วนต่าง (%)
ผลวิจัยช่วง 3 เดือนหลังประกาศสงครามยาเสพติด (พฤษภาคม 2546) 5,060 +723.4%
ผลสำรวจล่าสุด พฤษภาคม 2549 41,666 +723.4%
ตารางที่ 13 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุสาเหตุการกลับมาของยาเสพติด (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ สาเหตุการกลับมาของยาเสพติด ค่าร้อยละ
1 เจ้าหน้าที่ของรัฐปราบปรามยาเสพติดไม่จริงจัง 69.1
2 ความไม่ต่อเนื่องของนโยบายแก้ไขปัญหายาเสพติด 60.7
3 ปัญหาผู้มีอิทธิพล 53.9
4 บทลงโทษผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดยังไม่รุนแรง 42.4
5 ยังมีแหล่งมั่วสุมของเยาวชน 38.8
6 ผู้เสพยังไม่ได้รับการบำบัด / ผู้เสพได้รับการบำบัดแล้วแต่กลับมาเสพอีก 22.4
7 สังคมยังไม่ยอมรับผู้ที่เคยติดยาเสพติดทำให้เกิดปัญหาการหันกลับมาเสพซ้ำ 19.9
8 อื่นๆ อาทิ สภาพเศรษฐกิจตกต่ำ/การฟื้นฟูบุคลากรยังไม่ครบวงจร /
กระบวนการของการสร้างงาน สร้างอาชีพยังไม่ดีพอ 10.3
ตารางที่ 14 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลในการแก้ไขปัญหายาเสพติด
(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ ข้อเสนอแนะต่อรัฐบาล ค่าร้อยละ
1 รัฐบาลควรมีการปราบปรามอย่างจริงจัง / มีการรณรงค์อย่างต่อเนื่อง 72.6
2 ควรให้ความรู้กับเยาวชนเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด 70.5
3 ส่งเสริมการทำกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ให้กับเยาวชน 68.9
4 แก้ไขปัญหาผู้มีอิทธิพล 66.3
5 ลดพื้นที่เสี่ยงของเยาวชน 56.1
6 ส่งเสริมทางด้านอาชีพให้กับผู้ที่ติดยาเสพติด/คนว่างงาน ให้มีรายได้เลี้ยงครอบครัว/แก้ปัญหาการว่างงาน 49.3
7 ผู้ติดยาเสพติดควรได้รับการบำบัดอย่างถูกต้อง และมีการติดตามผลการบำบัดอย่างต่อเนื่อง 30.5
8 แก้ไขปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ/ปัญหาคนว่างงาน 19.8
9 กำจัดแหล่งมั่วสุมต่างๆ และเพิ่มบทลงโทษให้กับผู้ค้า ผู้ผลิต และผู้เสพยาเสพติด 11.2
สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ โทร.0-2719-1549-50
www.abacpoll.au.edu หรือ www.abacpoll.com
--เอแบคโพลล์--
-พห-