วัตถุประสงค์ของการสำรวจ
การสำรวจครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของคนกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับมาตรการปิดปั้มน้ำมันหลังเวลา 22.00 น. ของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ในประเด็นดังนี้
- เห็นด้วยหรือไม่ถ้ารัฐบาลจะปิดปั้มน้ำมันหลังเวลา 22.00 น.
- ถ้าไม่เห็นด้วยกับการปิดปั้มน้ำมันในเวลาดังกล่าว คิดว่าควรปิดเวลาใด
- การปิดปั้มน้ำมันหลังเวลา 22.00 น. จะสามารถประหยัดน้ำมันได้หรือไม่
- หว่างการรณรงค์ให้ประชาชนเข้าใจถึงปัญหาและร่วมมือกันประหยัดน้ำมัน กับการปิดปั้มน้ำมัน
รัฐบาลควรทำอย่างไร
- วิธีที่กลุ่มตัวอย่างคิดว่าจะช่วยประหยัดน้ำมันได้ผลที่สุด
- การปิดปั้มน้ำมันหลังเวลา 22.00 น. จะเกิดผลดีหรือผลเสียทางเศรษฐกิจมากกว่ากัน
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสำรวจ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครองในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 30 เขต ดังนี้ ดุสิต ป้อมปราบฯ สัมพันธวงศ์ พญาไท ปทุมวัน สาทร บางรัก ราชเทวี คลองเตย ทวีวัฒนา พระโขนง ลาดพร้าว วังทองหลาง วัฒนา สวนหลวง จตุจักร บางซื่อ ดินแดง บางเขน ทุ่งครุ บางกะปิ บึงกุ่ม ภาษีเจริญ สะพานสูง ธนบุรี บางกอกน้อย บางแค บางนา มีนบุรี ราษฎร์บูรณะ
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ ได้ตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,070 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +5% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง"ปิดปั้มน้ำมัน 4 ทุ่ม ประหยัดน้ำมันจริงหรือ"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 3 มิถุนายน 2547
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 4 มิถุนายน 2547
ผลการสำรวจ
การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสำรวจภาคสนาม จากประชากรในกรุงเทพมหานคร ที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไปจำนวน 1,070 คน
ร้อยละ 50.5 เป็นชาย
และร้อยละ 49.5 เป็นหญิง
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 25.0 มีอายุระหว่าง 18-25 ปี
ร้อยละ 27.0 มีอายุระหว่าง 26-35 ปี
ร้อยละ 27.9 มีอายุระหว่าง 36-45 ปี
และร้อยละ 20.0 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
ระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 7.1 ระดับประถมศึกษา
ร้อยละ 20.9 ระดับมัธยมศึกษา
ร้อยละ 9.5 ระดับปวช.
ร้อยละ 12.5 ระดับปวส./อนุปริญญา
ร้อยละ 41.6 ระดับปริญญาตรี
และร้อยละ 8.3 สูงกว่าปริญญาตรี
อาชีพของกลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 11.7 รับราชการ
ร้อยละ 11.1 พนักงานรัฐวิสาหกิจ
ร้อยละ 17.1 พนักงานบริษัทเอกชน
ร้อยละ 11.2 เจ้าของกิจการ
ร้อยละ 9.9 รับจ้างทั่วไป
ร้อยละ 14.9 ค้าขาย
ร้อยละ 15.9 นักศึกษา
ร้อยละ 7.6 พ่อบ้าน/แม่บ้าน
และอื่น ๆ ร้อยละ 0.7
1. เมื่อถามกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับกรณีแนวคิดของรัฐบาลที่จะปิดปั้มน้ำมันหลังเวลา 22.00 น. ทุกพื้นที่ ยกเว้นถนนมอเตอร์เวย์ เส้นทางบางนา-ตราด นั้น
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 55.0 ไม่เห็นด้วย
ร้อยละ 36.0 เห็นด้วย
และอีกร้อยละ 9.1 ไม่มีความเห็น
2. สำหรับกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เห็นด้วยกับแนวคิดปิดปั้มน้ำมันหลังเวลา 22.00 น.
ได้ให้ความเห็นว่า ควรให้เปิดตามปกติ ร้อยละ 49.7
ควรปิดเวลา 24.00 น. ร้อยละ 15.5
ให้ปิดหลัง 24.00 น. เป็นต้นไป ร้อยละ 5.6
ให้ปิดเวลา 1 นาฬิกา (ตี 1) ร้อยละ 2.0
ให้ปิดเวลา 3 นาฬิกา (ตี 3) ร้อยละ 3.2
ความเห็นอื่น ๆ ร้อยละ 19.2
ไม่ระบุ อีกร้อยละ 4.8
3. กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 45.2 เห็นว่า การที่รัฐบาลจะปิดปั้มน้ำมันหลังเวลา 22.00 น. นั้น สามารถช่วยประหยัด น้ำมันได้
ในขณะที่กลุ่มตัวอย่าง
จำนวนใกล้เคียงกัน คือ ร้อยละ 44.3 คิดว่า การปิดปั้มน้ำมันเวลาดังกล่าวไม่สามารถช่วยประหยัดน้ำมัน
และอีกร้อยละ 10.5 ไม่มีความเห็น
4. กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 44.0 มีความเห็นว่า รัฐบาลควรใช้วิธีรณรงค์ให้ประชาชนเข้าใจถึงปัญหาและร่วมกันประหยัดน้ำมันมากกว่าการกำหนดเวลาปิดปั้มน้ำมันร้อยละ 6.4 เห็นว่า รัฐบาลใช้วิธีปิดปั้มน้ำมันหลังเวลา 22.00 น.
ในขณะที่กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 36.8 เห็นว่า ควรใช้ทั้ง 2 วิธีที่กล่าวข้างต้น
และร้อยละ 12.7 ไม่มีความเห็น
5. วิธีที่กลุ่มตัวอย่างคิดว่าจะเป็นการช่วยประหยัดน้ำมันที่ได้ผลดีที่สุด คือ
ร้อยละ 36.3 จะใช้บริการรถประจำทาง
ร้อยละ 21.7 จะใช้บริการรถไฟฟ้า
ร้อยละ 19.3 จะเดินทางโดยใช้รถยนต์ร่วมกัน
ร้อยละ 17.9 จะขับรถด้วยความเร็วไม่เกิน 90 กม./ชม.
และอื่น ๆ ร้อยละ 5.0
6. กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 62.9 ไม่มั่นใจว่า จะเกิดความยุติธรรมทางการค้าระหว่างปั้มน้ำมันที่ต้องปิดตามเวลากำหนด กับปั้มที่เปิดจำหน่ายได้ หากรัฐบาลสั่งปิดปั้มน้ำมันหลัง 22.00 น.
ร้อยละ 19.3 ระบุว่า มั่นใจ
และร้อยละ 17.8 ไม่มีความเห็น
7. ถ้ารัฐบาลปิดปั้มน้ำมันหลังเวลา 22.00 น.
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 42.1 คิดว่า จะเกิดผลดีทางเศรษฐกิจมากกว่า ผลเสีย
ร้อยละ 32.2 คิดว่า จะเกิดผลเสียมากกว่าผลดี
และร้อยละ 25.7 ไม่มีความเห็น
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 540 50.5
หญิง 530 49.5
อายุ :
18 - 25 ปี 268 25.0
26 - 35 ปี 289 27.0
36 - 45 ปี 299 27.9
45 ปีขึ้นไป 214 20.0
การศึกษา:
ประถมศึกษา 76 7.1
มัธยมศึกษา 224 20.9
ปวช. 102 9.5
ปวส./อนุปริญญา 134 12.5
ปริญญาตรี 445 41.6
สูงกว่าปริญญาตรี 89 8.3
อาชีพ :
รับราชการ 125 11.7
รัฐวิสาหกิจ 119 11.1
พนักงานบริษัทเอกชน 183 17.1
เจ้าของกิจการ 120 11.2
รับจ้างทั่วไป 106 9.9
ค้าขาย 159 14.9
นักศึกษา 170 15.9
พ่อบ้าน/แม่บ้าน 81 7.6
อื่น ๆ 7 0.7
ตารางที่ 1: ท่านเห็นด้วยหรือไม่ ถ้ารัฐบาลจะปิดปั๊มน้ำมัน 4 ทุ่ม ทุกพื้นที่
(ยกเว้นถนนมอเตอร์เวย์ เส้นทางบางนา-ตราด)
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 385 36.0
ไม่เห็นด้วย 588 55.0
ไม่มีความเห็น 97 9.1
ตารางที่ 2: ถ้าไม่เห็นด้วย ท่านคิดว่ารัฐบาลควรจะปิดปั๊มน้ำมันช่วงเวลาใด
จำนวน ร้อยละ
ให้เปิดตามปกติ 292 49.7
24.00 น. (เที่ยงคืน) 91 15.5
ปิดหลัง 24.00 น. เป็นต้นไป 33 5.6
ตี 1 12 2.0
ตี 3 19 3.2
อื่น ๆ 113 19.2
ไม่ระบุ 28 4.8
ตารางที่ 3: ท่านคิดว่า ถ้ารัฐบาลปิดปั๊มน้ำมัน 4 ทุ่ม จะสามารถประหยัดน้ำมันได้หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ได้ 484 45.2
ไม่ได้ 474 44.3
ไม่มีความเห็น 112 10.5
ตารางที่ 4 : ท่านคิดว่ารัฐบาลควรใช้วิธีระหว่างการการรณรงค์ให้ประชาชนเข้าใจถึงปัญหาและร่วมกัน
ประหยัดน้ำมัน หรือวิธี ปิดปั๊มน้ำมัน 4 ทุ่มมากกว่ากัน
จำนวน ร้อยละ
ให้ประชาชนเข้าใจถึงปัญหาและร่วมกันประหยัดน้ำมัน 471 44.0
ปิดปั๊มน้ำมัน 4 ทุ่ม 69 6.4
ทั้งสองวิธี 394 36.8
ไม่มีความเห็น 136 12.7
ตารางที่ 5 : วิธีใดที่ท่านคิดว่า จะเป็นการช่วยประหยัดน้ำมันที่ได้ผลที่สุด
จำนวน ร้อยละ
ใช้บริการรถประจำทาง 388 36.3
ใช้บริการรถไฟฟ้า 232 21.7
เดินทางโดยใช้รถยนต์ร่วมกัน 206 19.3
การขับรถด้วยความเร็วไม่เกิน 90 ก.ม.ต่อช.ม. 191 17.9
อื่น ๆ 53 5.0
ตารางที่ 6: ท่านมั่นใจหรือไม่ ถ้ารัฐบาลจะปิดปั๊มน้ำมัน 4 ทุ่ม จะเกิดความยุติธรรมทางการค้าระหว่าง
ปั๊มน้ำมัน (ปั๊มที่ถูกสั่งให้หยุดจำหน่ายตามเวลาที่กำหนด กับปั๊มที่จำหน่ายได้)
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 207 19.3
ไม่มั่นใจ 673 62.9
ไม่มีความเห็น 190 17.8
ตารางที่ 7 : ถ้ารัฐบาลปิดปั๊มน้ำมัน 4 ทุ่ม จะเกิดผลดีหรือผลเสียทางด้านเศรษฐกิจมากกว่ากัน
จำนวน ร้อยละ
ผลดี 345 32.2
ผลเสีย 450 42.1
ไม่มีความเห็น 275 25.7
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-
การสำรวจครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของคนกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับมาตรการปิดปั้มน้ำมันหลังเวลา 22.00 น. ของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ในประเด็นดังนี้
- เห็นด้วยหรือไม่ถ้ารัฐบาลจะปิดปั้มน้ำมันหลังเวลา 22.00 น.
- ถ้าไม่เห็นด้วยกับการปิดปั้มน้ำมันในเวลาดังกล่าว คิดว่าควรปิดเวลาใด
- การปิดปั้มน้ำมันหลังเวลา 22.00 น. จะสามารถประหยัดน้ำมันได้หรือไม่
- หว่างการรณรงค์ให้ประชาชนเข้าใจถึงปัญหาและร่วมมือกันประหยัดน้ำมัน กับการปิดปั้มน้ำมัน
รัฐบาลควรทำอย่างไร
- วิธีที่กลุ่มตัวอย่างคิดว่าจะช่วยประหยัดน้ำมันได้ผลที่สุด
- การปิดปั้มน้ำมันหลังเวลา 22.00 น. จะเกิดผลดีหรือผลเสียทางเศรษฐกิจมากกว่ากัน
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสำรวจ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครองในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 30 เขต ดังนี้ ดุสิต ป้อมปราบฯ สัมพันธวงศ์ พญาไท ปทุมวัน สาทร บางรัก ราชเทวี คลองเตย ทวีวัฒนา พระโขนง ลาดพร้าว วังทองหลาง วัฒนา สวนหลวง จตุจักร บางซื่อ ดินแดง บางเขน ทุ่งครุ บางกะปิ บึงกุ่ม ภาษีเจริญ สะพานสูง ธนบุรี บางกอกน้อย บางแค บางนา มีนบุรี ราษฎร์บูรณะ
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ ได้ตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,070 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +5% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง"ปิดปั้มน้ำมัน 4 ทุ่ม ประหยัดน้ำมันจริงหรือ"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 3 มิถุนายน 2547
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 4 มิถุนายน 2547
ผลการสำรวจ
การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสำรวจภาคสนาม จากประชากรในกรุงเทพมหานคร ที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไปจำนวน 1,070 คน
ร้อยละ 50.5 เป็นชาย
และร้อยละ 49.5 เป็นหญิง
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 25.0 มีอายุระหว่าง 18-25 ปี
ร้อยละ 27.0 มีอายุระหว่าง 26-35 ปี
ร้อยละ 27.9 มีอายุระหว่าง 36-45 ปี
และร้อยละ 20.0 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
ระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 7.1 ระดับประถมศึกษา
ร้อยละ 20.9 ระดับมัธยมศึกษา
ร้อยละ 9.5 ระดับปวช.
ร้อยละ 12.5 ระดับปวส./อนุปริญญา
ร้อยละ 41.6 ระดับปริญญาตรี
และร้อยละ 8.3 สูงกว่าปริญญาตรี
อาชีพของกลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 11.7 รับราชการ
ร้อยละ 11.1 พนักงานรัฐวิสาหกิจ
ร้อยละ 17.1 พนักงานบริษัทเอกชน
ร้อยละ 11.2 เจ้าของกิจการ
ร้อยละ 9.9 รับจ้างทั่วไป
ร้อยละ 14.9 ค้าขาย
ร้อยละ 15.9 นักศึกษา
ร้อยละ 7.6 พ่อบ้าน/แม่บ้าน
และอื่น ๆ ร้อยละ 0.7
1. เมื่อถามกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับกรณีแนวคิดของรัฐบาลที่จะปิดปั้มน้ำมันหลังเวลา 22.00 น. ทุกพื้นที่ ยกเว้นถนนมอเตอร์เวย์ เส้นทางบางนา-ตราด นั้น
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 55.0 ไม่เห็นด้วย
ร้อยละ 36.0 เห็นด้วย
และอีกร้อยละ 9.1 ไม่มีความเห็น
2. สำหรับกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เห็นด้วยกับแนวคิดปิดปั้มน้ำมันหลังเวลา 22.00 น.
ได้ให้ความเห็นว่า ควรให้เปิดตามปกติ ร้อยละ 49.7
ควรปิดเวลา 24.00 น. ร้อยละ 15.5
ให้ปิดหลัง 24.00 น. เป็นต้นไป ร้อยละ 5.6
ให้ปิดเวลา 1 นาฬิกา (ตี 1) ร้อยละ 2.0
ให้ปิดเวลา 3 นาฬิกา (ตี 3) ร้อยละ 3.2
ความเห็นอื่น ๆ ร้อยละ 19.2
ไม่ระบุ อีกร้อยละ 4.8
3. กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 45.2 เห็นว่า การที่รัฐบาลจะปิดปั้มน้ำมันหลังเวลา 22.00 น. นั้น สามารถช่วยประหยัด น้ำมันได้
ในขณะที่กลุ่มตัวอย่าง
จำนวนใกล้เคียงกัน คือ ร้อยละ 44.3 คิดว่า การปิดปั้มน้ำมันเวลาดังกล่าวไม่สามารถช่วยประหยัดน้ำมัน
และอีกร้อยละ 10.5 ไม่มีความเห็น
4. กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 44.0 มีความเห็นว่า รัฐบาลควรใช้วิธีรณรงค์ให้ประชาชนเข้าใจถึงปัญหาและร่วมกันประหยัดน้ำมันมากกว่าการกำหนดเวลาปิดปั้มน้ำมันร้อยละ 6.4 เห็นว่า รัฐบาลใช้วิธีปิดปั้มน้ำมันหลังเวลา 22.00 น.
ในขณะที่กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 36.8 เห็นว่า ควรใช้ทั้ง 2 วิธีที่กล่าวข้างต้น
และร้อยละ 12.7 ไม่มีความเห็น
5. วิธีที่กลุ่มตัวอย่างคิดว่าจะเป็นการช่วยประหยัดน้ำมันที่ได้ผลดีที่สุด คือ
ร้อยละ 36.3 จะใช้บริการรถประจำทาง
ร้อยละ 21.7 จะใช้บริการรถไฟฟ้า
ร้อยละ 19.3 จะเดินทางโดยใช้รถยนต์ร่วมกัน
ร้อยละ 17.9 จะขับรถด้วยความเร็วไม่เกิน 90 กม./ชม.
และอื่น ๆ ร้อยละ 5.0
6. กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 62.9 ไม่มั่นใจว่า จะเกิดความยุติธรรมทางการค้าระหว่างปั้มน้ำมันที่ต้องปิดตามเวลากำหนด กับปั้มที่เปิดจำหน่ายได้ หากรัฐบาลสั่งปิดปั้มน้ำมันหลัง 22.00 น.
ร้อยละ 19.3 ระบุว่า มั่นใจ
และร้อยละ 17.8 ไม่มีความเห็น
7. ถ้ารัฐบาลปิดปั้มน้ำมันหลังเวลา 22.00 น.
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 42.1 คิดว่า จะเกิดผลดีทางเศรษฐกิจมากกว่า ผลเสีย
ร้อยละ 32.2 คิดว่า จะเกิดผลเสียมากกว่าผลดี
และร้อยละ 25.7 ไม่มีความเห็น
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 540 50.5
หญิง 530 49.5
อายุ :
18 - 25 ปี 268 25.0
26 - 35 ปี 289 27.0
36 - 45 ปี 299 27.9
45 ปีขึ้นไป 214 20.0
การศึกษา:
ประถมศึกษา 76 7.1
มัธยมศึกษา 224 20.9
ปวช. 102 9.5
ปวส./อนุปริญญา 134 12.5
ปริญญาตรี 445 41.6
สูงกว่าปริญญาตรี 89 8.3
อาชีพ :
รับราชการ 125 11.7
รัฐวิสาหกิจ 119 11.1
พนักงานบริษัทเอกชน 183 17.1
เจ้าของกิจการ 120 11.2
รับจ้างทั่วไป 106 9.9
ค้าขาย 159 14.9
นักศึกษา 170 15.9
พ่อบ้าน/แม่บ้าน 81 7.6
อื่น ๆ 7 0.7
ตารางที่ 1: ท่านเห็นด้วยหรือไม่ ถ้ารัฐบาลจะปิดปั๊มน้ำมัน 4 ทุ่ม ทุกพื้นที่
(ยกเว้นถนนมอเตอร์เวย์ เส้นทางบางนา-ตราด)
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 385 36.0
ไม่เห็นด้วย 588 55.0
ไม่มีความเห็น 97 9.1
ตารางที่ 2: ถ้าไม่เห็นด้วย ท่านคิดว่ารัฐบาลควรจะปิดปั๊มน้ำมันช่วงเวลาใด
จำนวน ร้อยละ
ให้เปิดตามปกติ 292 49.7
24.00 น. (เที่ยงคืน) 91 15.5
ปิดหลัง 24.00 น. เป็นต้นไป 33 5.6
ตี 1 12 2.0
ตี 3 19 3.2
อื่น ๆ 113 19.2
ไม่ระบุ 28 4.8
ตารางที่ 3: ท่านคิดว่า ถ้ารัฐบาลปิดปั๊มน้ำมัน 4 ทุ่ม จะสามารถประหยัดน้ำมันได้หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ได้ 484 45.2
ไม่ได้ 474 44.3
ไม่มีความเห็น 112 10.5
ตารางที่ 4 : ท่านคิดว่ารัฐบาลควรใช้วิธีระหว่างการการรณรงค์ให้ประชาชนเข้าใจถึงปัญหาและร่วมกัน
ประหยัดน้ำมัน หรือวิธี ปิดปั๊มน้ำมัน 4 ทุ่มมากกว่ากัน
จำนวน ร้อยละ
ให้ประชาชนเข้าใจถึงปัญหาและร่วมกันประหยัดน้ำมัน 471 44.0
ปิดปั๊มน้ำมัน 4 ทุ่ม 69 6.4
ทั้งสองวิธี 394 36.8
ไม่มีความเห็น 136 12.7
ตารางที่ 5 : วิธีใดที่ท่านคิดว่า จะเป็นการช่วยประหยัดน้ำมันที่ได้ผลที่สุด
จำนวน ร้อยละ
ใช้บริการรถประจำทาง 388 36.3
ใช้บริการรถไฟฟ้า 232 21.7
เดินทางโดยใช้รถยนต์ร่วมกัน 206 19.3
การขับรถด้วยความเร็วไม่เกิน 90 ก.ม.ต่อช.ม. 191 17.9
อื่น ๆ 53 5.0
ตารางที่ 6: ท่านมั่นใจหรือไม่ ถ้ารัฐบาลจะปิดปั๊มน้ำมัน 4 ทุ่ม จะเกิดความยุติธรรมทางการค้าระหว่าง
ปั๊มน้ำมัน (ปั๊มที่ถูกสั่งให้หยุดจำหน่ายตามเวลาที่กำหนด กับปั๊มที่จำหน่ายได้)
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 207 19.3
ไม่มั่นใจ 673 62.9
ไม่มีความเห็น 190 17.8
ตารางที่ 7 : ถ้ารัฐบาลปิดปั๊มน้ำมัน 4 ทุ่ม จะเกิดผลดีหรือผลเสียทางด้านเศรษฐกิจมากกว่ากัน
จำนวน ร้อยละ
ผลดี 345 32.2
ผลเสีย 450 42.1
ไม่มีความเห็น 275 25.7
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-