วัตถุประสงค์ของการสำรวจ
เนื่องในวันที่ 14 เมษายนของทุกปีรัฐบาลได้กำหนดให้เป็น "วันครอบครัว" ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์
จึงดำเนินการสำรวจความความคิดเห็นของเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับครอบครัว ในด้านความคาดหวัง
ต่อครอบครัว สิ่งที่อยากทำให้ครอบครัว ความต้องการท่องเที่ยวในช่วงวันหยุดเทศกาลสงกรานต์ร่วมกับครอบครัว
และกิจกรรมที่ครอบครัวทำร่วมกัน อาทิ ความเอาใจใส่ดูแลซึ่งกันและกัน การให้ความรักและความเคารพต่อกัน
การให้กำลังใจและการให้อภัยต่อกัน ตลอดจนความใกล้ชิดและการใช้เวลาร่วมกัน เป็นต้น
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง
การสำรวจ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างเยาวชนที่มีอายุตั้งแต่ 15 - 25 ปี ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขต
ปกครองในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 20 เขต ดังนี้
คลองเตย คันนายาว จตุจักร ดอนเมือง ดุสิต ตลิ่งชัน ทุ่งครุ บางกอกน้อย บางเขน
บางแค บางซื่อ บางบอน บางรัก ปทุมวัน ป้อมปราบฯ พระโขนง พระนคร
มีนบุรี วัฒนา สะพานสูง
ขั้นสอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นสาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ ได้ตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 785 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +5% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ในเรื่อง " อุ่นไอรัก ครอบครัวไทย "
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 8 - 9 เมษายน 2547
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 12 เมษายน 2547
ผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสำรวจภาคสนาม จากเยาวชนในกรุงเทพมหานคร ที่มีอายุตั้งแต่ 15 - 25 ปี
จำนวน 785 คน ร้อยละ 50.6 เป็นชาย และร้อยละ 49.4 เป็นหญิง
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 34.3 มีอายุระหว่าง 15- 18 ปี ร้อยละ 35.5 มีอายุระหว่าง 19 -22 ปี
ร้อยละ 30.2 มีอายุระหว่าง 23 -25 ปี
ระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 27.0 ศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษา ร้อยละ 12.7 ระดับปวช.
ร้อยละ 11.5 ระดับ ปวส./อนุปริญญา ร้อยละ 37.2 ระดับปริญญาตรี และร้อยละ 11.7 สูงกว่าปริญญาตรี
2. ถามว่าในช่วงวันหยุดเทศกาลสงกรานต์อยากไปเที่ยวที่ไหนกับครอบครัว กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 39.1 ระบุว่าเที่ยว
ต่างจังหวัด ร้อยละ 15.2 ระบุว่าทำบุญที่วัด ร้อยละ 10.1 ระบุว่าห้างสรรพสินค้า ร้อยละ 4.5 ระบุว่าสวนสนุก
และมีถึงร้อยละ 21.7 ที่ระบุว่าไม่อยากไปกับครอบครัว แต่อยากไปกับเพื่อน
3. ในวันครอบครัวอยากทำสิ่งใดให้กับครอบครัว กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 59.4 ระบุว่าทำตัวเป็นคนดี/ ปรับปรุงตัวเอง ร้อยละ 18.2 ระบุว่าซื้อของขวัญให้ ร้อยละ 12.7 ระบุว่าเขียนบัตรอวยพร และร้อยละ 4.7 ระบุว่าทานอาหารกับคนในครอบครัว
4. เมื่อให้สมมติว่า ถ้าเป็นไปได้อยากให้ครอบครัวเป็นอย่างไร กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 46.8 ระบุว่าดีอยู่แล้ว/พึงพอใจอยู่
ร้อยละ 28.0 ระบุว่ามีความอบอุ่นในครอบครัวมากกว่านี้ ร้อยละ 18.0 ระบุว่ารวยกว่านี้ และร้อยละ 4.8 ระบุว่ามีชื่อเสียงมากกว่านี้
5. สำหรับคำถามที่ว่า คิดว่าพ่อแม่ภูมิใจในตัวท่านเรื่องใดมากที่สุด กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 37.7 ระบุว่าการเรียนหนังสือ รองลงมาร้อย ละ 28.0 ระบุว่าเป็นคนดี ร้อยละ 8.7 ระบุว่าการมีงานทำ ร้อยละ 5.2 ระบุว่าการมีความรับผิดชอบต่อตัวเอง และร้อยละ 10.7 ระบุว่า ไม่ทราบว่าพ่อแม่ภูมิใจเรื่องอะไร
6. ส่วนคำถาม คิดว่าพ่อแม่กังวลใจในตัวท่านเรื่องใดมากที่สุด กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 15.9 ระบุว่าการเรียนหนังสือ
รองลงมาร้อยละ 15.8 ระบุว่าการคบเพื่อน ร้อยละ 12.0 ระบุว่ายาเสพติด ร้อยละ 7.1 ระบุว่าการเที่ยวเตร่ ร้อยละ 5.7 ระบุว่า สุขภาพ ร้อยละ 3.6 ระบุว่าการใช้เงิน และร้อยละ 16.4 ระบุว่าไม่ทราบว่าพ่อแม่กังวลใจเรื่องอะไร
7. เมื่อให้สมมติว่า ถ้าเป็นไปได้ท่านอยากให้พ่อแม่ของท่านปรับปรุงตัวเรื่องใดมากที่สุด กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 15.3
ขอให้บ่นลูกน้อยลง ร้อยละ 8.0 ระบุว่ามีความเข้าใจลูก ๆ ร้อยละ 7.9 ระบุว่ามีเวลาให้ลูก ๆ มากขึ้น ร้อยละ 3.4 ระบุว่าอยากให้พ่อ แม่ดูแลสุขภาพตนเองด้วย ร้อยละ 2.0 ระบุว่าทำงานให้น้อยลง ร้อยละ 21.5 ระบุว่าดีอยู่แล้วไม่ต้องต้องปรับปรุง และร้อยละ 9.8 ระบุ ไม่มีความเห็น
8. ส่วนความคิดเห็นว่า สมาชิกในครอบครัวได้มีการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ในระดับใด
กิจกรรมที่สมาชิกในครอบครัวของกลุ่มตัวอย่างปฏิบัติต่อกันส่วนใหญ่อยู่ในระดับมากจำนวน 10 กิจกรรม เรียงตามลำดับดังนี้
-การเอาใจใส่ดูแลและเอื้ออาทรต่อครอบครัว (ร้อยละ 50.8)
-การให้ความเคารพซึ่งกันและกันระหว่างคนในครอบครัว (ร้อยละ 48.8)
-รู้จักภาระหน้าที่และช่วยเหลือสมาชิกในครอบครัว (ร้อยละ 48.7)
-การมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว (ร้อยละ 46.8)
-การให้อภัยซึ่งกันและกันระหว่างคนในครอบครัว (ร้อยละ 46.4)
-การมอบความรักให้กับครอบครัว (ร้อยละ 45.1)
-การให้ความไว้วางใจซึ่งกันและกันระหว่างคนในครอบครัว (ร้อยละ 43.6)
-การให้กำลังใจซึ่งกันและกันระหว่างคนในครอบครัว (ร้อยละ 41.5)
-การสื่อสารกับคนในครอบครัว (ร้อยละ 41.1)
-มีความใกล้ชิดสัมผัสกันระหว่างคนในครอบครัว (ร้อยละ 39.7)
กิจกรรมที่สมาชิกในครอบครัวของกลุ่มตัวอย่างปฏิบัติต่อกันอยู่ในระดับปานกลางมีจำนวน 2 กิจกรรม เรียงตามลำดับดังนี้
-มีการปรับตัวตามภาวการณ์เปลี่ยนแปลงของบุคคลในครอบครัว (ร้อยละ 41.5)
-การใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพ (ร้อยละ 38.0)
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 397 50.6
หญิง 388 49.4
อายุ :
15 - 18 ปี 269 34.3
19 - 22 ปี 279 35.5
23 - 25 ปี 237 30.2
กำลังศึกษา:
มัธยมศึกษา 211 27.0
ปวช. 100 12.7
ปวส./อนุปริญญา 90 11.5
ปริญญาตรี 292 37.2
สูงกว่าปริญญาตรี 92 11.7
ตารางที่ 2 ในช่วงวันหยุดเทศกาลสงกรานต์ท่านอยากไปเที่ยวที่ไหนกับครอบครัว
จำนวน ร้อยละ
เที่ยวต่างจังหวัด 307 39.1
ทำบุญที่วัด 119 15.2
ห้างสรรพสินค้า 79 10.1
สวนสนุก 35 4.5
ไม่อยากไปกับครอบครัว แต่อยากไปกับเพื่อน 170 21.7
อื่นๆ 75 9.6
ตารางที่ 3 ในวันครอบครัวท่านอยากทำสิ่งใดให้กับครอบครัวของท่าน
จำนวน ร้อยละ
ทำตัวเป็นคนดี/ ปรับปรุงตัวเอง 466 59.4
ซื้อของขวัญให้ 143 18.2
เขียนบัตรอวยพร 100 12.7
ทานอาหารกับคนในครอบครัว 37 4.7
อื่นๆ 39 5.0
ตารางที่ 4 สมมติว่า ถ้าเป็นไปได้ท่านอยากให้ครอบครัวของท่านเป็นอย่างไร
จำนวน ร้อยละ
ดีอยู่แล้ว/พึงพอใจอยู่แล้ว 367 46.8
มีความอบอุ่นในครอบครัวมากกว่านี้ 220 28.0
รวยกว่านี้ 141 18.0
มีชื่อเสียงมากกว่านี้ 38 4.8
อื่น ๆ 19 2.4
ตารางที่ 5 ท่านคิดว่าพ่อแม่ภูมิใจในตัวท่านเรื่องใดมากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
การเรียนหนังสือ 296 37.7
เป็นคนดี 220 28.0
การมีงานทำ 68 8.7
การมีความรับผิดชอบต่อตัวเอง 41 5.2
ไม่ทราบว่าพ่อแม่ภูมิใจเรื่องอะไร 84 10.7
อื่น ๆ 76 9.9
ตารางที่ 6 ท่านคิดว่าพ่อแม่กังวลใจในตัวท่านเรื่องใดมากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
การเรียนหนังสือ 125 15.9
การคบเพื่อน 124 15.8
ยาเสพติด 94 12.0
การเที่ยวเตร่ 56 7.1
สุขภาพ 45 5.7
การใช้เงิน 28 3.6
ไม่ทราบว่าพ่อแม่กังวลใจเรื่องอะไร 129 16.4
อื่น ๆ อาทิความปลอดภัย การพนัน การพักผ่อน อารมณ์/ความเครียด 184 23.4
ตารางที่ 7 สมมติว่า ถ้าเป็นไปได้ท่านอยากให้พ่อแม่ของท่านปรับปรุงตัวเรื่องใดมากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
ขอให้บ่นลูกน้อยลง 120 15.3
มีความเข้าใจลูก ๆ 63 8.0
มีเวลาให้ลูก ๆ มากขึ้น 62 7.9
ให้พ่อแม่ดูแลสุขภาพตนเอง 27 3.4
ทำงานให้น้อยลง 16 2.0
ดีอยู่แล้วไม่ต้องต้องปรับปรุง 4 21.5
อื่น ๆ อาทิ อารมณ์/ความเครียด การมีเหตุผล การพนัน 251 32.0
ไม่มีความคิดเห็น 77 9.8
ตารางที่ 8 ตามความคิดเห็นของท่าน สมาชิกในครอบครัวได้มีการปฏิบัติสิ่งต่อไปนี้อยู่ในระดับใด
มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
1. การเอาใจใส่ดูแลและเอื้ออาทรต่อครอบครัว 19.1 50.8 26.8 2.5 0.8
2. การให้ความเคารพซึ่งกันและกันระหว่างคนในครอบครัว 19.1 48.8 28.0 3.6 0.5
3. รู้จักภาระหน้าที่และช่วยเหลือสมาชิกในครอบครัว 18.0 48.7 31.1 2.2 0.1
4. การมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว 20.5 46.8 30.2 2.0 0.5
5. การให้อภัยซึ่งกันและกันระหว่างคนในครอบครัว 19.2 46.4 29.9 4.5 0.0
6. การมอบความรักให้กับครอบครัว 18.7 45.1 31.6 4.2 0.4
7. การให้ความไว้วางใจซึ่งกันและกันระหว่างคนในครอบครัว 24.1 43.6 27.3 4.8 0.3
8. การให้กำลังใจซึ่งกันและกันระหว่างคนในครอบครัว 22.4 41.5 31.5 4.6 0.0
9. การสื่อสารกับคนในครอบครัว 15.5 41.1 31.7 10.6 1.0
10. มีการปรับตัวตามภาวการณ์เปลี่ยนแปลงของบุคคลในครอบครัว 10.3 40.6 41.5 7.5 0.0
11. มีความใกล้ชิดสัมผัสกันระหว่างคนในครอบครัว 21.0 39.7 33.0 5.0 1.3
12. การใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพ 13.2 35.5 38.0 12.1 1.1
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-ลจ-
เนื่องในวันที่ 14 เมษายนของทุกปีรัฐบาลได้กำหนดให้เป็น "วันครอบครัว" ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์
จึงดำเนินการสำรวจความความคิดเห็นของเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับครอบครัว ในด้านความคาดหวัง
ต่อครอบครัว สิ่งที่อยากทำให้ครอบครัว ความต้องการท่องเที่ยวในช่วงวันหยุดเทศกาลสงกรานต์ร่วมกับครอบครัว
และกิจกรรมที่ครอบครัวทำร่วมกัน อาทิ ความเอาใจใส่ดูแลซึ่งกันและกัน การให้ความรักและความเคารพต่อกัน
การให้กำลังใจและการให้อภัยต่อกัน ตลอดจนความใกล้ชิดและการใช้เวลาร่วมกัน เป็นต้น
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง
การสำรวจ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างเยาวชนที่มีอายุตั้งแต่ 15 - 25 ปี ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขต
ปกครองในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 20 เขต ดังนี้
คลองเตย คันนายาว จตุจักร ดอนเมือง ดุสิต ตลิ่งชัน ทุ่งครุ บางกอกน้อย บางเขน
บางแค บางซื่อ บางบอน บางรัก ปทุมวัน ป้อมปราบฯ พระโขนง พระนคร
มีนบุรี วัฒนา สะพานสูง
ขั้นสอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นสาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ ได้ตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 785 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +5% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ในเรื่อง " อุ่นไอรัก ครอบครัวไทย "
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 8 - 9 เมษายน 2547
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 12 เมษายน 2547
ผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสำรวจภาคสนาม จากเยาวชนในกรุงเทพมหานคร ที่มีอายุตั้งแต่ 15 - 25 ปี
จำนวน 785 คน ร้อยละ 50.6 เป็นชาย และร้อยละ 49.4 เป็นหญิง
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 34.3 มีอายุระหว่าง 15- 18 ปี ร้อยละ 35.5 มีอายุระหว่าง 19 -22 ปี
ร้อยละ 30.2 มีอายุระหว่าง 23 -25 ปี
ระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 27.0 ศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษา ร้อยละ 12.7 ระดับปวช.
ร้อยละ 11.5 ระดับ ปวส./อนุปริญญา ร้อยละ 37.2 ระดับปริญญาตรี และร้อยละ 11.7 สูงกว่าปริญญาตรี
2. ถามว่าในช่วงวันหยุดเทศกาลสงกรานต์อยากไปเที่ยวที่ไหนกับครอบครัว กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 39.1 ระบุว่าเที่ยว
ต่างจังหวัด ร้อยละ 15.2 ระบุว่าทำบุญที่วัด ร้อยละ 10.1 ระบุว่าห้างสรรพสินค้า ร้อยละ 4.5 ระบุว่าสวนสนุก
และมีถึงร้อยละ 21.7 ที่ระบุว่าไม่อยากไปกับครอบครัว แต่อยากไปกับเพื่อน
3. ในวันครอบครัวอยากทำสิ่งใดให้กับครอบครัว กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 59.4 ระบุว่าทำตัวเป็นคนดี/ ปรับปรุงตัวเอง ร้อยละ 18.2 ระบุว่าซื้อของขวัญให้ ร้อยละ 12.7 ระบุว่าเขียนบัตรอวยพร และร้อยละ 4.7 ระบุว่าทานอาหารกับคนในครอบครัว
4. เมื่อให้สมมติว่า ถ้าเป็นไปได้อยากให้ครอบครัวเป็นอย่างไร กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 46.8 ระบุว่าดีอยู่แล้ว/พึงพอใจอยู่
ร้อยละ 28.0 ระบุว่ามีความอบอุ่นในครอบครัวมากกว่านี้ ร้อยละ 18.0 ระบุว่ารวยกว่านี้ และร้อยละ 4.8 ระบุว่ามีชื่อเสียงมากกว่านี้
5. สำหรับคำถามที่ว่า คิดว่าพ่อแม่ภูมิใจในตัวท่านเรื่องใดมากที่สุด กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 37.7 ระบุว่าการเรียนหนังสือ รองลงมาร้อย ละ 28.0 ระบุว่าเป็นคนดี ร้อยละ 8.7 ระบุว่าการมีงานทำ ร้อยละ 5.2 ระบุว่าการมีความรับผิดชอบต่อตัวเอง และร้อยละ 10.7 ระบุว่า ไม่ทราบว่าพ่อแม่ภูมิใจเรื่องอะไร
6. ส่วนคำถาม คิดว่าพ่อแม่กังวลใจในตัวท่านเรื่องใดมากที่สุด กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 15.9 ระบุว่าการเรียนหนังสือ
รองลงมาร้อยละ 15.8 ระบุว่าการคบเพื่อน ร้อยละ 12.0 ระบุว่ายาเสพติด ร้อยละ 7.1 ระบุว่าการเที่ยวเตร่ ร้อยละ 5.7 ระบุว่า สุขภาพ ร้อยละ 3.6 ระบุว่าการใช้เงิน และร้อยละ 16.4 ระบุว่าไม่ทราบว่าพ่อแม่กังวลใจเรื่องอะไร
7. เมื่อให้สมมติว่า ถ้าเป็นไปได้ท่านอยากให้พ่อแม่ของท่านปรับปรุงตัวเรื่องใดมากที่สุด กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 15.3
ขอให้บ่นลูกน้อยลง ร้อยละ 8.0 ระบุว่ามีความเข้าใจลูก ๆ ร้อยละ 7.9 ระบุว่ามีเวลาให้ลูก ๆ มากขึ้น ร้อยละ 3.4 ระบุว่าอยากให้พ่อ แม่ดูแลสุขภาพตนเองด้วย ร้อยละ 2.0 ระบุว่าทำงานให้น้อยลง ร้อยละ 21.5 ระบุว่าดีอยู่แล้วไม่ต้องต้องปรับปรุง และร้อยละ 9.8 ระบุ ไม่มีความเห็น
8. ส่วนความคิดเห็นว่า สมาชิกในครอบครัวได้มีการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ในระดับใด
กิจกรรมที่สมาชิกในครอบครัวของกลุ่มตัวอย่างปฏิบัติต่อกันส่วนใหญ่อยู่ในระดับมากจำนวน 10 กิจกรรม เรียงตามลำดับดังนี้
-การเอาใจใส่ดูแลและเอื้ออาทรต่อครอบครัว (ร้อยละ 50.8)
-การให้ความเคารพซึ่งกันและกันระหว่างคนในครอบครัว (ร้อยละ 48.8)
-รู้จักภาระหน้าที่และช่วยเหลือสมาชิกในครอบครัว (ร้อยละ 48.7)
-การมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว (ร้อยละ 46.8)
-การให้อภัยซึ่งกันและกันระหว่างคนในครอบครัว (ร้อยละ 46.4)
-การมอบความรักให้กับครอบครัว (ร้อยละ 45.1)
-การให้ความไว้วางใจซึ่งกันและกันระหว่างคนในครอบครัว (ร้อยละ 43.6)
-การให้กำลังใจซึ่งกันและกันระหว่างคนในครอบครัว (ร้อยละ 41.5)
-การสื่อสารกับคนในครอบครัว (ร้อยละ 41.1)
-มีความใกล้ชิดสัมผัสกันระหว่างคนในครอบครัว (ร้อยละ 39.7)
กิจกรรมที่สมาชิกในครอบครัวของกลุ่มตัวอย่างปฏิบัติต่อกันอยู่ในระดับปานกลางมีจำนวน 2 กิจกรรม เรียงตามลำดับดังนี้
-มีการปรับตัวตามภาวการณ์เปลี่ยนแปลงของบุคคลในครอบครัว (ร้อยละ 41.5)
-การใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพ (ร้อยละ 38.0)
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 397 50.6
หญิง 388 49.4
อายุ :
15 - 18 ปี 269 34.3
19 - 22 ปี 279 35.5
23 - 25 ปี 237 30.2
กำลังศึกษา:
มัธยมศึกษา 211 27.0
ปวช. 100 12.7
ปวส./อนุปริญญา 90 11.5
ปริญญาตรี 292 37.2
สูงกว่าปริญญาตรี 92 11.7
ตารางที่ 2 ในช่วงวันหยุดเทศกาลสงกรานต์ท่านอยากไปเที่ยวที่ไหนกับครอบครัว
จำนวน ร้อยละ
เที่ยวต่างจังหวัด 307 39.1
ทำบุญที่วัด 119 15.2
ห้างสรรพสินค้า 79 10.1
สวนสนุก 35 4.5
ไม่อยากไปกับครอบครัว แต่อยากไปกับเพื่อน 170 21.7
อื่นๆ 75 9.6
ตารางที่ 3 ในวันครอบครัวท่านอยากทำสิ่งใดให้กับครอบครัวของท่าน
จำนวน ร้อยละ
ทำตัวเป็นคนดี/ ปรับปรุงตัวเอง 466 59.4
ซื้อของขวัญให้ 143 18.2
เขียนบัตรอวยพร 100 12.7
ทานอาหารกับคนในครอบครัว 37 4.7
อื่นๆ 39 5.0
ตารางที่ 4 สมมติว่า ถ้าเป็นไปได้ท่านอยากให้ครอบครัวของท่านเป็นอย่างไร
จำนวน ร้อยละ
ดีอยู่แล้ว/พึงพอใจอยู่แล้ว 367 46.8
มีความอบอุ่นในครอบครัวมากกว่านี้ 220 28.0
รวยกว่านี้ 141 18.0
มีชื่อเสียงมากกว่านี้ 38 4.8
อื่น ๆ 19 2.4
ตารางที่ 5 ท่านคิดว่าพ่อแม่ภูมิใจในตัวท่านเรื่องใดมากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
การเรียนหนังสือ 296 37.7
เป็นคนดี 220 28.0
การมีงานทำ 68 8.7
การมีความรับผิดชอบต่อตัวเอง 41 5.2
ไม่ทราบว่าพ่อแม่ภูมิใจเรื่องอะไร 84 10.7
อื่น ๆ 76 9.9
ตารางที่ 6 ท่านคิดว่าพ่อแม่กังวลใจในตัวท่านเรื่องใดมากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
การเรียนหนังสือ 125 15.9
การคบเพื่อน 124 15.8
ยาเสพติด 94 12.0
การเที่ยวเตร่ 56 7.1
สุขภาพ 45 5.7
การใช้เงิน 28 3.6
ไม่ทราบว่าพ่อแม่กังวลใจเรื่องอะไร 129 16.4
อื่น ๆ อาทิความปลอดภัย การพนัน การพักผ่อน อารมณ์/ความเครียด 184 23.4
ตารางที่ 7 สมมติว่า ถ้าเป็นไปได้ท่านอยากให้พ่อแม่ของท่านปรับปรุงตัวเรื่องใดมากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
ขอให้บ่นลูกน้อยลง 120 15.3
มีความเข้าใจลูก ๆ 63 8.0
มีเวลาให้ลูก ๆ มากขึ้น 62 7.9
ให้พ่อแม่ดูแลสุขภาพตนเอง 27 3.4
ทำงานให้น้อยลง 16 2.0
ดีอยู่แล้วไม่ต้องต้องปรับปรุง 4 21.5
อื่น ๆ อาทิ อารมณ์/ความเครียด การมีเหตุผล การพนัน 251 32.0
ไม่มีความคิดเห็น 77 9.8
ตารางที่ 8 ตามความคิดเห็นของท่าน สมาชิกในครอบครัวได้มีการปฏิบัติสิ่งต่อไปนี้อยู่ในระดับใด
มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
1. การเอาใจใส่ดูแลและเอื้ออาทรต่อครอบครัว 19.1 50.8 26.8 2.5 0.8
2. การให้ความเคารพซึ่งกันและกันระหว่างคนในครอบครัว 19.1 48.8 28.0 3.6 0.5
3. รู้จักภาระหน้าที่และช่วยเหลือสมาชิกในครอบครัว 18.0 48.7 31.1 2.2 0.1
4. การมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว 20.5 46.8 30.2 2.0 0.5
5. การให้อภัยซึ่งกันและกันระหว่างคนในครอบครัว 19.2 46.4 29.9 4.5 0.0
6. การมอบความรักให้กับครอบครัว 18.7 45.1 31.6 4.2 0.4
7. การให้ความไว้วางใจซึ่งกันและกันระหว่างคนในครอบครัว 24.1 43.6 27.3 4.8 0.3
8. การให้กำลังใจซึ่งกันและกันระหว่างคนในครอบครัว 22.4 41.5 31.5 4.6 0.0
9. การสื่อสารกับคนในครอบครัว 15.5 41.1 31.7 10.6 1.0
10. มีการปรับตัวตามภาวการณ์เปลี่ยนแปลงของบุคคลในครอบครัว 10.3 40.6 41.5 7.5 0.0
11. มีความใกล้ชิดสัมผัสกันระหว่างคนในครอบครัว 21.0 39.7 33.0 5.0 1.3
12. การใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพ 13.2 35.5 38.0 12.1 1.1
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-ลจ-