วัตถุประสงค์ของการสำรวจ
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับมุมมองของคนกรุงต่อการเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไป ในประเด็นดังนี้
- ความคิดเห็นผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไปจำเป็นต้องมาจากฝ่ายรัฐบาลหรือไม่
- ความคิดเห็นถ้าผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไปมาจากฝ่ายค้านจะมีอุปสรรค์ในการบริหารกทม.หรือไม่
- ความคิดเห็นเกณฑ์และคุณสมบัติที่ประชาชนใช้ในการพิจารณาเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไป
- ความคิดเห็นความต้องการให้ใครลงสมัครเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไป
- ความคิดเห็นปัญหาที่ประชาชนต้องการให้ผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไปแก้ไขด่วนที่สุด
- ความคิดเห็นการไปใช้สิทธิเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.ครั้งต่อไป
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร จำนวน 30 เขต การสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร เป็นเขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครองในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 30 เขต ดังนี้
สัมพันธวงศ์ วัฒนา ปทุมวัน ห้วยขวาง พญาไท ยานนาวา ดินแดง คลองเตย จตุจักร บางซื่อ ธนบุรีบางคอแหลม คันนายาว จอมทอง ทุ่งครุ พระโขนง ภาษีเจริญ ราษฎร์บูรณะสะพานสูง สายไหม บางกะปิ บึงกุ่ม บางแค ประเวศ บางพลัด หลักสี่ บางบอน มีนบุรี ลาดกระบัง หนองจอก
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ ได้ตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,125 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน ฑ 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "มุมมองคนกรุงต่อการเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไป"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 14 มกราคม 2547
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 16 มกราคม 2547
ผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ใน
เขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,125 คน เป็นชายร้อยละ 51.4 เป็นหญิงร้อยละ 48.6
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 29.4 มีอายุระหว่าง 18 - 25 ปี
ร้อยละ 23.6 มีอายุระหว่าง 26 - 35 ปี
ร้อยละ 22.9 มีอายุระหว่าง 36 - 45 ปี
และร้อยละ 24.1 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
สำหรับระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 49.4 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ที่เหลือ
ร้อยละ 50.6 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน นักศึกษา
ค้าขาย รับจ้างทั่วไป เจ้าของกิจการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ รับราชการ และพ่อบ้าน/แม่บ้าน
2. คำถามเห็นด้วยหรือไม่ผู้ว่าฯ กทม. คนต่อไปต้องเป็นผู้สมัครจากพรรคการเมืองฝ่ายรัฐบาล
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 32.0 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 53.6 ระบุว่าไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 14.4 ระบุว่าไม่มีความเห็น
3. สำหรับคำถาม คิดว่าถ้าผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไป มาจากพรรคฝ่ายค้านจะมีอุปสรรคในการบริหาร กทม.หรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 37.6 ระบุว่ามีปัญหา
ร้อยละ 46.4 ระบุว่าไม่มีปัญหา
และร้อยละ 16.0 ระบุว่าไม่มีความเห็น
4. ส่วนคำถามจะใช้เกณฑ์อะไรในการตัดสินใจเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไป
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 21.2 ระบุว่านโยบาย
ร้อยละ 17.3 ระบุว่าตัวบุคคล
ร้อยละ 58.1 ระบุว่านโยบายและตัวบุคคล
และร้อยละ 3.3 ระบุว่าไม่มีความเห็น
5. คุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไป ที่กลุ่มตัวอย่างต้องการเรียงตามลำดับ ดังนี้
ร้อยละ 32.2 ระบุว่าต้องการผู้ที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล กล้าคิด กล้าตัดสินใจ
รองลงมาร้อยละ 28.7 ระบุว่าต้องการผู้ที่เข้าใจปัญหาต่าง ๆ ของกทม.อย่างแท้จริง
ร้อยละ 25.2 ระบุว่าต้องการผู้ที่มีความซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส
ร้อยละ 6.1 ระบุว่าต้องการผู้ที่ไม่รับใช้กลุ่มผลประโยชน์
และร้อยละ 5.6 ระบุว่าต้องการผู้ที่ยึดในหลักการความถูกต้อง
6. เมื่อถามว่า อยากให้ใครลงสมัครเลือกตั้งเป็นผู้ว่าฯ กทม. คนต่อไป กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็นเรียงลำดับบุคคล ดังนี้ ร้อยละ 24.5 ระบุว่าร.ต.อ.ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์
รองลงมาร้อยละ 12.8 ระบุว่านางปวีณา หงสกุล
ร้อยละ 7.4 ระบุว่านายอภิรักษ์ โกษะโยธิน
ร้อยละ 6.1 ระบุว่านางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์
ร้อยละ 5.7 ระบุว่านายสมัคร สุนทรเวช
และร้อยละ 5.0 ระบุว่านายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
7. สำหรับคำถาม ปัญหาที่คิดว่าจะให้ผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไปแก้ไขด่วนที่สุด กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็นเรียงลำดับดังนี้
ร้อยละ 48.5 ระบุว่าการจราจรติดขัด
รองลงมาร้อยละ 11.6 ระบุว่าความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสังคม
ร้อยละ 10.6 ระบุว่าความโปร่งใสในการบริหารงาน กทม.
ร้อยละ 8.3 ระบุว่ายาเสพติด
ร้อยละ 7.7 ระบุว่ามลพิษทางอากาศ
ร้อยละ 4.0 ระบุว่าขยะมูลฝอย
และร้อยละ 3.5 ระบุว่าช้างเร่ร่อน
8. ส่วนคำถามคิดว่า ในการเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. ครั้งต่อไปจะไปใช้สิทธิเลือกตั้งหรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 82.7 ระบุว่าไป
ร้อยละ 7.5 ระบุว่าไม่ไป
และร้อยละ 9.9 ระบุว่าไม่มีความเห็น
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 578 51.4
หญิง 547 48.6
อายุ :
18 - 25 ปี 331 29.4
26 - 35 ปี 265 23.6
36 - 45 ปี 258 22.9
มากกว่า 45 ปี 271 24.1
การศึกษา :
ประถมศึกษา 118 10.5
มัธยมศึกษา 209 18.6
ปวช. 95 8.4
ปวส./อนุปริญญา 134 11.9
ปริญญาตรี 499 44.4
สูงกว่าปริญญาตรี 70 6.2
อาชีพ :
พนักงานบริษัทเอกชน 258 22.9
นักศึกษา 231 20.5
ค้าขาย 181 16.1
รับจ้างทั่วไป 113 10.0
เจ้าของกิจการ 102 9.1
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 86 7.6
รับราชการ 67 6.0
พ่อบ้าน/แม่บ้าน 60 5.3
อาชีพอื่น ๆ 27 2.4
ตารางที่ 2 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ว่า ผู้ว่าฯ กทม. คนต่อไปต้องเป็นผู้สมัครจากพรรคการเมืองฝ่ายรัฐบาล
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 360 32.0
ไม่เห็นด้วย 603 53.6
ไม่มีความเห็น 162 14.4
ตารางที่ 3 ท่านคิดว่า ถ้าผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไป มาจากพรรคฝ่ายค้านจะมีอุปสรรคในการบริหาร กทม.หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มี 423 37.6
ไม่มี 522 46.4
ไม่มีความเห็น 180 16.0
ตารางที่ 4 ท่านจะใช้เกณฑ์อะไรในการตัดสินใจเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไป
จำนวน ร้อยละ
นโยบาย 239 21.2
ตัวบุคคล 195 17.3
นโยบายและตัวบุคคล 654 58.1
ไม่มีความเห็น 37 3.3
ตารางที่ 5 ท่านต้องการคุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไปอย่างไร
จำนวน ร้อยละ
ต้องการผู้ที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล กล้าคิด กล้าตัดสินใจ 362 32.2
ต้องการผู้ที่เข้าใจปัญหาต่าง ๆ ของกทม.อย่างแท้จริง 323 28.7
ต้องการผู้ที่มีความซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส 283 25.2
ต้องการผู้ที่ไม่รับใช้กลุ่มผลประโยชน์ 69 6.1
ต้องการผู้ที่ยึดในหลักการความถูกต้อง 63 5.6
อื่น ๆ 25 2.2
ตารางที่ 6 ท่านอยากให้ใครลงสมัครเลือกตั้งเป็นผู้ว่าฯ กทม. คนต่อไป
จำนวน ร้อยละ
ร.ต.อ.ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ 276 24.5
นางปวีณา หงสกุล 144 12.8
นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน 83 7.4
นางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ 69 6.1
นายสมัคร สุนทรเวช 64 5.7
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 56 5.0
อื่น ๆ 433 38.5
ตารางที่ 7 ปัญหาที่ท่านคิดว่าจะให้ผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไปแก้ไขด่วนที่สุด
จำนวน ร้อยละ
การจราจรติดขัด 546 48.5
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสังคม 130 11.6
ความโปร่งใสในการบริหารงาน กทม. 119 10.6
ยาเสพติด 93 8.3
มลพิษทางอากาศ 87 7.7
ขยะมูลฝอย 45 4.0
ช้างเร่ร่อน 39 3.5
อื่น ๆ 66 5.9
ตารางที่ 8 ท่านคิดว่าในการเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. ครั้งต่อไปจะไปใช้สิทธิเลือกตั้งหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ไป 930 82.7
ไม่ไป 84 7.5
ไม่แน่ใจ 111 9.9
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับมุมมองของคนกรุงต่อการเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไป ในประเด็นดังนี้
- ความคิดเห็นผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไปจำเป็นต้องมาจากฝ่ายรัฐบาลหรือไม่
- ความคิดเห็นถ้าผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไปมาจากฝ่ายค้านจะมีอุปสรรค์ในการบริหารกทม.หรือไม่
- ความคิดเห็นเกณฑ์และคุณสมบัติที่ประชาชนใช้ในการพิจารณาเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไป
- ความคิดเห็นความต้องการให้ใครลงสมัครเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไป
- ความคิดเห็นปัญหาที่ประชาชนต้องการให้ผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไปแก้ไขด่วนที่สุด
- ความคิดเห็นการไปใช้สิทธิเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.ครั้งต่อไป
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร จำนวน 30 เขต การสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร เป็นเขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครองในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 30 เขต ดังนี้
สัมพันธวงศ์ วัฒนา ปทุมวัน ห้วยขวาง พญาไท ยานนาวา ดินแดง คลองเตย จตุจักร บางซื่อ ธนบุรีบางคอแหลม คันนายาว จอมทอง ทุ่งครุ พระโขนง ภาษีเจริญ ราษฎร์บูรณะสะพานสูง สายไหม บางกะปิ บึงกุ่ม บางแค ประเวศ บางพลัด หลักสี่ บางบอน มีนบุรี ลาดกระบัง หนองจอก
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ ได้ตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,125 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน ฑ 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "มุมมองคนกรุงต่อการเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไป"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 14 มกราคม 2547
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 16 มกราคม 2547
ผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ใน
เขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,125 คน เป็นชายร้อยละ 51.4 เป็นหญิงร้อยละ 48.6
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 29.4 มีอายุระหว่าง 18 - 25 ปี
ร้อยละ 23.6 มีอายุระหว่าง 26 - 35 ปี
ร้อยละ 22.9 มีอายุระหว่าง 36 - 45 ปี
และร้อยละ 24.1 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
สำหรับระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 49.4 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ที่เหลือ
ร้อยละ 50.6 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน นักศึกษา
ค้าขาย รับจ้างทั่วไป เจ้าของกิจการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ รับราชการ และพ่อบ้าน/แม่บ้าน
2. คำถามเห็นด้วยหรือไม่ผู้ว่าฯ กทม. คนต่อไปต้องเป็นผู้สมัครจากพรรคการเมืองฝ่ายรัฐบาล
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 32.0 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 53.6 ระบุว่าไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 14.4 ระบุว่าไม่มีความเห็น
3. สำหรับคำถาม คิดว่าถ้าผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไป มาจากพรรคฝ่ายค้านจะมีอุปสรรคในการบริหาร กทม.หรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 37.6 ระบุว่ามีปัญหา
ร้อยละ 46.4 ระบุว่าไม่มีปัญหา
และร้อยละ 16.0 ระบุว่าไม่มีความเห็น
4. ส่วนคำถามจะใช้เกณฑ์อะไรในการตัดสินใจเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไป
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 21.2 ระบุว่านโยบาย
ร้อยละ 17.3 ระบุว่าตัวบุคคล
ร้อยละ 58.1 ระบุว่านโยบายและตัวบุคคล
และร้อยละ 3.3 ระบุว่าไม่มีความเห็น
5. คุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไป ที่กลุ่มตัวอย่างต้องการเรียงตามลำดับ ดังนี้
ร้อยละ 32.2 ระบุว่าต้องการผู้ที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล กล้าคิด กล้าตัดสินใจ
รองลงมาร้อยละ 28.7 ระบุว่าต้องการผู้ที่เข้าใจปัญหาต่าง ๆ ของกทม.อย่างแท้จริง
ร้อยละ 25.2 ระบุว่าต้องการผู้ที่มีความซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส
ร้อยละ 6.1 ระบุว่าต้องการผู้ที่ไม่รับใช้กลุ่มผลประโยชน์
และร้อยละ 5.6 ระบุว่าต้องการผู้ที่ยึดในหลักการความถูกต้อง
6. เมื่อถามว่า อยากให้ใครลงสมัครเลือกตั้งเป็นผู้ว่าฯ กทม. คนต่อไป กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็นเรียงลำดับบุคคล ดังนี้ ร้อยละ 24.5 ระบุว่าร.ต.อ.ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์
รองลงมาร้อยละ 12.8 ระบุว่านางปวีณา หงสกุล
ร้อยละ 7.4 ระบุว่านายอภิรักษ์ โกษะโยธิน
ร้อยละ 6.1 ระบุว่านางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์
ร้อยละ 5.7 ระบุว่านายสมัคร สุนทรเวช
และร้อยละ 5.0 ระบุว่านายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
7. สำหรับคำถาม ปัญหาที่คิดว่าจะให้ผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไปแก้ไขด่วนที่สุด กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็นเรียงลำดับดังนี้
ร้อยละ 48.5 ระบุว่าการจราจรติดขัด
รองลงมาร้อยละ 11.6 ระบุว่าความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสังคม
ร้อยละ 10.6 ระบุว่าความโปร่งใสในการบริหารงาน กทม.
ร้อยละ 8.3 ระบุว่ายาเสพติด
ร้อยละ 7.7 ระบุว่ามลพิษทางอากาศ
ร้อยละ 4.0 ระบุว่าขยะมูลฝอย
และร้อยละ 3.5 ระบุว่าช้างเร่ร่อน
8. ส่วนคำถามคิดว่า ในการเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. ครั้งต่อไปจะไปใช้สิทธิเลือกตั้งหรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 82.7 ระบุว่าไป
ร้อยละ 7.5 ระบุว่าไม่ไป
และร้อยละ 9.9 ระบุว่าไม่มีความเห็น
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 578 51.4
หญิง 547 48.6
อายุ :
18 - 25 ปี 331 29.4
26 - 35 ปี 265 23.6
36 - 45 ปี 258 22.9
มากกว่า 45 ปี 271 24.1
การศึกษา :
ประถมศึกษา 118 10.5
มัธยมศึกษา 209 18.6
ปวช. 95 8.4
ปวส./อนุปริญญา 134 11.9
ปริญญาตรี 499 44.4
สูงกว่าปริญญาตรี 70 6.2
อาชีพ :
พนักงานบริษัทเอกชน 258 22.9
นักศึกษา 231 20.5
ค้าขาย 181 16.1
รับจ้างทั่วไป 113 10.0
เจ้าของกิจการ 102 9.1
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 86 7.6
รับราชการ 67 6.0
พ่อบ้าน/แม่บ้าน 60 5.3
อาชีพอื่น ๆ 27 2.4
ตารางที่ 2 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ว่า ผู้ว่าฯ กทม. คนต่อไปต้องเป็นผู้สมัครจากพรรคการเมืองฝ่ายรัฐบาล
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 360 32.0
ไม่เห็นด้วย 603 53.6
ไม่มีความเห็น 162 14.4
ตารางที่ 3 ท่านคิดว่า ถ้าผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไป มาจากพรรคฝ่ายค้านจะมีอุปสรรคในการบริหาร กทม.หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มี 423 37.6
ไม่มี 522 46.4
ไม่มีความเห็น 180 16.0
ตารางที่ 4 ท่านจะใช้เกณฑ์อะไรในการตัดสินใจเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไป
จำนวน ร้อยละ
นโยบาย 239 21.2
ตัวบุคคล 195 17.3
นโยบายและตัวบุคคล 654 58.1
ไม่มีความเห็น 37 3.3
ตารางที่ 5 ท่านต้องการคุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไปอย่างไร
จำนวน ร้อยละ
ต้องการผู้ที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล กล้าคิด กล้าตัดสินใจ 362 32.2
ต้องการผู้ที่เข้าใจปัญหาต่าง ๆ ของกทม.อย่างแท้จริง 323 28.7
ต้องการผู้ที่มีความซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส 283 25.2
ต้องการผู้ที่ไม่รับใช้กลุ่มผลประโยชน์ 69 6.1
ต้องการผู้ที่ยึดในหลักการความถูกต้อง 63 5.6
อื่น ๆ 25 2.2
ตารางที่ 6 ท่านอยากให้ใครลงสมัครเลือกตั้งเป็นผู้ว่าฯ กทม. คนต่อไป
จำนวน ร้อยละ
ร.ต.อ.ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ 276 24.5
นางปวีณา หงสกุล 144 12.8
นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน 83 7.4
นางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ 69 6.1
นายสมัคร สุนทรเวช 64 5.7
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 56 5.0
อื่น ๆ 433 38.5
ตารางที่ 7 ปัญหาที่ท่านคิดว่าจะให้ผู้ว่าฯ กทม.คนต่อไปแก้ไขด่วนที่สุด
จำนวน ร้อยละ
การจราจรติดขัด 546 48.5
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสังคม 130 11.6
ความโปร่งใสในการบริหารงาน กทม. 119 10.6
ยาเสพติด 93 8.3
มลพิษทางอากาศ 87 7.7
ขยะมูลฝอย 45 4.0
ช้างเร่ร่อน 39 3.5
อื่น ๆ 66 5.9
ตารางที่ 8 ท่านคิดว่าในการเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. ครั้งต่อไปจะไปใช้สิทธิเลือกตั้งหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ไป 930 82.7
ไม่ไป 84 7.5
ไม่แน่ใจ 111 9.9
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-