วัตถุประสงค์ของการสำรวจ
การสำรวจครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร ในเรื่องแนวคิดการนำ
เข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านของไทย ในประเด็นคำถามการรับทราบข่าว ผลกระทบต่อราคาข้าว ภาพลักษณ์มาตรฐาน
คุณภาพข้าวไทยภายหลังจากการนำเข้าข้าว กลุ่มที่ได้รับผลประโยชน์จากแนวคิดการนำเข้าข้าว และความมั่นใจต่อความ
โปร่งใสของกระบวนการนำเข้าข้าว ตลอดจนความเห็นเกี่ยวกับการเป็นศูนย์กลางหรือการจัดการขายข้าวของรัฐบาลไทย
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง
การสำรวจ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของ
กรุงเทพมหานคร ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขต
ปกครองในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 30 เขต ดังนี้
พระนคร ป้อมปราบฯ ดุสิต ปทุมวัน ราชเทวี คลองเตย ดินแดง พระโขนง ลาดพร้าว
ห้วยขวาง วัฒนา บางรัก ยานนาวา คลองสาน ภาษีเจริญ บางกอกน้อย บางพลัด บึงกุ่ม
ประเวศ จตุจักร บางเขน บางซื่อ มีนบุรี ดอนเมือง บางแค หนองแขม บางบอน
ทวีวัฒนา ตลิ่งชัน บางขุนเทียน
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ ได้ตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,195 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +5% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง
" คนกรุงคิดอย่างไรกับกรณีแนวคิดการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้าน "
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 11 - 12 พฤษภาคม 2547
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 13 พฤษภาคม 2547
ผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสำรวจภาคสนาม จากประชากรในกรุงเทพมหานคร ที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป
จำนวน 1,195 คน ร้อยละ 49.9 เป็นชาย และร้อยละ 50.1 เป็นหญิง
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 31.7 มีอายุระหว่าง 18-25 ปี ร้อยละ 33.9 มีอายุระหว่าง 26-35 ปี ร้อยละ 25.2
มีอายุระหว่าง 36-45 ปี และร้อยละ 9.2 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
ระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 8.8 ระดับประถมศึกษา ร้อยละ 15.9 ระดับมัธยมศึกษา ร้อยละ 8.6
ระดับปวช. ร้อยละ 15.2 ระดับปวส./อนุปริญญา ร้อยละ 44.7 ระดับปริญญาตรี และร้อยละ 6.8
สูงกว่าปริญญาตรี
อาชีพของกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 3.8 รับราชการ ร้อยละ 7.0 พนังงานรัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 20.4
พนักงานบริษัทเอกชน ร้อยละ 11.0 เจ้าของกิจการ ร้อยละ 13.6 รับจ้างทั่วไป ร้อยละ 15.8 ค้าขาย
ร้อยละ 22.7 นักศึกษา ร้อยละ 4.9 พ่อบ้าน/แม่บ้าน และอื่น ๆ ร้อยละ 0.6
2. เมื่อถามว่า ทราบข่าวเกี่ยวกับแนวคิดการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านหรือไม่ กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 64.4 ระบุว่าทราบ
ร้อยละ 35.6 ระบุว่าไม่ทราบ
3. สำหรับคำถาม เห็นด้วยกับแนวคิดการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านของรัฐมนตรีกระทรวงพาณิชย์หรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 62.6 ระบุว่าไม่เห็นด้วย ร้อยละ 24.1 ระบุว่าเห็นด้วย และร้อยละ 13.3 ไม่มีความเห็น
4. ส่วนคำถามว่า การนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านมีผลกระทบต่อราคาข้าวภายในประเทศอย่างไร
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 42.2 ระบุว่าราคาข้าวต่ำลง ร้อยละ 27.4 ระบุว่าราคาเหมือนเดิม ร้อยละ 22.5 ระบุว่าราคาสูงขึ้น
และร้อยละ 7.9 ระบุไม่มีความเห็น
5. เมื่อถามว่า แนวคิดการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านจะทำให้ภาพลักษณ์มาตรฐานคุณภาพข้าวไทยเป็นอย่างไร
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 45.6 ระบุว่าแย่ลง ร้อยละ 33.1 ระบุว่าเหมือนเดิม ร้อยละ 13.6 ระบุว่าดีขึ้น
และร้อยละ 7.7 ระบุว่าไม่มีความเห็น
6. สำหรับคำถามว่า เห็นด้วยหรือไม่กับการที่รัฐบาลไทยไปช่วยเหลือชาวนาของประเทศเพื่อนบ้าน
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 53.1 ระบุว่าไม่เห็นด้วย ร้อยละ 22.8 ระบุว่าเห็นด้วย และร้อยละ 24.1 ไม่มีความเห็น
7. ส่วนคำถาม คิดว่าใครน่าจะเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์ จากแนวคิดการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้าน
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 43.9 ระบุว่านักการเมือง ร้อยละ 20.8 ระบุว่าผู้ค้าข้าวส่งออก ร้อยละ 14.8 ระบุว่าผู้บริโภค
ร้อยละ 9.2 ระบุว่าเกษตรกร ร้อยละ 9.0 ระบุว่าเจ้าของโรงสี
8. เมื่อถามมั่นใจหรือไม่ว่า แนวคิดการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านจะมีความโปร่งใสทุกกระบวนการ
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 69.5 ระบุว่าไม่มั่นใจ ร้อยละ 16.3 ระบุว่ามั่นใจ และร้อยละ 14.2 ระบุว่าไม่มีความเห็น
9. สำหรับคำถามเห็นด้วยหรือไม่ กับการที่รัฐบาลไทยจะเป็นศูนย์กลางหรือจัดการขายข้าวคุณภาพต่ำให้กับประเทศที่สาม
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 48.3 ระบุว่าไม่เห็นด้วย ร้อยละ 32.0 ระบุว่าเห็นด้วย และร้อยละ 19.7 ไม่มีความเห็น
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
ตารางที่ 1: ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 596 49.9
หญิง 599 50.1
อายุ :
18 - 25 ปี 379 31.7
26 - 35 ปี 405 33.9
36 - 45 ปี 301 25.2
45 ปีขึ้นไป 110 9.2
การศึกษา:
ประถมศึกษา 105 8.8
มัธยมศึกษา 190 15.9
ปวช. 103 8.6
ปวส./อนุปริญญา 182 15.2
ปริญญาตรี 534 44.7
สูงกว่าปริญญาตรี 81 6.8
อาชีพ :
รับราชการ 46 3.8
รัฐวิสาหกิจ 84 7.0
พนักงานบริษัทเอกชน 244 20.4
เจ้าของกิจการ 132 11.0
รับจ้างทั่วไป 163 13.6
ค้าขาย 189 15.8
นักศึกษา 271 22.7
พ่อบ้าน/แม่บ้าน 59 4.9
อื่น ๆ 7 0.6
ตารางที่ 2: ท่านทราบข่าวเกี่ยวกับแนวคิดการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ทราบ 770 64.4
ไม่ทราบ 425 35.6
ตารางที่ 3: ท่านเห็นด้วยกับแนวคิดการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านของรัฐมนตรีกระทรวงพาณิชย์หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 288 24.1
ไม่เห็นด้วย 748 62.6
ไม่มีความเห็น 159 13.3
ตารางที่ 4: ท่านคิดว่าการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้าน มีผลกระทบต่อราคาข้าวภายในประเทศอย่างไร
จำนวน ร้อยละ
ราคาสูงขึ้น 269 22.5
ราคาเหมือนเดิม 327 27.4
ราคาต่ำลง 504 42.2
ไม่มีความเห็น 95 7.9
ตารางที่ 5: ท่านคิดว่า แนวคิดการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้าน จะทำให้ภาพลักษณ์มาตรฐานคุณภาพข้าวไทยเป็นอย่างไร
จำนวน ร้อยละ
ดีขึ้น 162 13.6
เหมือนเดิม 396 33.1
แย่ลง 545 45.6
ไม่มีความเห็น 92 7.7
ตารางที่ 6: ท่านเห็นด้วยหรือไม่กับการที่รัฐบาลไทยไปช่วยเหลือชาวนาของประเทศเพื่อนบ้าน (โดยการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้าน)
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 273 22.8
ไม่เห็นด้วย 634 53.1
ไม่มีความเห็น 288 24.1
ตารางที่ 7: ท่านคิดว่าใครน่าจะเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์ จากแนวคิดการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้าน
จำนวน ร้อยละ
นักการเมือง 525 43.9
ผู้ค้าข้าวส่งออก 248 20.8
ผู้บริโภค 177 14.8
เกษตรกร 110 9.2
เจ้าของโรงสี 108 9.0
อื่น ๆ 27 2.3
ตารางที่ 8: ท่านมั่นใจหรือไม่ว่า แนวคิดการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านจะมีความโปร่งใสทุกกระบวนการ
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 195 16.3
ไม่มั่นใจ 830 69.5
ไม่มีความเห็น 170 14.2
ตารางที่ 9: ท่านเห็นด้วยหรือไม่ กับการที่รัฐบาลไทยจะเป็นศูนย์กลางหรือจัดการขายข้าวคุณภาพต่ำให้กับประเทศที่สาม
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 382 32.0
ไม่เห็นด้วย 577 48.3
ไม่มีความเห็น 236 19.7
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-ลจ-
การสำรวจครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร ในเรื่องแนวคิดการนำ
เข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านของไทย ในประเด็นคำถามการรับทราบข่าว ผลกระทบต่อราคาข้าว ภาพลักษณ์มาตรฐาน
คุณภาพข้าวไทยภายหลังจากการนำเข้าข้าว กลุ่มที่ได้รับผลประโยชน์จากแนวคิดการนำเข้าข้าว และความมั่นใจต่อความ
โปร่งใสของกระบวนการนำเข้าข้าว ตลอดจนความเห็นเกี่ยวกับการเป็นศูนย์กลางหรือการจัดการขายข้าวของรัฐบาลไทย
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง
การสำรวจ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของ
กรุงเทพมหานคร ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขต
ปกครองในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 30 เขต ดังนี้
พระนคร ป้อมปราบฯ ดุสิต ปทุมวัน ราชเทวี คลองเตย ดินแดง พระโขนง ลาดพร้าว
ห้วยขวาง วัฒนา บางรัก ยานนาวา คลองสาน ภาษีเจริญ บางกอกน้อย บางพลัด บึงกุ่ม
ประเวศ จตุจักร บางเขน บางซื่อ มีนบุรี ดอนเมือง บางแค หนองแขม บางบอน
ทวีวัฒนา ตลิ่งชัน บางขุนเทียน
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ ได้ตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,195 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +5% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง
" คนกรุงคิดอย่างไรกับกรณีแนวคิดการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้าน "
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 11 - 12 พฤษภาคม 2547
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 13 พฤษภาคม 2547
ผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสำรวจภาคสนาม จากประชากรในกรุงเทพมหานคร ที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป
จำนวน 1,195 คน ร้อยละ 49.9 เป็นชาย และร้อยละ 50.1 เป็นหญิง
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 31.7 มีอายุระหว่าง 18-25 ปี ร้อยละ 33.9 มีอายุระหว่าง 26-35 ปี ร้อยละ 25.2
มีอายุระหว่าง 36-45 ปี และร้อยละ 9.2 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
ระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 8.8 ระดับประถมศึกษา ร้อยละ 15.9 ระดับมัธยมศึกษา ร้อยละ 8.6
ระดับปวช. ร้อยละ 15.2 ระดับปวส./อนุปริญญา ร้อยละ 44.7 ระดับปริญญาตรี และร้อยละ 6.8
สูงกว่าปริญญาตรี
อาชีพของกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 3.8 รับราชการ ร้อยละ 7.0 พนังงานรัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 20.4
พนักงานบริษัทเอกชน ร้อยละ 11.0 เจ้าของกิจการ ร้อยละ 13.6 รับจ้างทั่วไป ร้อยละ 15.8 ค้าขาย
ร้อยละ 22.7 นักศึกษา ร้อยละ 4.9 พ่อบ้าน/แม่บ้าน และอื่น ๆ ร้อยละ 0.6
2. เมื่อถามว่า ทราบข่าวเกี่ยวกับแนวคิดการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านหรือไม่ กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 64.4 ระบุว่าทราบ
ร้อยละ 35.6 ระบุว่าไม่ทราบ
3. สำหรับคำถาม เห็นด้วยกับแนวคิดการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านของรัฐมนตรีกระทรวงพาณิชย์หรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 62.6 ระบุว่าไม่เห็นด้วย ร้อยละ 24.1 ระบุว่าเห็นด้วย และร้อยละ 13.3 ไม่มีความเห็น
4. ส่วนคำถามว่า การนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านมีผลกระทบต่อราคาข้าวภายในประเทศอย่างไร
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 42.2 ระบุว่าราคาข้าวต่ำลง ร้อยละ 27.4 ระบุว่าราคาเหมือนเดิม ร้อยละ 22.5 ระบุว่าราคาสูงขึ้น
และร้อยละ 7.9 ระบุไม่มีความเห็น
5. เมื่อถามว่า แนวคิดการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านจะทำให้ภาพลักษณ์มาตรฐานคุณภาพข้าวไทยเป็นอย่างไร
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 45.6 ระบุว่าแย่ลง ร้อยละ 33.1 ระบุว่าเหมือนเดิม ร้อยละ 13.6 ระบุว่าดีขึ้น
และร้อยละ 7.7 ระบุว่าไม่มีความเห็น
6. สำหรับคำถามว่า เห็นด้วยหรือไม่กับการที่รัฐบาลไทยไปช่วยเหลือชาวนาของประเทศเพื่อนบ้าน
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 53.1 ระบุว่าไม่เห็นด้วย ร้อยละ 22.8 ระบุว่าเห็นด้วย และร้อยละ 24.1 ไม่มีความเห็น
7. ส่วนคำถาม คิดว่าใครน่าจะเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์ จากแนวคิดการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้าน
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 43.9 ระบุว่านักการเมือง ร้อยละ 20.8 ระบุว่าผู้ค้าข้าวส่งออก ร้อยละ 14.8 ระบุว่าผู้บริโภค
ร้อยละ 9.2 ระบุว่าเกษตรกร ร้อยละ 9.0 ระบุว่าเจ้าของโรงสี
8. เมื่อถามมั่นใจหรือไม่ว่า แนวคิดการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านจะมีความโปร่งใสทุกกระบวนการ
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 69.5 ระบุว่าไม่มั่นใจ ร้อยละ 16.3 ระบุว่ามั่นใจ และร้อยละ 14.2 ระบุว่าไม่มีความเห็น
9. สำหรับคำถามเห็นด้วยหรือไม่ กับการที่รัฐบาลไทยจะเป็นศูนย์กลางหรือจัดการขายข้าวคุณภาพต่ำให้กับประเทศที่สาม
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 48.3 ระบุว่าไม่เห็นด้วย ร้อยละ 32.0 ระบุว่าเห็นด้วย และร้อยละ 19.7 ไม่มีความเห็น
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
ตารางที่ 1: ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 596 49.9
หญิง 599 50.1
อายุ :
18 - 25 ปี 379 31.7
26 - 35 ปี 405 33.9
36 - 45 ปี 301 25.2
45 ปีขึ้นไป 110 9.2
การศึกษา:
ประถมศึกษา 105 8.8
มัธยมศึกษา 190 15.9
ปวช. 103 8.6
ปวส./อนุปริญญา 182 15.2
ปริญญาตรี 534 44.7
สูงกว่าปริญญาตรี 81 6.8
อาชีพ :
รับราชการ 46 3.8
รัฐวิสาหกิจ 84 7.0
พนักงานบริษัทเอกชน 244 20.4
เจ้าของกิจการ 132 11.0
รับจ้างทั่วไป 163 13.6
ค้าขาย 189 15.8
นักศึกษา 271 22.7
พ่อบ้าน/แม่บ้าน 59 4.9
อื่น ๆ 7 0.6
ตารางที่ 2: ท่านทราบข่าวเกี่ยวกับแนวคิดการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ทราบ 770 64.4
ไม่ทราบ 425 35.6
ตารางที่ 3: ท่านเห็นด้วยกับแนวคิดการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านของรัฐมนตรีกระทรวงพาณิชย์หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 288 24.1
ไม่เห็นด้วย 748 62.6
ไม่มีความเห็น 159 13.3
ตารางที่ 4: ท่านคิดว่าการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้าน มีผลกระทบต่อราคาข้าวภายในประเทศอย่างไร
จำนวน ร้อยละ
ราคาสูงขึ้น 269 22.5
ราคาเหมือนเดิม 327 27.4
ราคาต่ำลง 504 42.2
ไม่มีความเห็น 95 7.9
ตารางที่ 5: ท่านคิดว่า แนวคิดการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้าน จะทำให้ภาพลักษณ์มาตรฐานคุณภาพข้าวไทยเป็นอย่างไร
จำนวน ร้อยละ
ดีขึ้น 162 13.6
เหมือนเดิม 396 33.1
แย่ลง 545 45.6
ไม่มีความเห็น 92 7.7
ตารางที่ 6: ท่านเห็นด้วยหรือไม่กับการที่รัฐบาลไทยไปช่วยเหลือชาวนาของประเทศเพื่อนบ้าน (โดยการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้าน)
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 273 22.8
ไม่เห็นด้วย 634 53.1
ไม่มีความเห็น 288 24.1
ตารางที่ 7: ท่านคิดว่าใครน่าจะเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์ จากแนวคิดการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้าน
จำนวน ร้อยละ
นักการเมือง 525 43.9
ผู้ค้าข้าวส่งออก 248 20.8
ผู้บริโภค 177 14.8
เกษตรกร 110 9.2
เจ้าของโรงสี 108 9.0
อื่น ๆ 27 2.3
ตารางที่ 8: ท่านมั่นใจหรือไม่ว่า แนวคิดการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านจะมีความโปร่งใสทุกกระบวนการ
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 195 16.3
ไม่มั่นใจ 830 69.5
ไม่มีความเห็น 170 14.2
ตารางที่ 9: ท่านเห็นด้วยหรือไม่ กับการที่รัฐบาลไทยจะเป็นศูนย์กลางหรือจัดการขายข้าวคุณภาพต่ำให้กับประเทศที่สาม
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 382 32.0
ไม่เห็นด้วย 577 48.3
ไม่มีความเห็น 236 19.7
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-ลจ-