การเจรจา FTA ไทย-ชิลี รอบที่ 4

ข่าวทั่วไป Tuesday April 10, 2012 15:45 —กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ

นางศรีรัตน์ รัษฐปานะ อธิบดีกรมเจรจาการค๎าระหวำงประเทศ หัวหน๎าคณะเจรจาจัดทาความตกลงเขตการค๎าเสรี ไทย-ชิลี เปิดเผยวำ ได๎นาคณะผู้แทนไทยเดินทางไปเจรจาเพื่อทาความตกลงเขตการค๎าเสรี (FTA) ไทย-ชิลี ครั้งที่ 4 วันที่ 19 - 21 มีนาคม 2555 ณ กรุงซานติอาโก ประเทศชิลี การเจรจาครั้งนี้มีความคืบหน๎าเป็นที่นำพอใจ และทั้งสองฝ่ายยืนยันเป้าหมายที่จะสรุปผลการเจรจาภายในเดือนสิงหาคม 2555 ความสาเร็จในการเจรจาทาความตกลงนี้จะสํงผลในการยกระดับความสัมพันธ์ทวิภาคีซึ่งครบรอบ 50 ปีในปีนี้ สู่ความเป็นพันธมิตรทางเศรษฐกิจระหวำงไทยและชิลี

ชิลีเป็นประเทศหนึ่งที่ประสบความสาเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจจากการใช๎นโยบายเปิดเสรีทางการค๎าและการลงทุนอยำงตํอเนื่อง ปัจจุบัน เศรษฐกิจชิลีใหญํเป็นอันดับสองในละตินอเมริการองจากบราซิล และชิลี มีเครือขำยทางธุรกิจการค๎าและการลงทุนที่กว๎างขวางในภูมิภาคนี้ รัฐบาลชิลีได๎กาหนดเป้าหมายที่จะเรํงพัฒนาประเทศสู่การเป็นประเทศที่พัฒนาแล๎ว (developed country) และเพิ่มรายได๎ตํอหัวของประชากรจาก 16,172 เหรียญสหรัฐฯ ในปัจจุบัน เป็น 20,000 เหรียญสหรัฐฯ ภายในปี 2563 โดยรัฐบาลชิลีมีนโยบายที่ชัดเจนในการจัดทาความตกลงเขตการค๎าเสรี (FTAS) กับประเทศคู่ค้าทั่วโลก และได๎ทาความ ตกลงแล๎วกับ 60 ประเทศ รวมทั้งกับ สหรัฐฯ สหภาพยุโรป ออสเตรเลีย เกาหลีใต๎ จีน มาเลเซีย และเวียดนาม ปัจจุบัน ชิลีเป็นหนึ่งในเก๎าประเทศสมาชิกเอเปคที่อยู่ระหวำงการเจรจาจัดทาความตกลง TPP (Trans Pacific Strategic Partnership) ซึ่งเป็นความตกลงเขตการค๎าเสรียุคใหมํที่มีมาตรฐานสูง โดยสหรัฐฯมีบทบาทนาในกลุ่ม และมีสมาชิกอาเซียนที่เป็นสมาชิกเอเปครวมสี่ประเทศเข๎ารํวมด๎วย ได๎แกํ สิงคโปร์ มาเลเซีย บรูไน และเวียดนาม

การเจรจาจัดทาความตกลงเขตการค๎าเสรีระหวำงไทยและชิลี เริ่มขึ้นเมื่อเดือนเมษายน 2554 ครอบคลุมการค๎าสินค๎า การค๎าบริการ การลงทุน กฎวำด๎วยถิ่นกาเนิดสินค๎า พิธีการศุลกากร มาตรการปกป้องและเยียวยาทางการค๎า และความรํวมมือทางเศรษฐกิจในด๎านตำงๆที่เห็นชอบรํวมกัน เชํน ความรํวมมือด๎านการเกษตร ป่าไม้ เหมืองแร่ การพัฒนาธุรกิจขนาดกลางและขนาดยํอม (SMEs) การทํองเที่ยว โลจิสติกส และการอานวยความสะดวกทางการค๎า เป็นต๎น

ในด๎านการเจรจาเปิดตลาดสินค๎า ทั้งสองฝ่ายได๎ตกลงกันเกี่ยวกับกรอบและรูปแบบการเปิดตลาดสินค๎า โดยได๎มีการแลกเปลี่ยนข๎อเสนอและเรียกร๎องในการลดภาษีระหวำงกัน สินค๎าสาคัญๆที่ไทยคาดวำจะได๎ประโยชน์ในการเข๎าตลาดชิลี ได๎แกํ รถปิคอัพและรถยนต์โดยสาร ชิ้นสํวนยานยนต์ ผลิตภัณฑ์เครื่องใช๎ไฟฟ้า สิ่งทอและเสื้อผ๎า ปูนซีเมนต์ เม็ดพลาสติก ผลิตภัณฑ์พลาสติก ผลิตภัณฑ์ยาง อาหารกระป๋องและอาหารสาเร็จรูป เป็นต๎น

ทั้งนี้ เศรษฐกิจของไทยและชิลีตำงเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน เพราะชิลีมุ่งเน้นในด้านอุตสาหกรรมเหมืองแรํและธุรกิจบริการเป็นหลัก ในขณะที่ไทยมีความสามารถในการผลิตสินค๎าอยำงหลากหลาย และสินค๎าไทยได๎รับการยอมรับจากผู้บริโภคชาวชิลีเป็นอยำงดี อยำงไรก็ดี การที่ชิลีได๎ทาความตกลง FTAs กับหลายประเทศ ทาให๎ไทยเสียเปรียบประเทศเหลำนั้นในด๎านภาษีศุลกากรที่ชิลีเรียกเก็บจากไทยสูงกวำ ซึ่งสํงผลกระทบตํอการแขํงขันของไทยในตลาดชิลี การทาความตกลง FTA ระหวำงไทยกับชิลี จึงมีเป้าหมายที่จะชํวยลดผลกระทบและสร๎างโอกาสใหมํๆ ในการแขํงขันของผู้ประกอบการไทยในตลาดนี้ และชิลีสามารถที่จะเป็นฐานสาหรับการขยายเครือขำยการค๎าและการลงทุนของไทยตํอไปยังประเทศอื่นๆในภูมิภาคละตินอเมริกาด๎วย

นอกจากการเจรจา FTA ไทย — ชิลี แล้ว คณะผู้เจรจาของประเทศไทยได๎พบและหารือกับนาย Juan Pablo Mir ประธานบริษัท Mitsubishi Motor Corporation Chile ผู้นาเข้ารถยนต์จากหลายประเทศ รวมทั้งจากไทย และอยู่ในกลุ่มบริษัทใหญํที่ทาธุรกิจหลายด๎าน นาย Mir ได๎ให๎ข๎อมูลเกี่ยวกับตลาดรถยนต์ในชิลี โดยกลำววำชิลีเป็นประเทศที่มีกาลังซื้อสูงและมีการใช๎รถปิคอัพในอุตสาหกรรมเหมืองแรํเป็นจานวนมาก ปัจจุบัน ไทยเป็นแหลํงที่ชิลีนาเข๎ารถยนต์ (ทั้งรถปิคอัพและรถยนต์ประเภทอื่นๆ) สูงเป็นอันดับ 5 โดยชิลีนาเข๎ารถยนต์จากประเทศตำงๆเรียงตามลาดับคือ เกาหลีใต๎ (33%) ญี่ปุ่น (14%) จีน (13%) เม็กซิโก (10%) ไทย (7%) และอินเดีย (6%) ในสํวนของรถปิคอัพ ไทยครองแชมป์เป็นอันดับ 1 ในตลาดชิลีอยำงตํอเนื่อง คิดเป็นร๎อยละ 32 ของมูลคำนาเข๎าทั้งหมด

นาย Mir ได๎เปรียบเทียบกับกรณีของเกาหลีใต๎ซึ่งทาความตกลง FTA กับชิลีตั้งแตํปี 2546 และนับตั้งแตํมีความตกลงดังกลำว การนาเข๎ารถยนต์จากเกาหลีใต๎ก็เพิ่มสูงขึ้นอยำงรวดเร็วและตํอเนื่อง เพราะเกาหลีใต๎ได๎รับสิทธิพิเศษด๎านภาษีศุลกากรที่ลดลงจากร๎อยละ 6 เป็นร๎อยละศูนย์ และมุ่งขยายตลาดอยำงแข็งขัน ภายในระยะเวลา 10 ปีนับตั้งแตํความตกลงฯมีผลใช๎บังคับ ชิลีนาเข๎ารถยนต์จากเกาหลีใต๎เพิ่มสูงขึ้นสองเทำตัว เกาหลีใต๎ มีสัดสํวนตลาดเพิ่มขึ้นจากร๎อยละ 18.8 เมื่อปี 2546 เป็นร๎อยละ 32.6 ในปี 2554 ข๎ามแซงประเทศคู่แขํงสาคัญคือญี่ปุ่นและจีน นาย Mir จึงได๎ให๎ความสนับสนุนการเจรจาจัดทาความตกลง FTA ระหวำงไทยกับชิลี และเห็นวำ ไทยควรเรํงเจรจากับชิลีให๎เสร็จโดยเร็ว เพื่อให๎สินค๎าไทยได๎รับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรซึ่งจะทาให๎สินค๎าไทยสามารถแขํงขันในตลาดชิลีได๎มากขึ้น รวมทั้งรถยนต์ โดยเฉพาะอยำงยิ่งรถปิคอัพซึ่งไทยเป็นผู้นาตลาดอยู่แล้วในปัจจุบัน จะขยายสัดสํวนตลาดได๎มากยิ่งขึ้น อีกทั้งเป็นโอกาสที่จะขยายการสํงออกรถยนต์โดยสาร (ปัจจุบันมีการนาเข๎าจากไทยเป็นสัดสํวนต่าเพียงร๎อยละ 1 เทำนั้น) รวมทั้งชิ้นสํวนยานยนต์ด๎วย

กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เลขที่ 44/100 ถ.นนทบุรี1 ต. บางกระสอ อ. เมือง จ. นนทบุรี 11000 โทรศัพท์ (66) 2507-7444 แฟกซ์ (66) 2547-5630


แท็ก ชิลี   FTA  

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ