ในโอกาสที่วันเลือกตั้งครั้งสำคัญของคนไทย จะมีขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 23 ธันวาคม 2550 ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัย
กรุงเทพจึงได้ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นเรื่อง “คนไทยกับการเลือกตั้ง 23 ธันวาคม” ขึ้น
โดยเก็บข้อมูลจากประชาชนผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งใน 16 จังหวัดจากทั้ง 8 กลุ่มจังหวัดที่คณะกรรมการการเลือกตั้งกำหนดสำหรับการเลือกตั้ง
ส.ส.แบบสัดส่วน ได้แก่ กรุงเทพฯ สมุทรปราการ ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา นครปฐม ลพบุรี ชลบุรี เชียงใหม่ พะเยา ขอนแก่น มหาสารคาม
กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด อุบลราชธานี พัทลุง และสงขลา ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 1,507 คน เก็บข้อมูลภาคสนามเมื่อวันที่ 16-19 พฤศจิกายนที่ผ่านมา
สรุปผลได้ดังนี้
1. การรับทราบกำหนดการเลือกตั้งที่จะมีขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 23 ธันวาคมนี้
- ทราบ ร้อยละ 95.9
- ไม่ทราบ ร้อยละ 4.1
2. ความตั้งใจที่จะออกไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ส.ส. ในการเลือกตั้งครั้งนี้
- ตั้งใจว่าจะไปเลือกตั้ง.............ร้อยละ 92.4
เพราะ ต้องการไปใช้สิทธิตามหน้าที่ เพื่อให้ได้คนดีมาปกครองบ้านเมือง และกลัวถูกตัดสิทธิ์ทางการ เมือง ฯลฯ
- ตั้งใจว่าจะไม่ไปเลือกตั้ง...........ร้อยละ 5.6
เพราะ เบื่อการเมืองและนักการเมือง ติดธุระ ไม่สะดวกในการเดินทาง และไม่มีผู้สมัครที่ชอบ ฯลฯ
- ยังไม่แน่ใจ.....................ร้อยละ 2.0
3. เมื่อสอบถามว่าขณะนี้มีผู้สมัคร สส. ที่จะเลือกอยู่ในใจแล้วหรือยัง พบว่า
- มีแล้ว.........................ร้อยละ 51.4
- ยังไม่มี........................ร้อยละ 48.6
4. ปัจจัยสำคัญที่สุดที่ใช้พิจารณาเลือกผู้สมัครสำหรับการเลือกตั้งในครั้งนี้ คือ
- ดูนโยบายและโครงการที่นำเสนอ ร้อยละ 29.6
- ดูที่ตัวผู้สมัคร ร้อยละ 23.0
- ดูที่ตัวหัวหน้าพรรค ร้อยละ 17.3
- ดูจากผลงานของนักการเมืองในพรรค ร้อยละ 17.3
- ดูพรรคที่สังกัด ร้อยละ 9.1
- ดูผลตอบแทนที่ผู้สมัครเสนอให้ ร้อยละ 1.2
- ดูทีมผู้สนับสนุน ร้อยละ 1.1
- อื่น ๆ อาทิ เลือกตามคนในบ้าน ร้อยละ 1.4
5. เมื่อสอบถามถึงลักษณะการเลือก สส. แบบรวมเขตเรียงเบอร์ พบว่า
- จะเลือกผู้สมัครจากพรรคเดียวกันทั้งหมด ร้อยละ 58.3
- จะเลือกผู้สมัครเป็นรายบุคคลจากหลายพรรค ร้อยละ 41.7
6. พรรคการเมืองที่กลุ่มตัวอย่างคิดว่าจะเลือกในระบบสัดส่วน คือ
- พรรคประชาธิปัตย์ ร้อยละ 43.5
- พรรคพลังประชาชน ร้อยละ 24.8
- พรรคชาติไทย ร้อยละ 7.4
- พรรคเพื่อแผ่นดิน ร้อยละ 3.3
- พรรคมัชฌิมาธิปไตย ร้อยละ 1.9
- พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา ร้อยละ 1.2
- พรรคประชาราช ร้อยละ 0.9
- พรรคอื่นๆ ร้อยละ 3.5
- ยังไม่ได้ตัดสินใจ ร้อยละ 13.5
7. หัวหน้าพรรคการเมืองที่คิดว่ามีความเหมาะสมที่จะเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปมากที่สุด คือ
- นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ร้อยละ 46.4
- นายสมัคร สุนทรเวช ร้อยละ 22.9
- นายบรรหาร ศิลปอาชา ร้อยละ 5.8
- นายสุวิทย์ คุณกิตติ ร้อยละ 2.9
- พล.อ.เชษฐา ฐานะจาโร ร้อยละ 1.7
- นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ ร้อยละ 1.2
- นายเสนาะ เทียนทอง ร้อยละ 1.2
- อื่นๆ ร้อยละ 3.9
- ไม่แน่ใจ ร้อยละ 14.0
8. เมื่อสอบถามว่ามีข้าราชการ/เจ้าหน้าที่ในพื้นที่มีส่วนในการซื้อสิทธิ์ขายเสียงบ้างหรือไม่ พบว่า
- ไม่ทราบ ร้อยละ 56.6
- ไม่มี ร้อยละ 29.7
- มี ร้อยละ 13.7 โดยจำแนกเป็น (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
- ข้าราชการส่วนท้องถิ่น ได้แก่ อบต. อบจ............ร้อยละ 8.6
- กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน..............................ร้อยละ 6.8
- ข้าราชการฝ่ายปกครอง เช่นนายอำเภอ ปลัดอำเภอ....ร้อยละ 2.8
- ตำรวจ.....................................ร้อยละ 2.0
- ครู........................................ร้อยละ 1.6
- ทหาร......................................ร้อยละ 1.5
9. เมื่อสอบถามถึงการติดต่อเพื่อซื้อเสียงของตนหรือคนใกล้ชิด พบว่า
- ยังไม่ได้รับการติดต่อซื้อเสียง ร้อยละ 89.3
- ได้รับการติดต่อซื้อเสียงแล้ว ร้อยละ 10.7
(โดยการซื้อเสียงอยู่ในรูปของการให้เงินหรือสัญญาว่าจะให้เงินเป็นรายหัวมากที่สุด ซึ่งมีทั้งจ่ายเป็นเงินสด
จ่ายผ่านบัตรเติมเงิน จ่ายค่าเทอมให้บุตรหลาน และผ่อนค่างวดสินค้าให้ รองลงมาคือ การสัญญาว่าจะให้
ผลประโยชน์ในรูปโครงการแก่ชุมชนเป็นกรณีพิเศษ และการให้คูปองเพื่อใช้ซื้อของ ตามลำดับ)
10. สำหรับความเชื่อมั่นว่าการเลือกตั้งครั้งนี้จะเป็นไปอย่างถูกต้องและบริสุทธิ์ยุติธรรม พบว่า
- เชื่อมั่น ร้อยละ 36.8
(โดยเชื่อมั่นมากร้อยละ 9.9 และค่อนข้างเชื่อมั่นร้อยละ 26.9)
- ไม่เชื่อมั่น ร้อยละ 63.2
(โดยไม่เชื่อมั่นเลยร้อยละ 16.7 และไม่ค่อยเชื่อมั่นร้อยละ 46.5)
11. เมื่อสอบถามว่า ภายหลังการเลือกตั้งสถานการณ์การเมืองของไทยจะเป็นอย่างไร ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งเห็นว่า
- สถานการณ์จะดีขึ้นกว่าปัจจุบัน ร้อยละ 42.3
- สถานการณ์จะแย่ลงกว่าปัจจุบัน ร้อยละ 7.4
- สถานการณ์จะไม่แตกต่างจากปัจจุบัน ร้อยละ 50.3
รายละเอียดในการสำรวจ
วัตถุประสงค์ในการสำรวจ
เพื่อทราบข้อมูลและความคิดเห็นของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งต่อการเลือกตั้งที่จะมีขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 23 ธันวาคม 2550
ในประเด็นต่อไปนี้
1. การรับทราบกำหนดการเลือกตั้งที่จะมีขึ้นวันอาทิตย์ที่ 23 ธันวาคมนี้
2. ความตั้งใจที่จะออกไปใช้สิทธิเลือกตั้งครั้งนี้
3. ปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการพิจารณาเลือกผู้สมัคร
4. พรรคการเมืองทีจะเลือกจาก สส. ระบบสัดส่วน
5. หัวหน้าพรรคที่คิดว่าเหมาะสมที่จะเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปมากที่สุด
6. ลักษณะการซื้อเสียงและการวางตัวเป็นกลางของข้าราชการในพื้นที่
7. ความเชื่อมั่นที่มีต่อการเลือกตั้งครั้งนี้ว่าจะเป็นไปด้วยความบริสุทธิ์ยุติธรรม
8. ความเชื่อมั่นว่าการเลือกตั้งครั้งใหม่จะทำให้สถานการณ์บ้านเมืองของไทยดีขึ้น
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจเรื่อง “คนไทยกับการเลือกตั้ง 23 ธันวาคม” ได้ดำเนินการเก็บข้อมูลภาคสนามเมื่อวันที่
16-19 พฤศจิกายน 2550 จากประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไป โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม โดยสุ่มจังหวัดที่เป็นตัวแทนของเขตเลือกตั้ง ส.ส. แบบสัด
ส่วนทั้ง 8 กลุ่ม กลุ่มละ 2 จังหวัด รวม 16 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพฯ สมุทรปราการ ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา นครปฐม ลพบุรี ชลบุรี
เชียงใหม่ พะเยา ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด อุบลราชธานี พัทลุง และสงขลา จากนั้นใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เพื่อให้ได้
กลุ่มตัวอย่างที่สามารถเป็นตัวแทนของประชากรได้กลุ่มตัวอย่างจำนวนทั้งสิ้น 1,507 คน เป็นเพศชายร้อยละ 45.5 และเพศหญิงร้อยละ 54.5
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างมีความคลาดเคลื่อน ฑ 5% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 16 — 19 พฤศจิกายน 2550
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 22 พฤศจิกายน 2550
ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 686 45.5
หญิง 821 54.5
อายุ
18-25 ปี 305 20.2
26-35 ปี 512 34.0
36-45 ปี 369 24.5
46 ปีขึ้นไป 321 21.3
การศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 872 57.9
ปริญญาตรี 579 38.4
สูงกว่าปริญญาตรี 56 3.7
อาชีพ
ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 236 15.7
พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน 226 15.0
ค้าขาย / ธุรกิจส่วนตัว 261 17.3
รับจ้างทั่วไป 279 18.5
พ่อบ้าน แม่บ้าน เกษียณอายุ 95 6.3
เกษตรกร ประมง 115 7.6
นิสิต นักศึกษา อาชีพอิสระ 201 13.2
อื่นๆ อาทิ อาชีพอิสระ ว่างงาน 94 6.4
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-
กรุงเทพจึงได้ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นเรื่อง “คนไทยกับการเลือกตั้ง 23 ธันวาคม” ขึ้น
โดยเก็บข้อมูลจากประชาชนผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งใน 16 จังหวัดจากทั้ง 8 กลุ่มจังหวัดที่คณะกรรมการการเลือกตั้งกำหนดสำหรับการเลือกตั้ง
ส.ส.แบบสัดส่วน ได้แก่ กรุงเทพฯ สมุทรปราการ ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา นครปฐม ลพบุรี ชลบุรี เชียงใหม่ พะเยา ขอนแก่น มหาสารคาม
กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด อุบลราชธานี พัทลุง และสงขลา ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 1,507 คน เก็บข้อมูลภาคสนามเมื่อวันที่ 16-19 พฤศจิกายนที่ผ่านมา
สรุปผลได้ดังนี้
1. การรับทราบกำหนดการเลือกตั้งที่จะมีขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 23 ธันวาคมนี้
- ทราบ ร้อยละ 95.9
- ไม่ทราบ ร้อยละ 4.1
2. ความตั้งใจที่จะออกไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ส.ส. ในการเลือกตั้งครั้งนี้
- ตั้งใจว่าจะไปเลือกตั้ง.............ร้อยละ 92.4
เพราะ ต้องการไปใช้สิทธิตามหน้าที่ เพื่อให้ได้คนดีมาปกครองบ้านเมือง และกลัวถูกตัดสิทธิ์ทางการ เมือง ฯลฯ
- ตั้งใจว่าจะไม่ไปเลือกตั้ง...........ร้อยละ 5.6
เพราะ เบื่อการเมืองและนักการเมือง ติดธุระ ไม่สะดวกในการเดินทาง และไม่มีผู้สมัครที่ชอบ ฯลฯ
- ยังไม่แน่ใจ.....................ร้อยละ 2.0
3. เมื่อสอบถามว่าขณะนี้มีผู้สมัคร สส. ที่จะเลือกอยู่ในใจแล้วหรือยัง พบว่า
- มีแล้ว.........................ร้อยละ 51.4
- ยังไม่มี........................ร้อยละ 48.6
4. ปัจจัยสำคัญที่สุดที่ใช้พิจารณาเลือกผู้สมัครสำหรับการเลือกตั้งในครั้งนี้ คือ
- ดูนโยบายและโครงการที่นำเสนอ ร้อยละ 29.6
- ดูที่ตัวผู้สมัคร ร้อยละ 23.0
- ดูที่ตัวหัวหน้าพรรค ร้อยละ 17.3
- ดูจากผลงานของนักการเมืองในพรรค ร้อยละ 17.3
- ดูพรรคที่สังกัด ร้อยละ 9.1
- ดูผลตอบแทนที่ผู้สมัครเสนอให้ ร้อยละ 1.2
- ดูทีมผู้สนับสนุน ร้อยละ 1.1
- อื่น ๆ อาทิ เลือกตามคนในบ้าน ร้อยละ 1.4
5. เมื่อสอบถามถึงลักษณะการเลือก สส. แบบรวมเขตเรียงเบอร์ พบว่า
- จะเลือกผู้สมัครจากพรรคเดียวกันทั้งหมด ร้อยละ 58.3
- จะเลือกผู้สมัครเป็นรายบุคคลจากหลายพรรค ร้อยละ 41.7
6. พรรคการเมืองที่กลุ่มตัวอย่างคิดว่าจะเลือกในระบบสัดส่วน คือ
- พรรคประชาธิปัตย์ ร้อยละ 43.5
- พรรคพลังประชาชน ร้อยละ 24.8
- พรรคชาติไทย ร้อยละ 7.4
- พรรคเพื่อแผ่นดิน ร้อยละ 3.3
- พรรคมัชฌิมาธิปไตย ร้อยละ 1.9
- พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา ร้อยละ 1.2
- พรรคประชาราช ร้อยละ 0.9
- พรรคอื่นๆ ร้อยละ 3.5
- ยังไม่ได้ตัดสินใจ ร้อยละ 13.5
7. หัวหน้าพรรคการเมืองที่คิดว่ามีความเหมาะสมที่จะเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปมากที่สุด คือ
- นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ร้อยละ 46.4
- นายสมัคร สุนทรเวช ร้อยละ 22.9
- นายบรรหาร ศิลปอาชา ร้อยละ 5.8
- นายสุวิทย์ คุณกิตติ ร้อยละ 2.9
- พล.อ.เชษฐา ฐานะจาโร ร้อยละ 1.7
- นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ ร้อยละ 1.2
- นายเสนาะ เทียนทอง ร้อยละ 1.2
- อื่นๆ ร้อยละ 3.9
- ไม่แน่ใจ ร้อยละ 14.0
8. เมื่อสอบถามว่ามีข้าราชการ/เจ้าหน้าที่ในพื้นที่มีส่วนในการซื้อสิทธิ์ขายเสียงบ้างหรือไม่ พบว่า
- ไม่ทราบ ร้อยละ 56.6
- ไม่มี ร้อยละ 29.7
- มี ร้อยละ 13.7 โดยจำแนกเป็น (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
- ข้าราชการส่วนท้องถิ่น ได้แก่ อบต. อบจ............ร้อยละ 8.6
- กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน..............................ร้อยละ 6.8
- ข้าราชการฝ่ายปกครอง เช่นนายอำเภอ ปลัดอำเภอ....ร้อยละ 2.8
- ตำรวจ.....................................ร้อยละ 2.0
- ครู........................................ร้อยละ 1.6
- ทหาร......................................ร้อยละ 1.5
9. เมื่อสอบถามถึงการติดต่อเพื่อซื้อเสียงของตนหรือคนใกล้ชิด พบว่า
- ยังไม่ได้รับการติดต่อซื้อเสียง ร้อยละ 89.3
- ได้รับการติดต่อซื้อเสียงแล้ว ร้อยละ 10.7
(โดยการซื้อเสียงอยู่ในรูปของการให้เงินหรือสัญญาว่าจะให้เงินเป็นรายหัวมากที่สุด ซึ่งมีทั้งจ่ายเป็นเงินสด
จ่ายผ่านบัตรเติมเงิน จ่ายค่าเทอมให้บุตรหลาน และผ่อนค่างวดสินค้าให้ รองลงมาคือ การสัญญาว่าจะให้
ผลประโยชน์ในรูปโครงการแก่ชุมชนเป็นกรณีพิเศษ และการให้คูปองเพื่อใช้ซื้อของ ตามลำดับ)
10. สำหรับความเชื่อมั่นว่าการเลือกตั้งครั้งนี้จะเป็นไปอย่างถูกต้องและบริสุทธิ์ยุติธรรม พบว่า
- เชื่อมั่น ร้อยละ 36.8
(โดยเชื่อมั่นมากร้อยละ 9.9 และค่อนข้างเชื่อมั่นร้อยละ 26.9)
- ไม่เชื่อมั่น ร้อยละ 63.2
(โดยไม่เชื่อมั่นเลยร้อยละ 16.7 และไม่ค่อยเชื่อมั่นร้อยละ 46.5)
11. เมื่อสอบถามว่า ภายหลังการเลือกตั้งสถานการณ์การเมืองของไทยจะเป็นอย่างไร ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งเห็นว่า
- สถานการณ์จะดีขึ้นกว่าปัจจุบัน ร้อยละ 42.3
- สถานการณ์จะแย่ลงกว่าปัจจุบัน ร้อยละ 7.4
- สถานการณ์จะไม่แตกต่างจากปัจจุบัน ร้อยละ 50.3
รายละเอียดในการสำรวจ
วัตถุประสงค์ในการสำรวจ
เพื่อทราบข้อมูลและความคิดเห็นของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งต่อการเลือกตั้งที่จะมีขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 23 ธันวาคม 2550
ในประเด็นต่อไปนี้
1. การรับทราบกำหนดการเลือกตั้งที่จะมีขึ้นวันอาทิตย์ที่ 23 ธันวาคมนี้
2. ความตั้งใจที่จะออกไปใช้สิทธิเลือกตั้งครั้งนี้
3. ปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการพิจารณาเลือกผู้สมัคร
4. พรรคการเมืองทีจะเลือกจาก สส. ระบบสัดส่วน
5. หัวหน้าพรรคที่คิดว่าเหมาะสมที่จะเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปมากที่สุด
6. ลักษณะการซื้อเสียงและการวางตัวเป็นกลางของข้าราชการในพื้นที่
7. ความเชื่อมั่นที่มีต่อการเลือกตั้งครั้งนี้ว่าจะเป็นไปด้วยความบริสุทธิ์ยุติธรรม
8. ความเชื่อมั่นว่าการเลือกตั้งครั้งใหม่จะทำให้สถานการณ์บ้านเมืองของไทยดีขึ้น
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจเรื่อง “คนไทยกับการเลือกตั้ง 23 ธันวาคม” ได้ดำเนินการเก็บข้อมูลภาคสนามเมื่อวันที่
16-19 พฤศจิกายน 2550 จากประชาชนอายุ 18 ปีขึ้นไป โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม โดยสุ่มจังหวัดที่เป็นตัวแทนของเขตเลือกตั้ง ส.ส. แบบสัด
ส่วนทั้ง 8 กลุ่ม กลุ่มละ 2 จังหวัด รวม 16 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพฯ สมุทรปราการ ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา นครปฐม ลพบุรี ชลบุรี
เชียงใหม่ พะเยา ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด อุบลราชธานี พัทลุง และสงขลา จากนั้นใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เพื่อให้ได้
กลุ่มตัวอย่างที่สามารถเป็นตัวแทนของประชากรได้กลุ่มตัวอย่างจำนวนทั้งสิ้น 1,507 คน เป็นเพศชายร้อยละ 45.5 และเพศหญิงร้อยละ 54.5
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างมีความคลาดเคลื่อน ฑ 5% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 16 — 19 พฤศจิกายน 2550
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 22 พฤศจิกายน 2550
ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 686 45.5
หญิง 821 54.5
อายุ
18-25 ปี 305 20.2
26-35 ปี 512 34.0
36-45 ปี 369 24.5
46 ปีขึ้นไป 321 21.3
การศึกษา
ต่ำกว่าปริญญาตรี 872 57.9
ปริญญาตรี 579 38.4
สูงกว่าปริญญาตรี 56 3.7
อาชีพ
ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 236 15.7
พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน 226 15.0
ค้าขาย / ธุรกิจส่วนตัว 261 17.3
รับจ้างทั่วไป 279 18.5
พ่อบ้าน แม่บ้าน เกษียณอายุ 95 6.3
เกษตรกร ประมง 115 7.6
นิสิต นักศึกษา อาชีพอิสระ 201 13.2
อื่นๆ อาทิ อาชีพอิสระ ว่างงาน 94 6.4
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-