ที่มาของโครงการ
สืบเนื่องจากราคาน้ำมันในตลาดโลกที่กำลังปรับตัวสูงขึ้นเรื่อยๆ ตามสภาวะการขาดแคลนน้ำมัน ส่งผลให้องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
หรือขสมก. จำเป็นต้องปรับอัตราค่าโดยสารรถประจำทางเพื่อสมดุลผลประกอบการ และความอยู่รอดขององค์กร ซึ่งการขึ้นค่าโดยสารดังกล่าวส่งผล
กระทบต่อประชาชนผู้ใช้บริการอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นอกจากนี้ยังนำไปสู่ความกังขาของผู้ใช้บริการที่ว่าคุณภาพการให้บริการจะสู.ขึ้นตามค่าโดยสารที่
ปรับขึ้นหรือไม่
สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ จึงได้ทำการสำรวจภาคสนามหาข้อมูลเชิงสถิติศาสตร์ เพื่อสะท้อนความคิดเห็นของกลุ่ม
ประชาชนที่ใช้บริการรถโดยสารประจำทาง ที่มีต่อการขึ้นค่าโดยสารดังกล่าวตลอดจนคุณภาพการให้บริการของรถโดยสารประจำทางดังกล่าว ด้วยการ
จัดส่งอาจารย์ เจ้าหน้าที่ และพนักงานเก็บรวบรวมข้อมูลลงพื้นที่ตัวอย่างที่ถูกสุ่มได้ตามหลักวิชาการด้านระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์
วัตถุประสงค์และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการวิจัย
1. เพื่อสำรวจความพึงพอใจของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลต่อการใช้บริการรถโดยสารประจำทาง
2. เพื่อสำรวจความคิดเห็นต่อการขึ้นค่าโดยสารรถประจำทาง
3. เพื่อค้นหาข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ ต่อการปรับปรุงคุณภาพการให้บริการของรถโดยสารประจำทาง
เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาในหัวข้อเรื่องนี้อย่างลึกซึ้งต่อไป
ระเบียบวิธีการทำโพลล์
โครงการสำรวจภาคสนามของสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ในครั้งนี้เรื่อง “การขึ้นค่าโดยสารและคุณภาพการให้
บริการรถโดยสารประจำทางในสายตาประชาชน: กรณีศึกษาประชาชนผู้ใช้บริการรถโดยสารประจำทางในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล” ซึ่งมี
ระยะเวลาการดำเนินโครงการระหว่างวันที่ 17-19 กุมภาพันธ์ 2549
ประเภทของการสำรวจวิจัยครั้งนี้คือ การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research)
กลุ่มประชากรเป้าหมาย คือ ประชาชนทั่วไปที่ใช้บริการรถโดยสารประจำทางในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล
เทคนิควิธีการสุ่มตัวอย่างได้แก่ การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มเชิงชั้นภูมิ (Stratified Cluster Sampling)
ในการสุ่มเลือกพื้นที่ตัวอย่าง และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) ในการเข้าถึงตัวอย่าง
ขนาดตัวอย่างที่ทำการสำรวจ คือ 1,603 ตัวอย่าง
เทคนิควิธีการสุ่มตัวอย่างได้แก่ การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มเชิงชั้นภูมิ (Stratified Cluster Sampling) ในการสุ่มเลือกพื้นที่
ตัวอย่าง และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) ในการเข้าถึงตัวอย่าง
ช่วงความเชื่อมั่นอยู่ในระดับร้อยละ 95 ขณะที่ขอบเขตความคลาดเคลื่อนจากการกำหนดขนาดตัวอย่างอยู่ที่ +/- ร้อยละ 5
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ การสัมภาษณ์
หลังจากนั้นคณะผู้วิจัยได้ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของแบบสอบถามทุกชุดก่อนนำเข้าวิเคราะห์ ข้อมูลและงบประมาณเป็น
ของมหาวิทยาลัย
ลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง
จากการพิจารณาลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง พบว่า
ตัวอย่าง ร้อยละ 53.7 เป็นหญิง
ร้อยละ 46.3 เป็นชาย
ตัวอย่าง ร้อยละ 9.5 อายุต่ำกว่า 20 ปี
ร้อยละ 36.2 อายุระหว่าง 20—29 ปี
ร้อยละ 20.3 อายุระหว่าง 30—39 ปี
ร้อยละ 17.6 อายุระหว่าง 40—49 ปี
และร้อยละ 16.4 อายุ 50 ปีขึ้นไป
ซึ่งตัวอย่าง ร้อยละ 71.9 ระบุสำเร็จการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรี
ร้อยละ 24.6 ระบุสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
และร้อยละ 3.5 ระบุสำเร็จการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี
ตัวอย่าง ร้อยละ 35.2 ระบุอาชีพค้าขาย /ธุรกิจส่วนตัว
ร้อยละ 20.4 ระบุเป็นนักเรียนนักศึกษา
ร้อยะ 17.0 ระบุอาชีพรับจ้างทั่วไป
ร้อยละ 12.1 ระบุอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน
ร้อยละ 6.4 ระบุเป็นแม่บ้าน/พ่อบ้าน/เกษีบณอายุ
ร้อยละ 5.7 ระบุอาชีพรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ
ร้อยละ 3.2 ระบุว่างงาน ไม่ได้ประกอบอาชีพใด
โปรดพิจารณาประเด็นสำคัญที่ค้นพบ
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุรถโดยสารประจำทางที่ใช้บริการเป็นประจำ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ รถโดยสารประจำทางที่ใช้บริการเป็นประจำ ค่าร้อยละ
1 รถสีครีมแดง 45.6
2 รถ ปอ.สีส้ม 42.1
3 รถร่วมสีขาว 35.2
4 รถ ปอ.สีน้ำเงิน 31.0
5 รถร่วมมินิบัส 24.9
6 รถ ปอ.พ. 7.3
ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุรถโดยสารประจำทางที่ใช้บริการบ่อยที่สุด
ลำดับที่ รถโดยสารประจำทางที่ใช้บริการบ่อยที่สุด ค่าร้อยละ
1 รถสีครีมแดง 30.5
2 รถ ปอ.สีส้ม 24.9
3 รถร่วมสีขาว 20.3
4 รถ ปอ.สีน้ำเงิน 12.9
5 รถร่วมมินิบัสสีเขียว 10.2
6 รถ ปอ.พ. 1.2
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความพึงพอใจในการของรถโดยสารประจำทางเปรียบเทียบระหว่าง
รถครีมแดง รถร่วมสีขาว และรถ ปอ.สีส้ม
การให้บริการ รถครีมแดงพึงพอใจร้อยละ รถร่วมสีขาวพึงพอใจร้อยละ รถ ปอ.สีส้มพึงพอใจร้อยละ
1.มารยาทการให้บริการ 83.1 44.2 86.9
2.มารยาทการขับขี่ 70.2 43.2 80.0
3.การเคารพกฏจราจร 77.7 45.9 81.0
4.ความซื่อสัตย์ (ให้ตั๋ว/ทอนเงิน) 89.1 73.3 93.2
5.สภาพรถ (เครื่องยนต์/เก่า-ใหม่/ความสะอาด) 54.7 36.0 77.9
6.ความปลอดภัยในการเดินทาง 66.9 34.1 78.1
7.จำนวนรถที่ให้บริการ 48.4 51.8 64.1
ตารางที่ 4 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นกรณีรถร่วมสีขาวปรับเพิ่มค่าโดยสารจากเดิม 7 บาท เป็น 8 บาท
ลำดับที่ ความคิดเห็น ค่าร้อยละ
1 ยอมรับได้ 39.4
2 ยอมรับไม่ได้ 60.6
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 5 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นกรณีรถโดยสารประจำทางครีมแดงปรับเพิ่มค่าโดยสารจากเดิม 6 บาท เป็น 7 บาท
ลำดับที่ ความคิดเห็น ค่าร้อยละ
1 ยอมรับได้ 49.7
2 ยอมรับไม่ได้ 50.3
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 6 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นกรณี รถ ปอ.ทุกประเภทปรับเพิ่มค่าโดยสาร 1 บาท ทุกระยะทาง
ลำดับที่ ความคิดเห็น ค่าร้อยละ
1 ยอมรับได้ 47.4
2 ยอมรับไม่ได้ 52.6
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 7 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นกรณีผลกระทบจากการขึ้นค่าโดยสารรถประจำทาง
ลำดับที่ ผลกระทบ ค่าร้อยละ
1 มากที่สุด 14.6
2 มาก 26.4
3 ปานกลาง 39.3
4 น้อย 12.8
5 น้อยที่สุด/ไม่มีผลกระทบเลย 6.9
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 8 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุบุคคลที่ควรรับผิดชอบหากรถโดยสารประจำทางเกิดอุบัติเหตุ
ต่อ ร่างกาย ชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ บุคคลที่ควรรับผิดชอบ ค่าร้อยละ
1 บริษัทเดินรถ 65.5
2 พนักงานขับรถ 62.9
3 ผู้บริหาร ขสมก. 57.0
4 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม 26.4
5 อธิบดีกรมการขนส่งทางบก 26.2
6 ปลัดกระทรวงคมนาคม 15.2
7 ตำรวจจราจร 8.5
8 ไม่ต้องมีผู้รับผิดชอบ 1.7
ตารางที่ 9 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุสิ่งที่อยากให้รถโดยสารประจำทาง ปรับปรุง (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ สิ่งที่อยากให้รถโดยสารประจำทางปรับปรุง ค่าร้อยละ
1 มารยาทในการขับขี่ 36.1
2 มารยาทของพนักงานเก็บเงินค่าโดยสาร 34.5
3 ปรับปรุงสภาพรถและความสะอาด 31.1
4 เพิ่มจำนวนรถและเส้นทางเดินรถ 22.5
5 การให้บริการเสริมอื่นๆ เช่น การแนะนำเส้นทาง /การเปิดเพลงให้ผู้โดยสารฟัง 12.7
6 การจอดรับ-ส่งผู้โดยสาร จอดรถให้ตรงป้าย 10.7
7 อื่นๆ อาทิ ความถี่ในการปล่อยรถ/การปฏิบัติตามกฏข้อบังคับ 8.4
สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ โทร.0-2719-1549-50
www.abacpoll.au.edu หรือ www.abacpoll.com
--เอแบคโพลล์--
-พห-
สืบเนื่องจากราคาน้ำมันในตลาดโลกที่กำลังปรับตัวสูงขึ้นเรื่อยๆ ตามสภาวะการขาดแคลนน้ำมัน ส่งผลให้องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
หรือขสมก. จำเป็นต้องปรับอัตราค่าโดยสารรถประจำทางเพื่อสมดุลผลประกอบการ และความอยู่รอดขององค์กร ซึ่งการขึ้นค่าโดยสารดังกล่าวส่งผล
กระทบต่อประชาชนผู้ใช้บริการอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นอกจากนี้ยังนำไปสู่ความกังขาของผู้ใช้บริการที่ว่าคุณภาพการให้บริการจะสู.ขึ้นตามค่าโดยสารที่
ปรับขึ้นหรือไม่
สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ จึงได้ทำการสำรวจภาคสนามหาข้อมูลเชิงสถิติศาสตร์ เพื่อสะท้อนความคิดเห็นของกลุ่ม
ประชาชนที่ใช้บริการรถโดยสารประจำทาง ที่มีต่อการขึ้นค่าโดยสารดังกล่าวตลอดจนคุณภาพการให้บริการของรถโดยสารประจำทางดังกล่าว ด้วยการ
จัดส่งอาจารย์ เจ้าหน้าที่ และพนักงานเก็บรวบรวมข้อมูลลงพื้นที่ตัวอย่างที่ถูกสุ่มได้ตามหลักวิชาการด้านระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์
วัตถุประสงค์และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการวิจัย
1. เพื่อสำรวจความพึงพอใจของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลต่อการใช้บริการรถโดยสารประจำทาง
2. เพื่อสำรวจความคิดเห็นต่อการขึ้นค่าโดยสารรถประจำทาง
3. เพื่อค้นหาข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ ต่อการปรับปรุงคุณภาพการให้บริการของรถโดยสารประจำทาง
เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาในหัวข้อเรื่องนี้อย่างลึกซึ้งต่อไป
ระเบียบวิธีการทำโพลล์
โครงการสำรวจภาคสนามของสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ในครั้งนี้เรื่อง “การขึ้นค่าโดยสารและคุณภาพการให้
บริการรถโดยสารประจำทางในสายตาประชาชน: กรณีศึกษาประชาชนผู้ใช้บริการรถโดยสารประจำทางในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล” ซึ่งมี
ระยะเวลาการดำเนินโครงการระหว่างวันที่ 17-19 กุมภาพันธ์ 2549
ประเภทของการสำรวจวิจัยครั้งนี้คือ การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research)
กลุ่มประชากรเป้าหมาย คือ ประชาชนทั่วไปที่ใช้บริการรถโดยสารประจำทางในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล
เทคนิควิธีการสุ่มตัวอย่างได้แก่ การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มเชิงชั้นภูมิ (Stratified Cluster Sampling)
ในการสุ่มเลือกพื้นที่ตัวอย่าง และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) ในการเข้าถึงตัวอย่าง
ขนาดตัวอย่างที่ทำการสำรวจ คือ 1,603 ตัวอย่าง
เทคนิควิธีการสุ่มตัวอย่างได้แก่ การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มเชิงชั้นภูมิ (Stratified Cluster Sampling) ในการสุ่มเลือกพื้นที่
ตัวอย่าง และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) ในการเข้าถึงตัวอย่าง
ช่วงความเชื่อมั่นอยู่ในระดับร้อยละ 95 ขณะที่ขอบเขตความคลาดเคลื่อนจากการกำหนดขนาดตัวอย่างอยู่ที่ +/- ร้อยละ 5
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ การสัมภาษณ์
หลังจากนั้นคณะผู้วิจัยได้ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของแบบสอบถามทุกชุดก่อนนำเข้าวิเคราะห์ ข้อมูลและงบประมาณเป็น
ของมหาวิทยาลัย
ลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง
จากการพิจารณาลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง พบว่า
ตัวอย่าง ร้อยละ 53.7 เป็นหญิง
ร้อยละ 46.3 เป็นชาย
ตัวอย่าง ร้อยละ 9.5 อายุต่ำกว่า 20 ปี
ร้อยละ 36.2 อายุระหว่าง 20—29 ปี
ร้อยละ 20.3 อายุระหว่าง 30—39 ปี
ร้อยละ 17.6 อายุระหว่าง 40—49 ปี
และร้อยละ 16.4 อายุ 50 ปีขึ้นไป
ซึ่งตัวอย่าง ร้อยละ 71.9 ระบุสำเร็จการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรี
ร้อยละ 24.6 ระบุสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
และร้อยละ 3.5 ระบุสำเร็จการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี
ตัวอย่าง ร้อยละ 35.2 ระบุอาชีพค้าขาย /ธุรกิจส่วนตัว
ร้อยละ 20.4 ระบุเป็นนักเรียนนักศึกษา
ร้อยะ 17.0 ระบุอาชีพรับจ้างทั่วไป
ร้อยละ 12.1 ระบุอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน
ร้อยละ 6.4 ระบุเป็นแม่บ้าน/พ่อบ้าน/เกษีบณอายุ
ร้อยละ 5.7 ระบุอาชีพรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ
ร้อยละ 3.2 ระบุว่างงาน ไม่ได้ประกอบอาชีพใด
โปรดพิจารณาประเด็นสำคัญที่ค้นพบ
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุรถโดยสารประจำทางที่ใช้บริการเป็นประจำ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ รถโดยสารประจำทางที่ใช้บริการเป็นประจำ ค่าร้อยละ
1 รถสีครีมแดง 45.6
2 รถ ปอ.สีส้ม 42.1
3 รถร่วมสีขาว 35.2
4 รถ ปอ.สีน้ำเงิน 31.0
5 รถร่วมมินิบัส 24.9
6 รถ ปอ.พ. 7.3
ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุรถโดยสารประจำทางที่ใช้บริการบ่อยที่สุด
ลำดับที่ รถโดยสารประจำทางที่ใช้บริการบ่อยที่สุด ค่าร้อยละ
1 รถสีครีมแดง 30.5
2 รถ ปอ.สีส้ม 24.9
3 รถร่วมสีขาว 20.3
4 รถ ปอ.สีน้ำเงิน 12.9
5 รถร่วมมินิบัสสีเขียว 10.2
6 รถ ปอ.พ. 1.2
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความพึงพอใจในการของรถโดยสารประจำทางเปรียบเทียบระหว่าง
รถครีมแดง รถร่วมสีขาว และรถ ปอ.สีส้ม
การให้บริการ รถครีมแดงพึงพอใจร้อยละ รถร่วมสีขาวพึงพอใจร้อยละ รถ ปอ.สีส้มพึงพอใจร้อยละ
1.มารยาทการให้บริการ 83.1 44.2 86.9
2.มารยาทการขับขี่ 70.2 43.2 80.0
3.การเคารพกฏจราจร 77.7 45.9 81.0
4.ความซื่อสัตย์ (ให้ตั๋ว/ทอนเงิน) 89.1 73.3 93.2
5.สภาพรถ (เครื่องยนต์/เก่า-ใหม่/ความสะอาด) 54.7 36.0 77.9
6.ความปลอดภัยในการเดินทาง 66.9 34.1 78.1
7.จำนวนรถที่ให้บริการ 48.4 51.8 64.1
ตารางที่ 4 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นกรณีรถร่วมสีขาวปรับเพิ่มค่าโดยสารจากเดิม 7 บาท เป็น 8 บาท
ลำดับที่ ความคิดเห็น ค่าร้อยละ
1 ยอมรับได้ 39.4
2 ยอมรับไม่ได้ 60.6
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 5 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นกรณีรถโดยสารประจำทางครีมแดงปรับเพิ่มค่าโดยสารจากเดิม 6 บาท เป็น 7 บาท
ลำดับที่ ความคิดเห็น ค่าร้อยละ
1 ยอมรับได้ 49.7
2 ยอมรับไม่ได้ 50.3
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 6 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นกรณี รถ ปอ.ทุกประเภทปรับเพิ่มค่าโดยสาร 1 บาท ทุกระยะทาง
ลำดับที่ ความคิดเห็น ค่าร้อยละ
1 ยอมรับได้ 47.4
2 ยอมรับไม่ได้ 52.6
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 7 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นกรณีผลกระทบจากการขึ้นค่าโดยสารรถประจำทาง
ลำดับที่ ผลกระทบ ค่าร้อยละ
1 มากที่สุด 14.6
2 มาก 26.4
3 ปานกลาง 39.3
4 น้อย 12.8
5 น้อยที่สุด/ไม่มีผลกระทบเลย 6.9
รวมทั้งสิ้น 100.0
ตารางที่ 8 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุบุคคลที่ควรรับผิดชอบหากรถโดยสารประจำทางเกิดอุบัติเหตุ
ต่อ ร่างกาย ชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ บุคคลที่ควรรับผิดชอบ ค่าร้อยละ
1 บริษัทเดินรถ 65.5
2 พนักงานขับรถ 62.9
3 ผู้บริหาร ขสมก. 57.0
4 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม 26.4
5 อธิบดีกรมการขนส่งทางบก 26.2
6 ปลัดกระทรวงคมนาคม 15.2
7 ตำรวจจราจร 8.5
8 ไม่ต้องมีผู้รับผิดชอบ 1.7
ตารางที่ 9 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุสิ่งที่อยากให้รถโดยสารประจำทาง ปรับปรุง (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ สิ่งที่อยากให้รถโดยสารประจำทางปรับปรุง ค่าร้อยละ
1 มารยาทในการขับขี่ 36.1
2 มารยาทของพนักงานเก็บเงินค่าโดยสาร 34.5
3 ปรับปรุงสภาพรถและความสะอาด 31.1
4 เพิ่มจำนวนรถและเส้นทางเดินรถ 22.5
5 การให้บริการเสริมอื่นๆ เช่น การแนะนำเส้นทาง /การเปิดเพลงให้ผู้โดยสารฟัง 12.7
6 การจอดรับ-ส่งผู้โดยสาร จอดรถให้ตรงป้าย 10.7
7 อื่นๆ อาทิ ความถี่ในการปล่อยรถ/การปฏิบัติตามกฏข้อบังคับ 8.4
สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ โทร.0-2719-1549-50
www.abacpoll.au.edu หรือ www.abacpoll.com
--เอแบคโพลล์--
-พห-