วัตถุประสงค์ของการสำรวจ
เพียงอีก 1 วัน จะถึงการประชุมเอดส์โลกครั้งที่ 15 ระหว่างวันที่ 11 - 16 กรกฎาคม 2547 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพค เมืองทองธานี การประชุมเอดส์โลกครั้งนี้จะมีผู้เข้าร่วมประชุมระดับผู้นำประเทศ ผู้นำองค์กร และผู้มีชื่อเสียงมาร่วมประชุมกันจำนวนมาก ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ ตระหนักถึงความสนใจของประชาชนกรุงเทพฯ ต่อสถานการณ์เอดส์ในประเทศไทย จึงได้ทำการสำรวจโพลล์ในประเด็นที่น่าสนใจ ดังนี้
- ความคิดเห็นเกี่ยวกับการยอมรับ และการให้โอกาสต่อคนติดเชื้อโรคเอดส์ของคนในสังคม
- ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาสำคัญเกี่ยวกับเอดส์ที่ควรจะแก้ไข
- ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดประชุมเอดส์โลก ครั้งที่ 15 ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง
การสำรวจ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครองในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 30 เขต ดังนี้พระนคร ป้อมปราบฯ ดุสิต พญาไท ปทุมวัน บางรัก สาทร พระโขนง ราชเทวี ดินแดง คลองเตย ห้วยขวาง บึงกุ่ม ลาดพร้าว บางกะปิ บางพลัด บางซื่อ บางกอกน้อย บางเขน วัฒนา สะพานสูง จตุจักร ดอนเมือง ภาษีเจริญ คลองสาน ทุ่งครุ บางแค หนองแขม มีนบุรี บางบอน
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ ได้ตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,195 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +5% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง " การประชุมเอดส์โลกกับมุมมองของคนกรุง "
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 7 กรกฎาคม 2547
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 10 กรกฎาคม 2547
ผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสำรวจภาคสนาม จากประชากรในกรุงเทพมหานคร ที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป จำนวน 1,195 คน ร้อยละ 49.9 เป็นชาย และร้อยละ 50.1 เป็นหญิง
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 27.9 มีอายุระหว่าง 18-25 ปี
ร้อยละ 26.2 มีอายุระหว่าง 26-35 ปี
ร้อยละ 23.9 มีอายุระหว่าง 36-45 ปี
และร้อยละ 21.9 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
ระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 10.5 ระดับประถมศึกษา
ร้อยละ 23.2 ระดับมัธยมศึกษา
ร้อยละ 15.3 ระดับปวช.
ร้อยละ 9.9 ระดับปวส./อนุปริญญา
ร้อยละ 37.7 ระดับปริญญาตรี
และร้อยละ 3.3 สูงกว่าปริญญาตรี
อาชีพของกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 23.6 นักศึกษา
ร้อยละ 23.0 พนักงานบริษัทเอกชน
ร้อยละ 16.8 ค้าขาย
ร้อยละ 9.6 เจ้าของกิจการ
ร้อยละ 7.7 รับจ้างทั่วไป
ร้อยละ 6.8 พ่อบ้าน/แม่บ้าน
ร้อยละ 6.6 พนังงานรัฐวิสาหกิจ
และร้อยละ 5.2 รับราชการ
2. คำถามทราบหรือไม่ว่าประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในการประชุมเอดส์โลกครั้งที่ 15
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 68.5 ระบุว่าทราบ
ร้อยละ 31.5 ระบุว่าไม่ทราบ
3. คิดว่าช่วงการประชุมเอดส์โลก โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร และจังหวัดนนทบุรีหยุดการเรียนการสอน
จะลดปัญหาการจราจรติดขัดได้หรือไม่
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 53.0 ระบุว่าได้
ร้อยละ 23.8 ระบุว่าไม่ได้
และร้อยละ 23.2 ระบุว่าไม่แน่ใจ
4. สำหรับคำถามความมั่นใจในการรักษาความปลอดภัยของผู้เข้าร่วมประชุมเอดส์โลก
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 55.7 ระบุว่ามั่นใจ
ร้อยละ 23.9 ระบุว่าไม่มั่นใจ
และร้อยละ 20.3 ระบุว่าไม่มีความเห็น
5. เมื่อถามว่าจะรังเกียจหรือไม่ ถ้าเพื่อนร่วมงานของท่านเป็นผู้ติดเชื้อเอดส์ (แต่ยังไม่แสดงอาการ)
กลุ่มตัวอย่างมีถึงร้อยละ 68.5 ระบุว่าไม่รังเกียจ แสดงว่าคนกรุงเทพฯ เปิดใจกว้างให้คนติดเชื้อเอดส์อยู่ร่วมในสังคมได้
6. คำถามถ้าทราบว่าพนักงานในองค์กรติดเชื้อเอดส์ ผู้บริหารองค์กรควรทำอย่างไรกับพนักงานคนนั้น
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 16.0 ระบุว่าให้ออกจากงาน
มีถึงร้อยละ 59.5 ระบุว่าให้ทำงานต่อได้
และร้อยละ 24.5 ระบุว่าไม่มีความเห็น
7. สำหรับคำถามว่าในสังคมปัจจุบัน ยอมรับและให้โอกาสกับคนติดเชื้อโรคเอดส์อย่างไร
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 38.9 ระบุว่ายอมรับ และให้โอกาสเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 48.1 ระบุว่ายอมรับ และให้โอกาสเหมือนเดิม
และร้อยละ 13.0 ระบุว่ายอมรับ และให้โอกาสน้อยลง
8. ส่วนคำถามคิดว่าปัจจุบันนี้ ปัญหาสำคัญที่ต้องแก้ไขเรื่องโรคเอดส์คืออะไร
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 62.0 ระบุว่าการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อเอดส์
และร้อยละ 38.0 ระบุว่าการยอมรับผู้ติดเชื้อเอดส์ให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม
ปัจจุบันปัญหาเรื่องการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อเอดส์ไม่ใช่ปัญหาสำคัญ แต่ปัญหาสำคัญขณะนี้คือ จะทำอย่างไรให้คนไทยยอมรับคนติดเชื้อเอดส์ให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ตามปกติเหมือนคนทั่วไป โดยไม่ถูกตั้งข้อรังเกียจจากคนในสังคม
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
ตารางที่ 1: ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 596 49.9
หญิง 599 50.1
อายุ :
18 - 25 ปี 334 27.9
26 - 35 ปี 313 26.2
36 - 45 ปี 286 23.9
45 ปีขึ้นไป 262 21.9
การศึกษา:
ประถมศึกษา 126 10.5
มัธยมศึกษา 277 23.2
ปวช. 183 15.3
ปวส./อนุปริญญา 118 9.9
ปริญญาตรี 451 37.7
สูงกว่าปริญญาตรี 40 3.3
อาชีพ :
นักศึกษา 282 23.6
พนักงานบริษัทเอกชน 275 23.0
ค้าขาย 201 16.8
เจ้าของกิจการ 115 9.6
รับจ้างทั่วไป 92 7.7
พ่อบ้าน/แม่บ้าน 81 6.8
รัฐวิสาหกิจ 79 6.6
รับราชการ 62 5.2
อื่น ๆ 8 0.7
ตารางที่ 2: ท่านทราบหรือไม่ว่าประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในการประชุมเอดส์โลกครั้งที่ 15
(วันที่ 11 - 16 กรกฎาคม 2547)
จำนวน ร้อยละ
ทราบ 819 68.5
ไม่ทราบ 376 31.5
ตารางที่ 3: ท่านคิดว่าช่วงการประชุมเอดส์โลก โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร และจังหวัดนนทบุรี
หยุดการเรียนการสอน จะลดปัญหาการจราจรติดขัดได้หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ได้ 633 53.0
ไม่ได้ 285 23.8
ไม่แน่ใจ 277 23.2
ตารางที่ 4: ท่านมั่นใจในการรักษาความปลอดภัยของผู้เข้าร่วมประชุมเอดส์โลกหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 666 55.7
ไม่มั่นใจ 286 23.9
ไม่มีความเห็น 243 20.3
ตารางที่ 5: ท่านจะรังเกียจหรือไม่ ถ้าเพื่อนร่วมงานของท่านเป็นผู้ติดเชื้อเอดส์ (แต่ยังไม่แสดงอาการ)
จำนวน ร้อยละ
รังเกียจ 164 13.7
ไม่รังเกียจ 819 68.5
ไม่มีความเห็น 212 17.7
ตารางที่ 6: ถ้าทราบว่าพนักงานในองค์กรติดเชื้อเอดส์ ผู้บริหารองค์กรควรทำอย่างไรกับพนักงานคนนั้น
จำนวน ร้อยละ
ให้ออกจากงาน 191 16.0
ให้ทำงานต่อได้ 711 59.5
ไม่มีความเห็น 293 24.5
ตารางที่ 7: ท่านคิดว่าในสังคมปัจจุบัน ยอมรับและให้โอกาสกับคนติดเชื้อโรคเอดส์อย่างไร
จำนวน ร้อยละ
ยอมรับ และให้โอกาสเพิ่มขึ้น 465 38.9
ยอมรับ และให้โอกาสเหมือนเดิม 575 48.1
ยอมรับ และให้โอกาสน้อยลง 155 13.0
ตารางที่ 8: ท่านคิดว่าปัจจุบันนี้ ปัญหาสำคัญที่ต้องแก้ไขเรื่องโรคเอดส์คืออะไร
จำนวน ร้อยละ
การป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อเอดส์ 741 62.0
การยอมรับผู้ติดเชื้อเอดส์ให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม 454 38.0
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-
เพียงอีก 1 วัน จะถึงการประชุมเอดส์โลกครั้งที่ 15 ระหว่างวันที่ 11 - 16 กรกฎาคม 2547 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพค เมืองทองธานี การประชุมเอดส์โลกครั้งนี้จะมีผู้เข้าร่วมประชุมระดับผู้นำประเทศ ผู้นำองค์กร และผู้มีชื่อเสียงมาร่วมประชุมกันจำนวนมาก ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ ตระหนักถึงความสนใจของประชาชนกรุงเทพฯ ต่อสถานการณ์เอดส์ในประเทศไทย จึงได้ทำการสำรวจโพลล์ในประเด็นที่น่าสนใจ ดังนี้
- ความคิดเห็นเกี่ยวกับการยอมรับ และการให้โอกาสต่อคนติดเชื้อโรคเอดส์ของคนในสังคม
- ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาสำคัญเกี่ยวกับเอดส์ที่ควรจะแก้ไข
- ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดประชุมเอดส์โลก ครั้งที่ 15 ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง
การสำรวจ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครองในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 30 เขต ดังนี้พระนคร ป้อมปราบฯ ดุสิต พญาไท ปทุมวัน บางรัก สาทร พระโขนง ราชเทวี ดินแดง คลองเตย ห้วยขวาง บึงกุ่ม ลาดพร้าว บางกะปิ บางพลัด บางซื่อ บางกอกน้อย บางเขน วัฒนา สะพานสูง จตุจักร ดอนเมือง ภาษีเจริญ คลองสาน ทุ่งครุ บางแค หนองแขม มีนบุรี บางบอน
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ ได้ตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,195 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +5% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง " การประชุมเอดส์โลกกับมุมมองของคนกรุง "
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 7 กรกฎาคม 2547
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 10 กรกฎาคม 2547
ผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสำรวจภาคสนาม จากประชากรในกรุงเทพมหานคร ที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป จำนวน 1,195 คน ร้อยละ 49.9 เป็นชาย และร้อยละ 50.1 เป็นหญิง
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 27.9 มีอายุระหว่าง 18-25 ปี
ร้อยละ 26.2 มีอายุระหว่าง 26-35 ปี
ร้อยละ 23.9 มีอายุระหว่าง 36-45 ปี
และร้อยละ 21.9 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
ระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 10.5 ระดับประถมศึกษา
ร้อยละ 23.2 ระดับมัธยมศึกษา
ร้อยละ 15.3 ระดับปวช.
ร้อยละ 9.9 ระดับปวส./อนุปริญญา
ร้อยละ 37.7 ระดับปริญญาตรี
และร้อยละ 3.3 สูงกว่าปริญญาตรี
อาชีพของกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 23.6 นักศึกษา
ร้อยละ 23.0 พนักงานบริษัทเอกชน
ร้อยละ 16.8 ค้าขาย
ร้อยละ 9.6 เจ้าของกิจการ
ร้อยละ 7.7 รับจ้างทั่วไป
ร้อยละ 6.8 พ่อบ้าน/แม่บ้าน
ร้อยละ 6.6 พนังงานรัฐวิสาหกิจ
และร้อยละ 5.2 รับราชการ
2. คำถามทราบหรือไม่ว่าประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในการประชุมเอดส์โลกครั้งที่ 15
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 68.5 ระบุว่าทราบ
ร้อยละ 31.5 ระบุว่าไม่ทราบ
3. คิดว่าช่วงการประชุมเอดส์โลก โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร และจังหวัดนนทบุรีหยุดการเรียนการสอน
จะลดปัญหาการจราจรติดขัดได้หรือไม่
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 53.0 ระบุว่าได้
ร้อยละ 23.8 ระบุว่าไม่ได้
และร้อยละ 23.2 ระบุว่าไม่แน่ใจ
4. สำหรับคำถามความมั่นใจในการรักษาความปลอดภัยของผู้เข้าร่วมประชุมเอดส์โลก
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 55.7 ระบุว่ามั่นใจ
ร้อยละ 23.9 ระบุว่าไม่มั่นใจ
และร้อยละ 20.3 ระบุว่าไม่มีความเห็น
5. เมื่อถามว่าจะรังเกียจหรือไม่ ถ้าเพื่อนร่วมงานของท่านเป็นผู้ติดเชื้อเอดส์ (แต่ยังไม่แสดงอาการ)
กลุ่มตัวอย่างมีถึงร้อยละ 68.5 ระบุว่าไม่รังเกียจ แสดงว่าคนกรุงเทพฯ เปิดใจกว้างให้คนติดเชื้อเอดส์อยู่ร่วมในสังคมได้
6. คำถามถ้าทราบว่าพนักงานในองค์กรติดเชื้อเอดส์ ผู้บริหารองค์กรควรทำอย่างไรกับพนักงานคนนั้น
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 16.0 ระบุว่าให้ออกจากงาน
มีถึงร้อยละ 59.5 ระบุว่าให้ทำงานต่อได้
และร้อยละ 24.5 ระบุว่าไม่มีความเห็น
7. สำหรับคำถามว่าในสังคมปัจจุบัน ยอมรับและให้โอกาสกับคนติดเชื้อโรคเอดส์อย่างไร
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 38.9 ระบุว่ายอมรับ และให้โอกาสเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 48.1 ระบุว่ายอมรับ และให้โอกาสเหมือนเดิม
และร้อยละ 13.0 ระบุว่ายอมรับ และให้โอกาสน้อยลง
8. ส่วนคำถามคิดว่าปัจจุบันนี้ ปัญหาสำคัญที่ต้องแก้ไขเรื่องโรคเอดส์คืออะไร
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 62.0 ระบุว่าการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อเอดส์
และร้อยละ 38.0 ระบุว่าการยอมรับผู้ติดเชื้อเอดส์ให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม
ปัจจุบันปัญหาเรื่องการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อเอดส์ไม่ใช่ปัญหาสำคัญ แต่ปัญหาสำคัญขณะนี้คือ จะทำอย่างไรให้คนไทยยอมรับคนติดเชื้อเอดส์ให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ตามปกติเหมือนคนทั่วไป โดยไม่ถูกตั้งข้อรังเกียจจากคนในสังคม
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
ตารางที่ 1: ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 596 49.9
หญิง 599 50.1
อายุ :
18 - 25 ปี 334 27.9
26 - 35 ปี 313 26.2
36 - 45 ปี 286 23.9
45 ปีขึ้นไป 262 21.9
การศึกษา:
ประถมศึกษา 126 10.5
มัธยมศึกษา 277 23.2
ปวช. 183 15.3
ปวส./อนุปริญญา 118 9.9
ปริญญาตรี 451 37.7
สูงกว่าปริญญาตรี 40 3.3
อาชีพ :
นักศึกษา 282 23.6
พนักงานบริษัทเอกชน 275 23.0
ค้าขาย 201 16.8
เจ้าของกิจการ 115 9.6
รับจ้างทั่วไป 92 7.7
พ่อบ้าน/แม่บ้าน 81 6.8
รัฐวิสาหกิจ 79 6.6
รับราชการ 62 5.2
อื่น ๆ 8 0.7
ตารางที่ 2: ท่านทราบหรือไม่ว่าประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในการประชุมเอดส์โลกครั้งที่ 15
(วันที่ 11 - 16 กรกฎาคม 2547)
จำนวน ร้อยละ
ทราบ 819 68.5
ไม่ทราบ 376 31.5
ตารางที่ 3: ท่านคิดว่าช่วงการประชุมเอดส์โลก โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร และจังหวัดนนทบุรี
หยุดการเรียนการสอน จะลดปัญหาการจราจรติดขัดได้หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ได้ 633 53.0
ไม่ได้ 285 23.8
ไม่แน่ใจ 277 23.2
ตารางที่ 4: ท่านมั่นใจในการรักษาความปลอดภัยของผู้เข้าร่วมประชุมเอดส์โลกหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 666 55.7
ไม่มั่นใจ 286 23.9
ไม่มีความเห็น 243 20.3
ตารางที่ 5: ท่านจะรังเกียจหรือไม่ ถ้าเพื่อนร่วมงานของท่านเป็นผู้ติดเชื้อเอดส์ (แต่ยังไม่แสดงอาการ)
จำนวน ร้อยละ
รังเกียจ 164 13.7
ไม่รังเกียจ 819 68.5
ไม่มีความเห็น 212 17.7
ตารางที่ 6: ถ้าทราบว่าพนักงานในองค์กรติดเชื้อเอดส์ ผู้บริหารองค์กรควรทำอย่างไรกับพนักงานคนนั้น
จำนวน ร้อยละ
ให้ออกจากงาน 191 16.0
ให้ทำงานต่อได้ 711 59.5
ไม่มีความเห็น 293 24.5
ตารางที่ 7: ท่านคิดว่าในสังคมปัจจุบัน ยอมรับและให้โอกาสกับคนติดเชื้อโรคเอดส์อย่างไร
จำนวน ร้อยละ
ยอมรับ และให้โอกาสเพิ่มขึ้น 465 38.9
ยอมรับ และให้โอกาสเหมือนเดิม 575 48.1
ยอมรับ และให้โอกาสน้อยลง 155 13.0
ตารางที่ 8: ท่านคิดว่าปัจจุบันนี้ ปัญหาสำคัญที่ต้องแก้ไขเรื่องโรคเอดส์คืออะไร
จำนวน ร้อยละ
การป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อเอดส์ 741 62.0
การยอมรับผู้ติดเชื้อเอดส์ให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม 454 38.0
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-