แท็ก
กรุงเทพโพลล์
วัตถุประสงค์ของการสำรวจ
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร
ต่อปัญหาแรงงานต่างด้าว ในประเด็นผลกระทบของแรงงานต่างด้าวต่อประเทศไทย การลงโทษผู้แอบใช้แรงงานต่างด้าว
ที่ผิดกฎหมาย และความมั่นใจของประชาชนต่อรัฐบาลกรณีการจัดระเบียบแรงงานต่างด้าว
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง:
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก
หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครองในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 30 เขต ดังนี้
พระนคร ป้อมปราบฯ สัมพันธวงศ์ ราชเทวี สาทร ยานนาวา ดินแดง คลองเตย
พระโขนง บางกะปิ ลาดพร้าว บางกอกใหญ่ บางพลัด วัฒนา วังทองหลาง บึงกุ่ม
ประเวศ ห้วยขวาง บางเขน สายไหม หลักสี่ จตุจักร คลองสามวา ลาดกระบัง
ทุ่งครุ ราษฎร์บูรณะ คลองสาน บางคอแหลม บางขุนเทียน บางบอน
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ ได้ตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,143 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน ฑ 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
ในเรื่อง "ความคิดเห็นคนกรุงต่อปัญหาแรงงานต่างด้าว"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล 5 - 6 กรกฎาคม 2546
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ: 8 กรกฎาคม 2546
ผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ใน
เขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,143 คน
เป็นชายร้อยละ 46.6
เป็นหญิงร้อยละ 53.4
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 35.4 มีอายุระหว่าง 18 - 25 ปี
ร้อยละ 32.3 มีอายุระหว่าง 26 - 35 ปี
ร้อยละ 19.4 มีอายุระหว่าง 36 - 45 ปี
และร้อยละ 12.9 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
สำหรับระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 56.9 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 43.1 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป
ประกอบอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน นักศึกษา รับจ้างทั่วไป ค้าขาย เจ้าของกิจการ รับราชการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ และ พ่อบ้าน/แม่บ้าน
2. เมื่อถามคิดว่าแรงงานต่างด้าวมีปัญหากับประเทศไทยมากน้อยแค่ไหน
กลุ่มตัวอย่าง
ส่วนใหญ่ร้อยละ 49.1 ระบุว่ามาก
รองลงมาร้อยละ 42.3 ระบุว่าปานกลาง
ร้อยละ 7.1 ระบุว่าน้อย และมีเพียงร้อยละ 1.6 ระบุว่าไม่มีปัญหา
3. สำหรับคำถามถ้ามีปัญหาคิดว่าปัญหาแรงงานต่างด้าว มีผลกระทบด้านใดกับประเทศไทยมากที่สุด
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 27.8 ระบุว่าด้านความมั่นคงของชาติ
รองลงมาร้อยละ 27.2 ระบุว่าการแย่งอาชีพของคนไทย
ร้อยละ 24.4 ระบุว่าด้านความปลอดภัยต่อชีวิต
ร้อยละ 16.5 ระบุว่าด้านความปลอดภัยทางทรัพย์สิน
และมีเพียงร้อยละ 4.0 ระบุว่าการนำโรคติดต่อเข้าประเทศ
4. ส่วนคำถามคิดว่าแรงงานต่างด้าวเข้ามาแย่งอาชีพใดของคนไทยมากที่สุด
กลุ่มตัวอย่าง
ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.8 ระบุว่าอาชีพกรรมกรทั่วไป
รองลงมาร้อยละ 28.0 ระบุว่าอาชีพด้านอุตสาหกรรมโรงงาน
ร้อยละ 9.1 ระบุว่าอาชีพผู้รับใช้ในบ้าน
ร้อยละ 5.3 ระบุว่าอาชีพการประมง
ร้อยละ 2.3 ระบุว่าอาชีพการค้าประเวณี
และมีเพียงร้อยละ 1.8 ระบุว่าอาชีพเกษตรกรรม
5. เมื่อถามกรณีแอบใช้แรงงานต่างด้าว ท่านคิดว่ารัฐบาลควรจะเข้มงวดและลงโทษผู้ใดมากที่สุด
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 44.4 ระบุว่าผู้ประกอบการหรือนายจ้าง
รองลงมาร้อยละ 27.5 ระบุว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐที่รับเงินใต้โต๊ะ
ร้อยละ 22.7 ระบุว่าคนนำพา
และมีเพียงร้อยละ 4.9 ระบุว่าผู้ให้การพักพิง
6. สำหรับคำถามเห็นด้วยหรือไม่ นำเข้าแรงงานต่างด้าวอย่างถูกกฎหมายจะเป็นประโยชน์มากกว่าผลเสีย
กลุ่มตัวอย่าง
ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.6 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 38.0 ระบุว่าไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 9.4 ระบุว่าไม่มีความเห็น
7. ส่วนคำถามเห็นด้วยหรือไม่ว่าประเทศไทยควรจะมีการจัดระเบียบแรงงานต่างด้าว
กลุ่มตัวอย่าง
ส่วนใหญ่ร้อยละ 90.6 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 5.2 ระบุว่าไม่เห็นด้วย
และมีเพียงร้อยละ 4.2 ระบุว่าไม่มีความเห็น
8. คำถามการจัดระเบียบแรงงานต่างด้าว มั่นใจหรือไม่ว่ารัฐบาลจะสามารถแก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าว
หลบหนีเข้าเมืองได้
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 40.1 ระบุว่ามั่นใจ
ร้อยละ 50.1 ระบุว่าไม่มั่นใจ
และร้อยละ 9.8 ระบุว่าไม่มีความเห็น
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 533 46.6
หญิง 610 53.4
อายุ :
18 - 25 ปี 405 35.4
26 - 35 ปี 369 32.3
36 - 45 ปี 222 19.4
มากกว่า 45 ปี 147 12.9
การศึกษา :
ประถมศึกษา 150 13.1
มัธยมศึกษา 306 26.8
ปวช. 105 9.2
ปวส./อนุปริญญา 89 7.8
ปริญญาตรี 445 38.9
สูงกว่าปริญญาตรี 48 4.2
อาชีพ :
พนักงานบริษัทเอกชน 281 24.6
นักศึกษา 257 22.5
รับจ้างทั่วไป 168 14.7
ค้าขาย 161 14.1
เจ้าของกิจการ 94 8.2
รับราชการ 69 6.0
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 46 4.0
พ่อบ้าน/แม่บ้าน 40 3.5
อาชีพอื่น ๆ 27 2.4
ตารางที่ 2 ท่านคิดว่าแรงงานต่างด้าวมีปัญหากับประเทศไทยมากน้อยแค่ไหน
จำนวน ร้อยละ
มาก 561 49.1
ปานกลาง 483 42.3
น้อย 81 7.1
ไม่มีปัญหา 18 1.6
ตารางที่ 3 ถ้ามีปัญหา ท่านคิดว่าปัญหาแรงงานต่างด้าว มีผลกระทบด้านใดกับประเทศไทยมากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
ความมั่นคงของชาติ 318 27.8
การแย่งอาชีพของคนไทย 311 27.2
ความปลอดภัยต่อชีวิต 279 24.4
ความปลอดภัยทางทรัพย์สิน 189 16.5
การนำโรคติดต่อเข้าประเทศ 46 4.0
ตารางที่ 4 คิดว่าแรงงานต่างด้าวเข้ามาแย่งอาชีพใดของคนไทยมากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
กรรมกรทั่วไป 603 52.8
อุตสาหกรรมโรงงาน 320 28.0
ผู้รับใช้ในบ้าน 104 9.1
การประมง 61 5.3
การค้าประเวณี 26 2.3
เกษตรกรรม 21 1.8
อื่น ๆ 8 0.7
ตารางที่ 5 กรณีแอบใช้แรงงานต่างด้าว ท่านคิดว่ารัฐบาลควรจะเข้มงวดและลงโทษผู้ใดมากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
ผู้ประกอบการหรือนายจ้าง 508 44.4
เจ้าหน้าที่ของรัฐที่รับเงินใต้โต๊ะ 314 27.5
คนนำพา 260 22.7
ผู้ให้การพักพิง 56 4.9
อื่น ๆ 5 0.4
ตารางที่ 6 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ นำเข้าแรงงานต่างด้าวอย่างถูกกฎหมายจะเป็นประโยชน์มากกว่าผลเสีย
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 601 52.6
ไม่เห็นด้วย 434 38.0
ไม่มีความเห็น 108 9.4
ตารางที่ 7 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ ว่าประเทศไทยควรจะมีการจัดระเบียบแรงงานต่างด้าว
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 1,036 90.6
ไม่เห็นด้วย 59 5.2
ไม่มีความเห็น 48 4.2
ตารางที่ 8 ถ้ามีการจัดระเบียบแรงงานต่างด้าว ท่านมั่นใจหรือไม่ว่ารัฐบาลจะสามารถแก้ไขปัญหา
แรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองได้
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 458 40.1
ไม่มั่นใจ 573 50.1
ไม่มีความเห็น 112 9.8
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร
ต่อปัญหาแรงงานต่างด้าว ในประเด็นผลกระทบของแรงงานต่างด้าวต่อประเทศไทย การลงโทษผู้แอบใช้แรงงานต่างด้าว
ที่ผิดกฎหมาย และความมั่นใจของประชาชนต่อรัฐบาลกรณีการจัดระเบียบแรงงานต่างด้าว
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง:
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก
หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครองในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 30 เขต ดังนี้
พระนคร ป้อมปราบฯ สัมพันธวงศ์ ราชเทวี สาทร ยานนาวา ดินแดง คลองเตย
พระโขนง บางกะปิ ลาดพร้าว บางกอกใหญ่ บางพลัด วัฒนา วังทองหลาง บึงกุ่ม
ประเวศ ห้วยขวาง บางเขน สายไหม หลักสี่ จตุจักร คลองสามวา ลาดกระบัง
ทุ่งครุ ราษฎร์บูรณะ คลองสาน บางคอแหลม บางขุนเทียน บางบอน
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ ได้ตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,143 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน ฑ 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
ในเรื่อง "ความคิดเห็นคนกรุงต่อปัญหาแรงงานต่างด้าว"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล 5 - 6 กรกฎาคม 2546
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ: 8 กรกฎาคม 2546
ผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ใน
เขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,143 คน
เป็นชายร้อยละ 46.6
เป็นหญิงร้อยละ 53.4
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 35.4 มีอายุระหว่าง 18 - 25 ปี
ร้อยละ 32.3 มีอายุระหว่าง 26 - 35 ปี
ร้อยละ 19.4 มีอายุระหว่าง 36 - 45 ปี
และร้อยละ 12.9 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
สำหรับระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 56.9 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 43.1 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป
ประกอบอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน นักศึกษา รับจ้างทั่วไป ค้าขาย เจ้าของกิจการ รับราชการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ และ พ่อบ้าน/แม่บ้าน
2. เมื่อถามคิดว่าแรงงานต่างด้าวมีปัญหากับประเทศไทยมากน้อยแค่ไหน
กลุ่มตัวอย่าง
ส่วนใหญ่ร้อยละ 49.1 ระบุว่ามาก
รองลงมาร้อยละ 42.3 ระบุว่าปานกลาง
ร้อยละ 7.1 ระบุว่าน้อย และมีเพียงร้อยละ 1.6 ระบุว่าไม่มีปัญหา
3. สำหรับคำถามถ้ามีปัญหาคิดว่าปัญหาแรงงานต่างด้าว มีผลกระทบด้านใดกับประเทศไทยมากที่สุด
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 27.8 ระบุว่าด้านความมั่นคงของชาติ
รองลงมาร้อยละ 27.2 ระบุว่าการแย่งอาชีพของคนไทย
ร้อยละ 24.4 ระบุว่าด้านความปลอดภัยต่อชีวิต
ร้อยละ 16.5 ระบุว่าด้านความปลอดภัยทางทรัพย์สิน
และมีเพียงร้อยละ 4.0 ระบุว่าการนำโรคติดต่อเข้าประเทศ
4. ส่วนคำถามคิดว่าแรงงานต่างด้าวเข้ามาแย่งอาชีพใดของคนไทยมากที่สุด
กลุ่มตัวอย่าง
ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.8 ระบุว่าอาชีพกรรมกรทั่วไป
รองลงมาร้อยละ 28.0 ระบุว่าอาชีพด้านอุตสาหกรรมโรงงาน
ร้อยละ 9.1 ระบุว่าอาชีพผู้รับใช้ในบ้าน
ร้อยละ 5.3 ระบุว่าอาชีพการประมง
ร้อยละ 2.3 ระบุว่าอาชีพการค้าประเวณี
และมีเพียงร้อยละ 1.8 ระบุว่าอาชีพเกษตรกรรม
5. เมื่อถามกรณีแอบใช้แรงงานต่างด้าว ท่านคิดว่ารัฐบาลควรจะเข้มงวดและลงโทษผู้ใดมากที่สุด
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 44.4 ระบุว่าผู้ประกอบการหรือนายจ้าง
รองลงมาร้อยละ 27.5 ระบุว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐที่รับเงินใต้โต๊ะ
ร้อยละ 22.7 ระบุว่าคนนำพา
และมีเพียงร้อยละ 4.9 ระบุว่าผู้ให้การพักพิง
6. สำหรับคำถามเห็นด้วยหรือไม่ นำเข้าแรงงานต่างด้าวอย่างถูกกฎหมายจะเป็นประโยชน์มากกว่าผลเสีย
กลุ่มตัวอย่าง
ส่วนใหญ่ร้อยละ 52.6 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 38.0 ระบุว่าไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 9.4 ระบุว่าไม่มีความเห็น
7. ส่วนคำถามเห็นด้วยหรือไม่ว่าประเทศไทยควรจะมีการจัดระเบียบแรงงานต่างด้าว
กลุ่มตัวอย่าง
ส่วนใหญ่ร้อยละ 90.6 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 5.2 ระบุว่าไม่เห็นด้วย
และมีเพียงร้อยละ 4.2 ระบุว่าไม่มีความเห็น
8. คำถามการจัดระเบียบแรงงานต่างด้าว มั่นใจหรือไม่ว่ารัฐบาลจะสามารถแก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าว
หลบหนีเข้าเมืองได้
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 40.1 ระบุว่ามั่นใจ
ร้อยละ 50.1 ระบุว่าไม่มั่นใจ
และร้อยละ 9.8 ระบุว่าไม่มีความเห็น
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 533 46.6
หญิง 610 53.4
อายุ :
18 - 25 ปี 405 35.4
26 - 35 ปี 369 32.3
36 - 45 ปี 222 19.4
มากกว่า 45 ปี 147 12.9
การศึกษา :
ประถมศึกษา 150 13.1
มัธยมศึกษา 306 26.8
ปวช. 105 9.2
ปวส./อนุปริญญา 89 7.8
ปริญญาตรี 445 38.9
สูงกว่าปริญญาตรี 48 4.2
อาชีพ :
พนักงานบริษัทเอกชน 281 24.6
นักศึกษา 257 22.5
รับจ้างทั่วไป 168 14.7
ค้าขาย 161 14.1
เจ้าของกิจการ 94 8.2
รับราชการ 69 6.0
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 46 4.0
พ่อบ้าน/แม่บ้าน 40 3.5
อาชีพอื่น ๆ 27 2.4
ตารางที่ 2 ท่านคิดว่าแรงงานต่างด้าวมีปัญหากับประเทศไทยมากน้อยแค่ไหน
จำนวน ร้อยละ
มาก 561 49.1
ปานกลาง 483 42.3
น้อย 81 7.1
ไม่มีปัญหา 18 1.6
ตารางที่ 3 ถ้ามีปัญหา ท่านคิดว่าปัญหาแรงงานต่างด้าว มีผลกระทบด้านใดกับประเทศไทยมากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
ความมั่นคงของชาติ 318 27.8
การแย่งอาชีพของคนไทย 311 27.2
ความปลอดภัยต่อชีวิต 279 24.4
ความปลอดภัยทางทรัพย์สิน 189 16.5
การนำโรคติดต่อเข้าประเทศ 46 4.0
ตารางที่ 4 คิดว่าแรงงานต่างด้าวเข้ามาแย่งอาชีพใดของคนไทยมากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
กรรมกรทั่วไป 603 52.8
อุตสาหกรรมโรงงาน 320 28.0
ผู้รับใช้ในบ้าน 104 9.1
การประมง 61 5.3
การค้าประเวณี 26 2.3
เกษตรกรรม 21 1.8
อื่น ๆ 8 0.7
ตารางที่ 5 กรณีแอบใช้แรงงานต่างด้าว ท่านคิดว่ารัฐบาลควรจะเข้มงวดและลงโทษผู้ใดมากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
ผู้ประกอบการหรือนายจ้าง 508 44.4
เจ้าหน้าที่ของรัฐที่รับเงินใต้โต๊ะ 314 27.5
คนนำพา 260 22.7
ผู้ให้การพักพิง 56 4.9
อื่น ๆ 5 0.4
ตารางที่ 6 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ นำเข้าแรงงานต่างด้าวอย่างถูกกฎหมายจะเป็นประโยชน์มากกว่าผลเสีย
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 601 52.6
ไม่เห็นด้วย 434 38.0
ไม่มีความเห็น 108 9.4
ตารางที่ 7 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ ว่าประเทศไทยควรจะมีการจัดระเบียบแรงงานต่างด้าว
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 1,036 90.6
ไม่เห็นด้วย 59 5.2
ไม่มีความเห็น 48 4.2
ตารางที่ 8 ถ้ามีการจัดระเบียบแรงงานต่างด้าว ท่านมั่นใจหรือไม่ว่ารัฐบาลจะสามารถแก้ไขปัญหา
แรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองได้
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 458 40.1
ไม่มั่นใจ 573 50.1
ไม่มีความเห็น 112 9.8
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--