ดร.นพดล กรรณิกา ผู้อำนวยการสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ได้เปิดเผยผลสำรวจเรื่อง ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพ
และความรุนแรงในสื่อโทรทัศน์ : กรณีศึกษาประชาชนอายุ 18-60 ปีในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น 1,141 คน ซึ่งดำเนินโครงการ ระหว่าง
วันที่ 12 — 15 กรกฎาคม 2550 ประเด็นสำคัญที่ค้นพบจากการสำรวจในครั้งนี้ มีดังนี้
จากการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อละครที่นำเสนอทางสถานีโทรทัศน์เกี่ยวกับเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมสำหรับเด็กอายุ 3-12 ปี พบ
ว่า 3 อันดับแรกของละครที่มีเนื้อหาการแสดงไม่เหมาะสมทางเพศมากที่สุดคือเรื่องกาษา นาคา คิดเป็นร้อยละ 32.5 รองลงมาคือร้อยละ 28.3
ได้แก่เรื่องหัวใจศิลา และร้อยละ 26.4 ได้แก่ละครเรื่องเหยื่อมาร ส่วนละครที่มีการใช้ภาษาหรือคำพูดที่ไม่สุภาพ/รุนแรงมากที่สุดคือเรื่องรักเล
ห์เสน่ห์ลวง คิดเป็นร้อยละ 50.1 รองลงมาคือร้อยละ 39.1 ได้แก่เรื่องทะเลริษยา และร้อยละ 38.8 ได้แก่เรื่อง กาษา นาคา สำหรับละครที่มีฉาก
การแสดงที่รุนแรงมากที่สุดคือเรื่องกาษา นาคา คิดเป็นร้อยละ 43.6 รองลงมาคือร้อยละ 38.7 ได้แก่เรื่องทะเลริษยา และร้อยละ 37.3 ได้แก่
เรื่องแสงสูรย์
จากนั้นได้สอบถามตัวอย่างถึงความคิดเห็นในการเลื่อนเวลาฉายละครโทรทัศน์ก่อนข่าวสองทุ่มที่มีฉากรุนแรงไปฉายหลังข่าวภาคค่ำ พบว่า
ตัวอย่างส่วนใหญ่หรือร้อยละ 43.1 ระบุเห็นด้วยกับความคิดดังกล่าวโดยให้เหตุผลสำคัญคือทำให้เด็กไม่ลอกเลียนแบบพฤติกรรมในฉากละคร ช่วงเวลา
ก่อนสองทุ่มเป็นช่วงเวลาที่เด็กดูรายการโทรทัศน์มาก เห็นว่าช่วงเวลาหลังข่าวสองทุ่มเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมในการฉายละครโทรทัศน์ เป็นต้น ใน
ขณะที่ร้อยละ 23.9 ระบุไม่เห็นด้วยเพราะเห็นว่าช่วงเวลาไม่ใช่ตัวที่จะกำหนดการดูของคน แต่ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมการดูและเนื้อหาละครมากกว่า เป็น
ช่วงเวลาที่ดึกเกินไป หลังข่าวภาคค่ำเป็นช่วงเวลาที่เด็กดูโทรทัศน์ ควรให้ผู้ใหญ่แนะนำเด็กในการดู ละครบางเรื่องไม่ได้มีเนื้อหาที่รุนแรง เป็นต้น
และร้อยละ 33.0 ไม่ระบุความเห็น
สำหรับความคิดเห็นของตัวอย่างต่อเนื้อหาของละครก่อนข่าวสองทุ่ม พบว่า ตัวอย่างร้อยละ 89.6 ระบุว่าเนื้อหาของละครก่อนข่าวสองทุ่ม
จะต้องนำเสนอเนื้อหาที่ส่งเสริมการทำความดี/ความเอื้ออาทร รองลงมาคือร้อยละ 87.8 ควรนำเสนอเนื้อหาที่ส่งเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัว ร้อย
ละ 87.6 และร้อยละ 83.2 ระบุควรมีเนื้อหาที่ส่งเสริมความสามารถของเด็กและเยาวชน และควรเป็นเนื้อหาที่เน้นตลก-เบาสมอง ผ่อนคลาย ตาม
ลำดับ ส่วนความคิดเห็นของตัวอย่างที่มีต่อ “ผู้ผลิตรายการ/ผู้จัดละคร” ในการแสดงความรับผิดชอบต่อการนำเสนอรายการของตนกรณีนำเสนอเนื้อหาที่
ไม่เหมาะสม โดยตัวอย่าง ร้อยละ 85.5 ระบุจะต้องตัดภาพที่ไม่เหมาะสมออก รองลงมาคือร้อยละ 77.5 ระบุควรนำเสนอเนื้อเรื่องในเชิงบวก
และร้อยละ 68.1 ระบุควรจัดเรต (rate) หรืออันดับรายการของตนเองอย่างถูกต้อง ตามลำดับ
ประเด็นที่ค้นพบอีกประเด็นคือกลุ่มบุคคลที่ตัวอย่างต้องการให้แสดงความรับผิดชอบต่อเนื้อหารุนแรงไม่เหมาะสมกับเด็กที่ปรากฎในรายการ
โทรทัศน์คือร้อยละ 74.1 ระบุผู้ผลิตรายการ/ผู้จัดละคร รองมาคือร้อยละ 50.7 ระบุหน่วยงานรัฐที่รับผิดชอบ เช่น กรมประชาสัมพันธ์ กระทรวง
วัฒนธรรม ร้อยละ 50.2 ระบุเจ้าของสถานี ร้อยละ 39.1 ระบุสปอนเซอร์/ผู้สนับสนุนรายการ และร้อยละ 6.3 ระบุให้หน่วยงานอื่นเป็นผู้รับผิดชอบ
ตามลำดับ
ส่วนความคิดเห็นต่อการใช้มาตรการต่างๆ เพื่อจัดการกับผู้ผลิตรายการ ผู้สนับสนุน และเจ้าของสถานีโทรทัศน์ที่ปล่อยให้ผลิตและเผยแพร่
รายการที่ไม่เหมาะสมกับเด็ก พบว่าส่วนใหญ่เห็นด้วยกับทุกมาตรการที่สอบถามคือ ร้อยละ 72.8 ระบุควรใช้กฎหมายควบคุมหรือลงโทษ เช่น พรบ. คุ้ม
ครองเด็ก พรบ.คุ้มครองผู้บริโภค รองลงมาคือร้อยละ 60.1 ระบุรณรงค์ให้งดดูรายการในช่องที่ทำไม่เหมาะสม ร้อยละ 57.5 ระบุเห็นด้วยกับการ
รณรงค์ให้ลดเลิกการซื้อสินค้าที่สนับสนุนรายการที่ไม่เหมาะสม ตามลำดับ
ประเด็นสุดท้ายข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหารายการโทรทัศน์ที่ไม่เหมาะสมกับเด็กที่ตัวอย่างระบุ 5 อันดับแรก คือ ร้อยละ 16.6 ระบุควร
ตัดฉากที่รุนแรงออก รองลงมาคือ ร้อยละ 11.5 ระบุควรเลื่อนเวลาในการออกอากาศ ร้อยละ 8.0 ระบุควรปลูกจิตสำนึกให้กับผู้ผลิตรายการ เจ้า
ของสถานี ให้มีวิจารณาญาณในการผลิตรายการและผู้ปกครองควรให้คำแนะนำเด็กในการเลือกดูรายการที่เหมาะสมในสัดส่วนที่เท่ากัน และร้อยละ
6.7 ระบุควรปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสม ตามลำดับ
โปรดพิจารณารายละเอียดของโครงการวิจัย
วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อความเหมาะสมของเนื้อหาที่นำเสนอในละคร
2. เพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อช่วงเวลาในการนำเสนอละครที่เหมาะสม
3. เพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อมาตรการในการควบคุมการนำเสนอรายการที่ไม่เหมาะสมกับเด็ก
4. เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาในหัวข้อเรื่องนี้อย่างลึกซึ้งต่อไป
ระเบียบวิธีการทำโพลล์
โครงการสำรวจภาคสนามของสำนักวิจัยเอแบคโพลล์เรื่อง “ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพ และความรุนแรงในสื่อโทรทัศน์ :กรณีศึกษา
ประชาชนอายุ 18-60 ปีในเขตกรุงเทพมหานคร” ในครั้งนี้ ดำเนินโครงการระหว่างวันที่ 12 — 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2550
ประเภทของการสำรวจวิจัยครั้งนี้ คือ การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) กลุ่มประชากรเป้าหมาย คือ ประชาชนอายุ 18-60
ปี ในกรุงเทพมหานคร เทคนิควิธีการสุ่มตัวอย่าง ได้แก่ การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มเชิงชั้นภูมิหลายขั้น และกำหนดลักษณะของตัวอย่างให้สอดคล้องกับ
ประชากรเป้าหมายจากการทำสำมะโน ขนาดตัวอย่างที่ทำการสำรวจ จำนวน 1,141 ตัวอย่าง ช่วงความเชื่อมั่นอยู่ในระดับร้อยละ 95 ขณะที่ขอบเขต
ความคลาดเคลื่อนจากการกำหนดขนาดตัวอย่างอยู่ที่ +/- ร้อยละ 5 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิธีการเก็บรวบรวม
ข้อมูล คือ การสัมภาษณ์
หลังจากนั้นคณะผู้วิจัยได้ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของแบบสอบถามทุกชุดก่อนนำเข้าวิเคราะห์ข้อมูล
ลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง
จากการพิจารณาลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง พบว่า
ตัวอย่าง ร้อยละ 68.5 ระบุเป็นหญิง
ในขณะที่ร้อยละ 31.5 ระบุเป็นชาย
ตัวอย่าง ร้อยละ 9.4 อายุต่ำกว่า 20 ปี
ร้อยละ 40.5 อายุระหว่าง 20—29 ปี
ร้อยละ 28.5 อายุระหว่าง 30—39 ปี
ร้อยละ 14.3 อายุระหว่าง 40—49 ปี
และ ร้อยละ 7.3 อายุ 50-60 ปี
ตัวอย่าง ร้อยละ 54.3 ระบุโสด
ร้อยละ 41.6 ระบุสมรส
และร้อยละ 4.1 ระบุหม้าย/หย่าร้าง/แยกกันอยู่
ตัวอย่าง ร้อยละ 30.9 ระบุสำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้นหรือต่ำกว่า
ร้อยละ 28.2 ระบุสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ร้อยละ 12.1 ระบุสำเร็จการศึกษาอนุปริญญาหรือเทียบเท่า
ร้อยละ 26.6 ระบุสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
และร้อยละ 2.2 ระบุสำเร็จการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี
นอกจากนี้ตัวอย่าง ร้อยละ 34.8 ระบุอาชีพค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว
ร้อยละ 30.7 ระบุอาชีพรับจ้างทั่วไป
ร้อยละ 11.7 ระบุอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน รัฐวิสาหกิจ
ร้อยละ 11.3 ระบุเป็นนักเรียน/นักศึกษา
ร้อยละ 8.0 ระบุเป็นแม่บ้าน/พ่อบ้าน/เกษียณอายุ
ร้อยละ 3.3 ระบุอาชีพข้าราชการ/พนักงาน
และร้อยละ 0.2 ระบุไม่ได้ประกอบอาชีพ/ว่างงาน
จากนั้นได้สอบถามตัวอย่างถึงการมีบุตรพบว่า ตัวอย่างร้อยละ 42.8 ระบุมีบุตร และร้อยละ 57.2 ไม่มีบุตร
โปรดพิจารณาประเด็นสำคัญที่ค้นพบ
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุละครที่มีเนื้อหาไม่เหมาะสมสำหรับเด็กอายุระหว่าง 3 -12 ปี
ประเด็น อันดับ 1 อันดับ 2 อันดับ 3
มีการแสดงไม่เหมาะสมทางเพศ กาษา นาคา (32.5) หัวใจศิลา (28.3) เหยื่อมาร (26.4)
ใช้ภาษาหรือคำพูดที่ไม่สุภาพ/รุนแรง รักเล่ห์เสน่ห์ลวง (50.1) ทะเลริษยา (39.1) กาษา นาคา (38.8)
มีฉากการแสดงที่รุนแรง กาษา นาคา (43.6) ทะเลริษยา (38.7) แสงสูรย์ (37.3)
ข้อมูลทั้งหมดของตารางที่ 1
ละครที่ชม มีการแสดง ใช้ภาษาหรือ มีฉาก ความบันเทิง คุณภาพสร้างสรรค์สังคม
ไม่เหมาะสม คำพูดที่ไม่สุภาพ/ การแสดง (คะแนนเต็ม 5) (คะแนนเต็ม 5)
ทางเพศ รุนแรง ที่รุนแรง คะแนน S.D. คะแนน S.D.
รักเล่ห์เสน่ห์ลวง (ช่อง 3) 19.10 50.10 24.50 3.47 0.90 3.16 0.94
รักเธอทุกวัน (ช่อง 3) 9.40 17.40 19.10 3.95 0.92 3.78 0.99
สุดแต่ฟ้ากำหนด (ช่อง 3) 13.40 29.10 24.30 3.28 0.93 3.21 0.98
เทพธิดาขนนก (ช่อง 3) 14.30 33.80 28.50 3.59 0.91 3.35 0.97
เจ้าหญิงขอทาน (ช่อง 3) 11.80 31.30 25.90 3.39 0.97 3.29 1.02
มณีดิน (ช่อง 3) 11.10 31.60 19.30 3.34 0.96 3.39 0.98
เหยื่อมาร (ช่อง 3) 26.40 33.90 34.40 3.27 1.02 3.09 1.00
ยอดกตัญญู (ช่อง 3) 9.10 20.40 17.10 3.85 0.98 3.94 1.03
คุณยายสายเดี่ยว (ช่อง 3) 9.60 22.90 12.90 3.64 0.93 3.45 0.97
กลิ่นแก้วกลางใจ(ก่อนข่าว) (ช่อง 3) 16.70 34.80 28.80 3.35 0.96 3.17 1.02
หัวใจศิลา (ช่อง 5) 28.30 34.70 33.30 3.36 1.05 3.18 1.05
รอยอดีตแห่งรัก (ช่อง 5) 22.70 29.20 28.00 3.30 0.91 3.13 0.94
อุบัติเหตุหัวใจ (ช่อง 5) 15.30 26.90 24.70 3.32 0.94 3.25 0.99
ทะเลริษยา (ช่อง 5) 20.30 39.10 38.70 3.31 0.91 3.10 0.94
แสงสูรย์ (ช่อง 5) 20.00 36.50 37.30 3.15 0.97 3.05 1.01
นารีสโมสร (ช่อง 5) 16.70 19.50 13.40 3.47 0.97 3.29 1.00
วิวาห์อลเวง (ช่อง 7) 12.50 24.70 23.50 3.66 0.98 3.35 1.00
รักแท้แซ่บหลาย (ช่อง 7) 9.60 20.90 16.00 3.91 0.98 3.72 1.05
กาษา นาคา (ช่อง 7) 32.50 38.80 43.60 3.22 1.15 3.07 1.17
อภิมหึมามหาเศรษฐี (ช่อง 7) 8.70 19.40 13.30 3.76 0.98 3.58 1.06
เพลงรักริมฝั่งโขง (ช่อง 7) 7.70 15.20 11.30 3.86 1.01 3.72 1.06
สุภาพบุรุษชาวดิน (ช่อง 7) 8.40 22.70 15.90 3.58 0.96 3.51 1.00
ปู่โสมเฝ้าทรัพย์ (ช่อง 7) 6.60 28.50 29.00 3.74 0.98 3.82 1.02
รหัสริษยา (ช่อง 7) 18.30 28.20 29.10 3.44 0.99 3.26 1.00
คมคน (ช่อง 7) 8.10 22.80 36.50 3.60 0.97 3.51 1.04
เขาหาว่าหนูเป็นเจ้าหญิง (ช่อง7) 8.90 19.20 18.00 3.13 1.01 3.00 1.02
แรงฤทธิ์พิศวาส (ช่อง7) 23.60 32.10 25.10 3.19 1.02 3.03 1.01
เงื่อนริษยา (ช่อง 7) 16.70 30.40 23.90 3.19 1.00 3.03 0.98
หนุ่มผมยาวกับสาวโปงลาง (ก่อนข่าว) (ช่อง 7) 10.30 21.20 16.80 3.42 1.03 3.26 1.07
แก่งกระโดน (ก่อนข่าว) (ช่อง 7) 8.60 27.30 23.00 3.69 1.01 3.65 1.06
ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อการเลื่อนเวลาฉายละครโทรทัศน์ก่อนข่าวสองทุ่ม
ที่มีฉากรุนแรงไปฉายหลังข่าวภาคค่ำ
ลำดับที่ คิดเห็นต่อการเลื่อนเวลาฉายละครโทรทัศน์ก่อนข่าวสองทุ่มที่มีฉากรุนแรงไปฉายหลังข่าวภาคค่ำ ค่าร้อยละ
1 เห็นด้วย 43.1
2 ไม่เห็นด้วย 23.9
3 ไม่มีความเห็น 33.0
รวมทั้งสิ้น 100.0
เฉพาะผู้ที่ “เห็นด้วย” ระบุความคิดเห็นสำคัญเรียงตามลำดับดังนี้
- ทำให้เด็กไม่ลอกเลียนแบบพฤติกรรมในฉากละคร ร้อยละ 43.8
- ช่วงเวลาก่อนสองทุ่มเป็นช่วงที่เด็กดูโทรทัศน์ ร้อยละ 37.0
- เป็นช่วงเวลาที่เหมาะสม ร้อยละ 11.9
- อื่นๆ อาทิ เด็กได้ดูรายการที่สร้างสรรค์เหมาะกับวัย ละครบางเรื่องทำให้เด็กฝันเฟื่อง
ก้าวร้าว จินตนาการในเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ เด็กจะได้ทำการบ้านหรือกิจกรรมที่สร้างสรรค์ เป็นต้น ร้อยละ 7.3
เฉพาะผู้ที่ “ไม่เห็นด้วย” ระบุความคิดเห็นสำคัญเรียงตามลำดับดังนี้
- ช่วงเวลาไม่ใช่ตัวที่กำหนดการดูของคน ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมการดูและเนื้อหาของละครมากกว่า ร้อยละ 27.3
- เป็นช่วงเวลาที่ดึกเกินไป ร้อยละ 23.3
- ช่วงเวลาหลังข่าวภาคค่ำเป็นช่วงที่เด็กดูโทรทัศน์ ร้อยละ 18.8
- ควรให้ผู้ใหญ่แนะนำเด็กในการดูโทรทัศน์ ร้อยละ 10.8
- เด็กสามารถแยกแยะหรือพิจารณาได้ว่าสิ่งไหนถูกสิ่งไหนผิด ร้อยละ 10.2
- ละครบางเรื่องไม่ได้มีเนื้อหาที่รุนแรง ร้อยละ 6.8
- ทำให้เด็กดูจากสื่ออื่น ๆ ร้อยละ 2.8
ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความจำเป็นที่จะต้องเน้นเนื้อหาในละครก่อนข่าวสองทุ่ม
ลำดับที่ เนื้อหา จำเป็น ไม่จำเป็น ไม่มีความเห็น
1 เนื้อหาที่ส่งเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัว 87.8 6.5 5.7
2 เนื้อหาที่ส่งเสริมการทำความดี/ความเอื้ออาทร 89.6 4.9 5.5
3 เนื้อหาที่ส่งเสริมความสามารถของเด็กและเยาวชน 87.6 5.6 6.8
4 เนื้อหาที่เน้นความตื่นเต้นเร้าใจ 34.4 51.0 14.6
5 เนื้อหาที่เน้นตลก เบาสมอง ผ่อนคลาย 83.2 9.9 6.9
ตารางที่ 4 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุกลุ่มบุคคลที่ควรรับผิดชอบต่อเนื้อหารุนแรงไม่เหมาะสมกับเด็ก
ที่ปรากฎในรายการโทรทัศน์(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ กลุ่มบุคคลที่ควรรับผิดชอบต่อเนื้อหารุนแรงไม่เหมาะสมกับเด็กที่ปรากฎในรายการโทรทัศน์ ค่าร้อยละ
1 ผลิตรายการ / ผู้จัดละคร 74.1
2 หน่วยงานรัฐที่รับผิดชอบ เช่น กรมประชาสัมพันธ์ กระทรวงวัฒนธรรม 50.7
3 เจ้าของสถานี 50.2
4 สปอนเซอร์ / ผู้สนับสนุนรายการ 39.1
5 หน่วยงานบุคคลอื่น 6.3
6 ไม่จำเป็นต้องมีใครรับผิดชอบ 5.3
ตารางที่ 5 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความจำเป็นที่ “ผู้ผลิตรายการ/ผู้จัดละคร”จะต้องรับผิดชอบต่อการ
นำเสนอรายการของตนกรณีนำเสนอเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม
ลำดับที่ เนื้อหา จำเป็น ไม่จำเป็น ไม่มีความเห็น
1 พิจารณาตัดภาพที่ไม่เหมาะสม 85.5 6.8 7.7
2 นำเสนอเนื้อหาเชิงบวก 77.5 9.7 12.8
3 จัดเรต (rate) หรืออันดับรายการของตนเองอย่างถูกต้อง 68.1 14.8 17.1
ตารางที่ 6 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อการใช้มาตรการต่างๆ จัดการกับผู้ผลิตรายการ
ผู้สนับสนุนและเจ้าของสถานีที่ปล่อยให้มีการผลิตและเผยแพร่รายการที่ไม่เหมาะสมกับเด็ก
มาตรการ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความเห็น
1 การรณรงค์ให้งดดูรายการบางช่อง (ที่ทำไม่เหมาะสม) 60.1 22.0 17.9
2 การรณรงค์ให้ลดเลิกการซื้อสินค้าที่สนับสนุนรายการที่ไม่เหมาะสม 57.5 21.5 21.0
3 การใช้กฎหมายควบคุมหรือลงโทษ เช่น พรบ.คุ้มครองเด็ก พรบ.คุ้มครองผู้บริโภค 72.8 10.8 16.4
ตารางที่ 7 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระข้อเสนอแนะต่อการแก้ปัญหารายการโทรทัศน์ที่นำเสนอรายการ
ที่ไม่เหมาะสมกับเด็ก (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ ข้อเสนอแนะ ค่าร้อยละ
1 ควรตัดฉากที่รุนแรงออก 16.6
2 ควรเลื่อนเวลาในการออกอากาศ 11.5
3 ควรปลูกจิตสำนึกให้กับผู้ผลิตรายการ เจ้าของสถานี มีวิจารณญาณในการผลิตรายการ 8.0
4 ผู้ปกครองควรให้คำแนะนำเด็กในการเลือกดูรายการที่เหมาะสม 8.0
5 ควรปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสม 6.7
6 ควรเพิ่มรายการตลก เบาสมอง 5.8
7 ควรแต่งกายให้เหมาะสม 5.4
8 ควรกำหนดบทลงโทษให้กับผู้ผลิตรายการที่มีเนื้อหารุนแรง 5.1
9 กำหนดเวลาออกอากาศ 5.1
10 ควรลดโฆษณาที่ล่อแหลม 4.5
11 ควรมีข้อเสนอแนะให้แง่คิดในตอนจบของรายการ 3.8
12 ในช่วงเวลาที่เด็กดูโทรทัศน์ควรนำเสนอเรื่องที่มีเนื้อหาสาระ 3.5
13 ควรจัดละครที่ไม่เป็นอันตรายต่อเด็ก 3.2
14 ไม่ควรให้มีการถ่ายทอดรายการสดเพราะไม่สามารถตัดสิ่งที่ไม่เหมาะสมได้ 3.2
15 อื่นๆ อาทิ ควรมีการควบคุมความถูกต้องก่อนออกฉาย จัดช่องสำหรับเด็กโดยเฉพาะ
ควรปรับการพูดจาให้เหมาะสม ควรมีช่องข้อความ/อักษรวิ่งเตือน เด็กไม่สมควรดู ไม่ควรลอกเลียนแบบ 9.6
สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ โทร.0-2719-1549-50 www.abacpoll.au.edu หรือ www.abacpoll.com
--เอแบคโพลล์--
-พห-
และความรุนแรงในสื่อโทรทัศน์ : กรณีศึกษาประชาชนอายุ 18-60 ปีในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น 1,141 คน ซึ่งดำเนินโครงการ ระหว่าง
วันที่ 12 — 15 กรกฎาคม 2550 ประเด็นสำคัญที่ค้นพบจากการสำรวจในครั้งนี้ มีดังนี้
จากการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อละครที่นำเสนอทางสถานีโทรทัศน์เกี่ยวกับเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมสำหรับเด็กอายุ 3-12 ปี พบ
ว่า 3 อันดับแรกของละครที่มีเนื้อหาการแสดงไม่เหมาะสมทางเพศมากที่สุดคือเรื่องกาษา นาคา คิดเป็นร้อยละ 32.5 รองลงมาคือร้อยละ 28.3
ได้แก่เรื่องหัวใจศิลา และร้อยละ 26.4 ได้แก่ละครเรื่องเหยื่อมาร ส่วนละครที่มีการใช้ภาษาหรือคำพูดที่ไม่สุภาพ/รุนแรงมากที่สุดคือเรื่องรักเล
ห์เสน่ห์ลวง คิดเป็นร้อยละ 50.1 รองลงมาคือร้อยละ 39.1 ได้แก่เรื่องทะเลริษยา และร้อยละ 38.8 ได้แก่เรื่อง กาษา นาคา สำหรับละครที่มีฉาก
การแสดงที่รุนแรงมากที่สุดคือเรื่องกาษา นาคา คิดเป็นร้อยละ 43.6 รองลงมาคือร้อยละ 38.7 ได้แก่เรื่องทะเลริษยา และร้อยละ 37.3 ได้แก่
เรื่องแสงสูรย์
จากนั้นได้สอบถามตัวอย่างถึงความคิดเห็นในการเลื่อนเวลาฉายละครโทรทัศน์ก่อนข่าวสองทุ่มที่มีฉากรุนแรงไปฉายหลังข่าวภาคค่ำ พบว่า
ตัวอย่างส่วนใหญ่หรือร้อยละ 43.1 ระบุเห็นด้วยกับความคิดดังกล่าวโดยให้เหตุผลสำคัญคือทำให้เด็กไม่ลอกเลียนแบบพฤติกรรมในฉากละคร ช่วงเวลา
ก่อนสองทุ่มเป็นช่วงเวลาที่เด็กดูรายการโทรทัศน์มาก เห็นว่าช่วงเวลาหลังข่าวสองทุ่มเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมในการฉายละครโทรทัศน์ เป็นต้น ใน
ขณะที่ร้อยละ 23.9 ระบุไม่เห็นด้วยเพราะเห็นว่าช่วงเวลาไม่ใช่ตัวที่จะกำหนดการดูของคน แต่ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมการดูและเนื้อหาละครมากกว่า เป็น
ช่วงเวลาที่ดึกเกินไป หลังข่าวภาคค่ำเป็นช่วงเวลาที่เด็กดูโทรทัศน์ ควรให้ผู้ใหญ่แนะนำเด็กในการดู ละครบางเรื่องไม่ได้มีเนื้อหาที่รุนแรง เป็นต้น
และร้อยละ 33.0 ไม่ระบุความเห็น
สำหรับความคิดเห็นของตัวอย่างต่อเนื้อหาของละครก่อนข่าวสองทุ่ม พบว่า ตัวอย่างร้อยละ 89.6 ระบุว่าเนื้อหาของละครก่อนข่าวสองทุ่ม
จะต้องนำเสนอเนื้อหาที่ส่งเสริมการทำความดี/ความเอื้ออาทร รองลงมาคือร้อยละ 87.8 ควรนำเสนอเนื้อหาที่ส่งเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัว ร้อย
ละ 87.6 และร้อยละ 83.2 ระบุควรมีเนื้อหาที่ส่งเสริมความสามารถของเด็กและเยาวชน และควรเป็นเนื้อหาที่เน้นตลก-เบาสมอง ผ่อนคลาย ตาม
ลำดับ ส่วนความคิดเห็นของตัวอย่างที่มีต่อ “ผู้ผลิตรายการ/ผู้จัดละคร” ในการแสดงความรับผิดชอบต่อการนำเสนอรายการของตนกรณีนำเสนอเนื้อหาที่
ไม่เหมาะสม โดยตัวอย่าง ร้อยละ 85.5 ระบุจะต้องตัดภาพที่ไม่เหมาะสมออก รองลงมาคือร้อยละ 77.5 ระบุควรนำเสนอเนื้อเรื่องในเชิงบวก
และร้อยละ 68.1 ระบุควรจัดเรต (rate) หรืออันดับรายการของตนเองอย่างถูกต้อง ตามลำดับ
ประเด็นที่ค้นพบอีกประเด็นคือกลุ่มบุคคลที่ตัวอย่างต้องการให้แสดงความรับผิดชอบต่อเนื้อหารุนแรงไม่เหมาะสมกับเด็กที่ปรากฎในรายการ
โทรทัศน์คือร้อยละ 74.1 ระบุผู้ผลิตรายการ/ผู้จัดละคร รองมาคือร้อยละ 50.7 ระบุหน่วยงานรัฐที่รับผิดชอบ เช่น กรมประชาสัมพันธ์ กระทรวง
วัฒนธรรม ร้อยละ 50.2 ระบุเจ้าของสถานี ร้อยละ 39.1 ระบุสปอนเซอร์/ผู้สนับสนุนรายการ และร้อยละ 6.3 ระบุให้หน่วยงานอื่นเป็นผู้รับผิดชอบ
ตามลำดับ
ส่วนความคิดเห็นต่อการใช้มาตรการต่างๆ เพื่อจัดการกับผู้ผลิตรายการ ผู้สนับสนุน และเจ้าของสถานีโทรทัศน์ที่ปล่อยให้ผลิตและเผยแพร่
รายการที่ไม่เหมาะสมกับเด็ก พบว่าส่วนใหญ่เห็นด้วยกับทุกมาตรการที่สอบถามคือ ร้อยละ 72.8 ระบุควรใช้กฎหมายควบคุมหรือลงโทษ เช่น พรบ. คุ้ม
ครองเด็ก พรบ.คุ้มครองผู้บริโภค รองลงมาคือร้อยละ 60.1 ระบุรณรงค์ให้งดดูรายการในช่องที่ทำไม่เหมาะสม ร้อยละ 57.5 ระบุเห็นด้วยกับการ
รณรงค์ให้ลดเลิกการซื้อสินค้าที่สนับสนุนรายการที่ไม่เหมาะสม ตามลำดับ
ประเด็นสุดท้ายข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหารายการโทรทัศน์ที่ไม่เหมาะสมกับเด็กที่ตัวอย่างระบุ 5 อันดับแรก คือ ร้อยละ 16.6 ระบุควร
ตัดฉากที่รุนแรงออก รองลงมาคือ ร้อยละ 11.5 ระบุควรเลื่อนเวลาในการออกอากาศ ร้อยละ 8.0 ระบุควรปลูกจิตสำนึกให้กับผู้ผลิตรายการ เจ้า
ของสถานี ให้มีวิจารณาญาณในการผลิตรายการและผู้ปกครองควรให้คำแนะนำเด็กในการเลือกดูรายการที่เหมาะสมในสัดส่วนที่เท่ากัน และร้อยละ
6.7 ระบุควรปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสม ตามลำดับ
โปรดพิจารณารายละเอียดของโครงการวิจัย
วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อความเหมาะสมของเนื้อหาที่นำเสนอในละคร
2. เพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อช่วงเวลาในการนำเสนอละครที่เหมาะสม
3. เพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อมาตรการในการควบคุมการนำเสนอรายการที่ไม่เหมาะสมกับเด็ก
4. เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาในหัวข้อเรื่องนี้อย่างลึกซึ้งต่อไป
ระเบียบวิธีการทำโพลล์
โครงการสำรวจภาคสนามของสำนักวิจัยเอแบคโพลล์เรื่อง “ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพ และความรุนแรงในสื่อโทรทัศน์ :กรณีศึกษา
ประชาชนอายุ 18-60 ปีในเขตกรุงเทพมหานคร” ในครั้งนี้ ดำเนินโครงการระหว่างวันที่ 12 — 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2550
ประเภทของการสำรวจวิจัยครั้งนี้ คือ การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) กลุ่มประชากรเป้าหมาย คือ ประชาชนอายุ 18-60
ปี ในกรุงเทพมหานคร เทคนิควิธีการสุ่มตัวอย่าง ได้แก่ การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มเชิงชั้นภูมิหลายขั้น และกำหนดลักษณะของตัวอย่างให้สอดคล้องกับ
ประชากรเป้าหมายจากการทำสำมะโน ขนาดตัวอย่างที่ทำการสำรวจ จำนวน 1,141 ตัวอย่าง ช่วงความเชื่อมั่นอยู่ในระดับร้อยละ 95 ขณะที่ขอบเขต
ความคลาดเคลื่อนจากการกำหนดขนาดตัวอย่างอยู่ที่ +/- ร้อยละ 5 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิธีการเก็บรวบรวม
ข้อมูล คือ การสัมภาษณ์
หลังจากนั้นคณะผู้วิจัยได้ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของแบบสอบถามทุกชุดก่อนนำเข้าวิเคราะห์ข้อมูล
ลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง
จากการพิจารณาลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง พบว่า
ตัวอย่าง ร้อยละ 68.5 ระบุเป็นหญิง
ในขณะที่ร้อยละ 31.5 ระบุเป็นชาย
ตัวอย่าง ร้อยละ 9.4 อายุต่ำกว่า 20 ปี
ร้อยละ 40.5 อายุระหว่าง 20—29 ปี
ร้อยละ 28.5 อายุระหว่าง 30—39 ปี
ร้อยละ 14.3 อายุระหว่าง 40—49 ปี
และ ร้อยละ 7.3 อายุ 50-60 ปี
ตัวอย่าง ร้อยละ 54.3 ระบุโสด
ร้อยละ 41.6 ระบุสมรส
และร้อยละ 4.1 ระบุหม้าย/หย่าร้าง/แยกกันอยู่
ตัวอย่าง ร้อยละ 30.9 ระบุสำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้นหรือต่ำกว่า
ร้อยละ 28.2 ระบุสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ร้อยละ 12.1 ระบุสำเร็จการศึกษาอนุปริญญาหรือเทียบเท่า
ร้อยละ 26.6 ระบุสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
และร้อยละ 2.2 ระบุสำเร็จการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี
นอกจากนี้ตัวอย่าง ร้อยละ 34.8 ระบุอาชีพค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว
ร้อยละ 30.7 ระบุอาชีพรับจ้างทั่วไป
ร้อยละ 11.7 ระบุอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน รัฐวิสาหกิจ
ร้อยละ 11.3 ระบุเป็นนักเรียน/นักศึกษา
ร้อยละ 8.0 ระบุเป็นแม่บ้าน/พ่อบ้าน/เกษียณอายุ
ร้อยละ 3.3 ระบุอาชีพข้าราชการ/พนักงาน
และร้อยละ 0.2 ระบุไม่ได้ประกอบอาชีพ/ว่างงาน
จากนั้นได้สอบถามตัวอย่างถึงการมีบุตรพบว่า ตัวอย่างร้อยละ 42.8 ระบุมีบุตร และร้อยละ 57.2 ไม่มีบุตร
โปรดพิจารณาประเด็นสำคัญที่ค้นพบ
ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุละครที่มีเนื้อหาไม่เหมาะสมสำหรับเด็กอายุระหว่าง 3 -12 ปี
ประเด็น อันดับ 1 อันดับ 2 อันดับ 3
มีการแสดงไม่เหมาะสมทางเพศ กาษา นาคา (32.5) หัวใจศิลา (28.3) เหยื่อมาร (26.4)
ใช้ภาษาหรือคำพูดที่ไม่สุภาพ/รุนแรง รักเล่ห์เสน่ห์ลวง (50.1) ทะเลริษยา (39.1) กาษา นาคา (38.8)
มีฉากการแสดงที่รุนแรง กาษา นาคา (43.6) ทะเลริษยา (38.7) แสงสูรย์ (37.3)
ข้อมูลทั้งหมดของตารางที่ 1
ละครที่ชม มีการแสดง ใช้ภาษาหรือ มีฉาก ความบันเทิง คุณภาพสร้างสรรค์สังคม
ไม่เหมาะสม คำพูดที่ไม่สุภาพ/ การแสดง (คะแนนเต็ม 5) (คะแนนเต็ม 5)
ทางเพศ รุนแรง ที่รุนแรง คะแนน S.D. คะแนน S.D.
รักเล่ห์เสน่ห์ลวง (ช่อง 3) 19.10 50.10 24.50 3.47 0.90 3.16 0.94
รักเธอทุกวัน (ช่อง 3) 9.40 17.40 19.10 3.95 0.92 3.78 0.99
สุดแต่ฟ้ากำหนด (ช่อง 3) 13.40 29.10 24.30 3.28 0.93 3.21 0.98
เทพธิดาขนนก (ช่อง 3) 14.30 33.80 28.50 3.59 0.91 3.35 0.97
เจ้าหญิงขอทาน (ช่อง 3) 11.80 31.30 25.90 3.39 0.97 3.29 1.02
มณีดิน (ช่อง 3) 11.10 31.60 19.30 3.34 0.96 3.39 0.98
เหยื่อมาร (ช่อง 3) 26.40 33.90 34.40 3.27 1.02 3.09 1.00
ยอดกตัญญู (ช่อง 3) 9.10 20.40 17.10 3.85 0.98 3.94 1.03
คุณยายสายเดี่ยว (ช่อง 3) 9.60 22.90 12.90 3.64 0.93 3.45 0.97
กลิ่นแก้วกลางใจ(ก่อนข่าว) (ช่อง 3) 16.70 34.80 28.80 3.35 0.96 3.17 1.02
หัวใจศิลา (ช่อง 5) 28.30 34.70 33.30 3.36 1.05 3.18 1.05
รอยอดีตแห่งรัก (ช่อง 5) 22.70 29.20 28.00 3.30 0.91 3.13 0.94
อุบัติเหตุหัวใจ (ช่อง 5) 15.30 26.90 24.70 3.32 0.94 3.25 0.99
ทะเลริษยา (ช่อง 5) 20.30 39.10 38.70 3.31 0.91 3.10 0.94
แสงสูรย์ (ช่อง 5) 20.00 36.50 37.30 3.15 0.97 3.05 1.01
นารีสโมสร (ช่อง 5) 16.70 19.50 13.40 3.47 0.97 3.29 1.00
วิวาห์อลเวง (ช่อง 7) 12.50 24.70 23.50 3.66 0.98 3.35 1.00
รักแท้แซ่บหลาย (ช่อง 7) 9.60 20.90 16.00 3.91 0.98 3.72 1.05
กาษา นาคา (ช่อง 7) 32.50 38.80 43.60 3.22 1.15 3.07 1.17
อภิมหึมามหาเศรษฐี (ช่อง 7) 8.70 19.40 13.30 3.76 0.98 3.58 1.06
เพลงรักริมฝั่งโขง (ช่อง 7) 7.70 15.20 11.30 3.86 1.01 3.72 1.06
สุภาพบุรุษชาวดิน (ช่อง 7) 8.40 22.70 15.90 3.58 0.96 3.51 1.00
ปู่โสมเฝ้าทรัพย์ (ช่อง 7) 6.60 28.50 29.00 3.74 0.98 3.82 1.02
รหัสริษยา (ช่อง 7) 18.30 28.20 29.10 3.44 0.99 3.26 1.00
คมคน (ช่อง 7) 8.10 22.80 36.50 3.60 0.97 3.51 1.04
เขาหาว่าหนูเป็นเจ้าหญิง (ช่อง7) 8.90 19.20 18.00 3.13 1.01 3.00 1.02
แรงฤทธิ์พิศวาส (ช่อง7) 23.60 32.10 25.10 3.19 1.02 3.03 1.01
เงื่อนริษยา (ช่อง 7) 16.70 30.40 23.90 3.19 1.00 3.03 0.98
หนุ่มผมยาวกับสาวโปงลาง (ก่อนข่าว) (ช่อง 7) 10.30 21.20 16.80 3.42 1.03 3.26 1.07
แก่งกระโดน (ก่อนข่าว) (ช่อง 7) 8.60 27.30 23.00 3.69 1.01 3.65 1.06
ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อการเลื่อนเวลาฉายละครโทรทัศน์ก่อนข่าวสองทุ่ม
ที่มีฉากรุนแรงไปฉายหลังข่าวภาคค่ำ
ลำดับที่ คิดเห็นต่อการเลื่อนเวลาฉายละครโทรทัศน์ก่อนข่าวสองทุ่มที่มีฉากรุนแรงไปฉายหลังข่าวภาคค่ำ ค่าร้อยละ
1 เห็นด้วย 43.1
2 ไม่เห็นด้วย 23.9
3 ไม่มีความเห็น 33.0
รวมทั้งสิ้น 100.0
เฉพาะผู้ที่ “เห็นด้วย” ระบุความคิดเห็นสำคัญเรียงตามลำดับดังนี้
- ทำให้เด็กไม่ลอกเลียนแบบพฤติกรรมในฉากละคร ร้อยละ 43.8
- ช่วงเวลาก่อนสองทุ่มเป็นช่วงที่เด็กดูโทรทัศน์ ร้อยละ 37.0
- เป็นช่วงเวลาที่เหมาะสม ร้อยละ 11.9
- อื่นๆ อาทิ เด็กได้ดูรายการที่สร้างสรรค์เหมาะกับวัย ละครบางเรื่องทำให้เด็กฝันเฟื่อง
ก้าวร้าว จินตนาการในเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ เด็กจะได้ทำการบ้านหรือกิจกรรมที่สร้างสรรค์ เป็นต้น ร้อยละ 7.3
เฉพาะผู้ที่ “ไม่เห็นด้วย” ระบุความคิดเห็นสำคัญเรียงตามลำดับดังนี้
- ช่วงเวลาไม่ใช่ตัวที่กำหนดการดูของคน ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมการดูและเนื้อหาของละครมากกว่า ร้อยละ 27.3
- เป็นช่วงเวลาที่ดึกเกินไป ร้อยละ 23.3
- ช่วงเวลาหลังข่าวภาคค่ำเป็นช่วงที่เด็กดูโทรทัศน์ ร้อยละ 18.8
- ควรให้ผู้ใหญ่แนะนำเด็กในการดูโทรทัศน์ ร้อยละ 10.8
- เด็กสามารถแยกแยะหรือพิจารณาได้ว่าสิ่งไหนถูกสิ่งไหนผิด ร้อยละ 10.2
- ละครบางเรื่องไม่ได้มีเนื้อหาที่รุนแรง ร้อยละ 6.8
- ทำให้เด็กดูจากสื่ออื่น ๆ ร้อยละ 2.8
ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความจำเป็นที่จะต้องเน้นเนื้อหาในละครก่อนข่าวสองทุ่ม
ลำดับที่ เนื้อหา จำเป็น ไม่จำเป็น ไม่มีความเห็น
1 เนื้อหาที่ส่งเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัว 87.8 6.5 5.7
2 เนื้อหาที่ส่งเสริมการทำความดี/ความเอื้ออาทร 89.6 4.9 5.5
3 เนื้อหาที่ส่งเสริมความสามารถของเด็กและเยาวชน 87.6 5.6 6.8
4 เนื้อหาที่เน้นความตื่นเต้นเร้าใจ 34.4 51.0 14.6
5 เนื้อหาที่เน้นตลก เบาสมอง ผ่อนคลาย 83.2 9.9 6.9
ตารางที่ 4 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุกลุ่มบุคคลที่ควรรับผิดชอบต่อเนื้อหารุนแรงไม่เหมาะสมกับเด็ก
ที่ปรากฎในรายการโทรทัศน์(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ กลุ่มบุคคลที่ควรรับผิดชอบต่อเนื้อหารุนแรงไม่เหมาะสมกับเด็กที่ปรากฎในรายการโทรทัศน์ ค่าร้อยละ
1 ผลิตรายการ / ผู้จัดละคร 74.1
2 หน่วยงานรัฐที่รับผิดชอบ เช่น กรมประชาสัมพันธ์ กระทรวงวัฒนธรรม 50.7
3 เจ้าของสถานี 50.2
4 สปอนเซอร์ / ผู้สนับสนุนรายการ 39.1
5 หน่วยงานบุคคลอื่น 6.3
6 ไม่จำเป็นต้องมีใครรับผิดชอบ 5.3
ตารางที่ 5 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความจำเป็นที่ “ผู้ผลิตรายการ/ผู้จัดละคร”จะต้องรับผิดชอบต่อการ
นำเสนอรายการของตนกรณีนำเสนอเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม
ลำดับที่ เนื้อหา จำเป็น ไม่จำเป็น ไม่มีความเห็น
1 พิจารณาตัดภาพที่ไม่เหมาะสม 85.5 6.8 7.7
2 นำเสนอเนื้อหาเชิงบวก 77.5 9.7 12.8
3 จัดเรต (rate) หรืออันดับรายการของตนเองอย่างถูกต้อง 68.1 14.8 17.1
ตารางที่ 6 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระบุความคิดเห็นต่อการใช้มาตรการต่างๆ จัดการกับผู้ผลิตรายการ
ผู้สนับสนุนและเจ้าของสถานีที่ปล่อยให้มีการผลิตและเผยแพร่รายการที่ไม่เหมาะสมกับเด็ก
มาตรการ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความเห็น
1 การรณรงค์ให้งดดูรายการบางช่อง (ที่ทำไม่เหมาะสม) 60.1 22.0 17.9
2 การรณรงค์ให้ลดเลิกการซื้อสินค้าที่สนับสนุนรายการที่ไม่เหมาะสม 57.5 21.5 21.0
3 การใช้กฎหมายควบคุมหรือลงโทษ เช่น พรบ.คุ้มครองเด็ก พรบ.คุ้มครองผู้บริโภค 72.8 10.8 16.4
ตารางที่ 7 แสดงค่าร้อยละของตัวอย่างที่ระข้อเสนอแนะต่อการแก้ปัญหารายการโทรทัศน์ที่นำเสนอรายการ
ที่ไม่เหมาะสมกับเด็ก (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
ลำดับที่ ข้อเสนอแนะ ค่าร้อยละ
1 ควรตัดฉากที่รุนแรงออก 16.6
2 ควรเลื่อนเวลาในการออกอากาศ 11.5
3 ควรปลูกจิตสำนึกให้กับผู้ผลิตรายการ เจ้าของสถานี มีวิจารณญาณในการผลิตรายการ 8.0
4 ผู้ปกครองควรให้คำแนะนำเด็กในการเลือกดูรายการที่เหมาะสม 8.0
5 ควรปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสม 6.7
6 ควรเพิ่มรายการตลก เบาสมอง 5.8
7 ควรแต่งกายให้เหมาะสม 5.4
8 ควรกำหนดบทลงโทษให้กับผู้ผลิตรายการที่มีเนื้อหารุนแรง 5.1
9 กำหนดเวลาออกอากาศ 5.1
10 ควรลดโฆษณาที่ล่อแหลม 4.5
11 ควรมีข้อเสนอแนะให้แง่คิดในตอนจบของรายการ 3.8
12 ในช่วงเวลาที่เด็กดูโทรทัศน์ควรนำเสนอเรื่องที่มีเนื้อหาสาระ 3.5
13 ควรจัดละครที่ไม่เป็นอันตรายต่อเด็ก 3.2
14 ไม่ควรให้มีการถ่ายทอดรายการสดเพราะไม่สามารถตัดสิ่งที่ไม่เหมาะสมได้ 3.2
15 อื่นๆ อาทิ ควรมีการควบคุมความถูกต้องก่อนออกฉาย จัดช่องสำหรับเด็กโดยเฉพาะ
ควรปรับการพูดจาให้เหมาะสม ควรมีช่องข้อความ/อักษรวิ่งเตือน เด็กไม่สมควรดู ไม่ควรลอกเลียนแบบ 9.6
สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ โทร.0-2719-1549-50 www.abacpoll.au.edu หรือ www.abacpoll.com
--เอแบคโพลล์--
-พห-