วัตถุประสงค์ของการสำรวจ
การสำรวจครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร ในประเด็น
- บทบาทความสำคัญของ ผู้ว่าฯ กทม. ต่อชีวิตความเป็นอยู่ของคน กทม.
- ความคาดหวังต่อบทบาทในการแก้ปัญหาจากผู้ว่าฯ กทม.
- การมีผู้สมัครที่จะเลือกอยู่ในใจ
- โอกาสในการเปลี่ยนใจในการเลือกผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม.
- แนวทางในการเลือกผู้ว่าฯ กทม.
ปัจจัยสำคัญในการหาเสียงที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกผู้ว่าฯ กทม.
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง
การสำรวจ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพฯ
ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นที่ 1 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จำนวน 50 เขต ดังนี้
บึงกุ่ม สะพานสูง คลองสาน ดุสิต ตลิ่งชัน ทุ่งครุ บางแค ภาษีเจริญ จอมทอง ดอนเมือง ดินแดง ทวีวัฒนา บางขุนเทียน บางกะปิ สวนหลวง สัมพันธวงศ์ บางกอกน้อย บางบอน บางกอกใหญ่ บางรัก คลองสามวา คันนายาว จตุจักร มีนบุรี สายไหม ธนบุรี บางนา บางคอแหลม พระนคร ป้อมปราบฯ ปทุมวัน พญาไท สาทร ยานนาวา ราชเทวี วัฒนา ราษฎร์บูรณะ พระโขนง ประเวศ บางเขน หลักสี่ ห้วยขวาง ลาดกระบัง ลาดพร้าว วังทองหลาง หนองแขม หนองจอก คลองเตย บางซื่อ บางพลัด
ขั้นที่ 2 จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่ 3 สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ ได้ตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,495 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +5% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "คนกรุงเลือกผู้ว่าฯ ด้วยอารมณ์ไหน"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 2 สิงหาคม 2547
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 3 สิงหาคม 2547
ผลการสำรวจ
การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสำรวจภาคสนาม จากประชากรในกรุงเทพมหานคร ที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป
จำนวน 1,495 คน เป็นชาย ร้อยละ 49.0
เป็นหญิง ร้อยละ 51.0
โดยเลือกสุ่มตัวอย่างในช่วงอายุต่าง ๆ จำนวนใกล้เคียงกัน คือ
มีอายุระหว่าง 18-25 ปี ร้อยละ 24.7
มีอายุระหว่าง 26-35 ปี ร้อยละ 26.5
มีอายุระหว่าง 36-45 ปี ร้อยละ 25.5
และ มีอายุ 45 ปีขึ้นไป ร้อยละ 23.3
ระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง ประถมศึกษา ร้อยละ 11.3
มัธยมศึกษา ร้อยละ 22.2
ระดับปวช. ร้อยละ 10.9
ระดับปวส./อนุปริญญาตรี ร้อยละ 12.2
ระดับปริญญาตรี ร้อยละ 36.7
และสูงกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 6.7
กลุ่มตัวอย่างประกอบอาชีพ รับราชการ ร้อยละ 5.3
รัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 5.6
พนักงานบริษัทเอกชน ร้อยละ 22.2
เจ้าของกิจการ ร้อยละ 13.6
รับจ้างทั่วไป ร้อยละ 10.8
ค้าขาย ร้อยละ 17.1 นักศึกษา ร้อยละ 15.3
พ่อบ้าน/แม่บ้าน ร้อยละ 8.8 และอื่น ๆ อีกร้อยละ 1.2
1. กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 59.5 มีความเห็นว่า ผู้ว่าฯ กทม. มีบทบาทสำคัญมากต่อชีวิตความเป็นอยู่ของคน กทม. ขณะที่ร้อยละ 31.3 เห็นว่าผู้ว่าฯ กทม. มีบทบาทและความสำคัญน้อย และอีกร้อยละ 9.2 เห็นว่าไม่มีความสำคัญ
2. ส่วนความคาดหวังต่อบทบาทในการแก้ปัญหาด้านต่าง ๆ จากผู้ว่าฯ กทม. นั้น กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 41.9 คาดหวังบทบาท ในการแก้ปัญหาจราจรมากที่สุด รองลงมา คือ ปัญหาขยะ/มลพิษ ร้อยละ 19.1 ยาเสพติด ร้อยละ 12.0 อาชญากรรม ร้อยละ 11.0 แหล่งเสื่อมโทรม/ชุมชนแออัด ร้อยละ 10.4 น้ำท่วม ร้อยละ 4.0 และอื่น ๆ ร้อยละ 1.7
3. จากการสอบถามครั้งนี้พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 74.0) จะไปเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. ในขณะที่อีกร้อยละ 16.1 ยังไม่แน่ใจ และอีกร้อยละ 9.8 จะไม่ไปเลือกตั้ง โดยเหตุผลของกลุ่มตัวอย่างที่คิดว่าจะไม่ไปเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. คือ ไม่มีผู้สมัครที่ถูกใจ คิดว่าเลือกไปก็ไม่สามารถแก้ปัญหา กทม. ได้ และติดธุระ/ไปต่างจังหวัด ผลสำรวจเฉพาะกลุ่มตัวอย่างที่ระบุว่าจะไปเลือกตั้ง ผู้ว่าฯ กทม.
4. กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 60.5 บอกว่า มีผู้สมัครที่จะเลือกอยู่ในใจแล้ว และอีกร้อยละ 39.5 ยังไม่มีผู้สมัครที่จะเลือกอยู่ในใจ
5. เมื่อสอบถามถึงโอกาสในการเปลี่ยนใจไปเลือกผู้สมัครคนอื่นในช่วงก่อนจะถึงกำหนดวันเลือกตั้งพบว่า กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 58.3 คิดว่าตนเองมีโอกาสเปลี่ยนใจไปเลือกผู้สมัครคนอื่นอีก ส่วนอีกร้อยละ 41.7 คิดว่ามั่นใจและจะไม่เปลี่ยนใจไปเลือกผู้สมัครคนอื่น
6. สำหรับแนวทางในการเลือกผู้ว่าฯ กทม. ของกลุ่มตัวอย่าง พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ (ร้อยละ 31.1) ดูคุณสมบัติและความสามารถของผู้สมัครเป็นหลักรองลงมา คือ ดูนโยบายที่นำเสนอ (ร้อยละ 20.8) เลือกผู้มีประสบการณ์งาน กทม. (ร้อยละ 19.1) เลือกเพื่อให้มาทำงานประสานกับรัฐบาล (ร้อยละ 9.1) เลือกผู้สมัครหน้าใหม่ (ร้อยละ 6.7)เลือกเพื่อมาคานอำนาจรัฐบาล (ร้อยละ 4.5) เลือกเพื่อความสะใจ (ร้อยละ 3.3) เลือกตามกระแสนิยม (ร้อยละ 2.5)เลือกจากบุคลิกหน้าตา (ร้อยละ 2.0) และอื่น ๆ อีกร้อยละ 1.0
7. ส่วนปัจจัยสำคัญในการหาเสียงของผู้สมัครที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกผู้ว่าฯ กทม. พบว่า
อับดับ 1 คือ เนื้อหาสาระที่ผู้สมัครนำเสนอ ร้อยละ 50.9
อับดับ 2 คือ ความน่าเชื่อถือของทีมผู้สนับสนุน ร้อยละ 14.2
อับดับ 3 คือ การได้พบปะผู้สมัครที่มาเดินหาเสียง ร้อยละ 13.8
อับดับ 4 คือ ความบ่อยครั้งในการรับรู้เรื่องราวของผู้สมัครผ่านสื่อต่าง ๆ ร้อยละ 8.7
อับดับ 5 คือ ลีลาการปราศรัยหาเสียง ร้อยละ 8.1
อับดับ 6 คือ จำนวนป้ายโฆษณาหาเสียงของผู้สมัคร ร้อยละ 2.8
อับดับ 7 คือ อื่น ๆ ร้อยละ 1.5
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 732 49.0
หญิง 763 51.0
อายุ :
18 - 25 ปี 369 24.7
26 - 35 ปี 396 26.5
36 - 45 ปี 381 25.5
45 ปีขึ้นไป 349 23.3
การศึกษา:
ประถมศึกษา 169 11.3
มัธยมศึกษา 332 22.2
ปวช. 163 10.9
ปวส./อนุปริญญา 183 12.2
ปริญญาตรี 548 36.7
สูงกว่าปริญญาตรี 100 6.7
อาชีพ :
รับราชการ 79 5.3
รัฐวิสาหกิจ 84 5.6
พนักงานบริษัทเอกชน 332 22.2
เจ้าของกิจการ 203 13.6
รับจ้างทั่วไป 162 10.8
ค้าขาย 256 17.1
นักศึกษา 229 15.3
พ่อบ้าน/แม่บ้าน 132 8.8
อื่น ๆ 18 1.2
ตารางที่ 1 ท่านคิดว่า ผู้ว่าฯ กทม. มีบทบาทสำคัญต่อชีวิตความเป็นอยู่ของคน กทม. มากน้อยเพียงใด
จำนวน ร้อยละ
สำคัญมาก 890 59.5
สำคัญน้อย 468 31.3
ไม่สำคัญ 137 9.2
ตารางที่ 2 ท่านคาดหวังบทบาทในการแก้ปัญหาด้านใดจากผู้ว่าฯ กทม. มากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
จราจร 626 41.9
ขยะ / มลพิษ 286 19.1
ยาเสพติด 179 12.0
อาชญากรรม 164 11.0
แหล่งเสื่อมโทรม ชุมชนแออัด 155 10.4
น้ำท่วม 60 4.0
อื่น ๆ 25 1.7
ตารางที่ 3 ท่านจะไปเลือกตั้ง ผู้ว่าฯ กทม. หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ไป 1107 74.0
ไม่ไป 147 9.8
ไม่แน่ใจ 241 16.1
ตารางที่ 4 ท่านมีผู้สมัครที่จะเลือกอยู่ในใจแล้วหรือยัง
จำนวน ร้อยละ
มีแล้ว 816 60.5
ยังไม่มี 532 39.5
ตารางที่ 5 ท่านคิดว่าจะมีโอกาสเปลี่ยนใจไปเลือกผู้สมัครคนอื่น หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มีโอกาสเปลี่ยนใจ 786 58.3
ไม่เปลี่ยนใจ 562 41.7
ตารางที่ 6 ท่านมีแนวทางในการเลือกผู้ว่าฯ กทม. อย่างไร
จำนวน ร้อยละ
ดูคุณสมบัติและความสามารถของผู้สมัคร 419 31.1
ดูนโยบายที่นำเสนอเป็นหลัก 280 20.8
เลือกผู้มีประสบการณ์งาน กทม. 258 19.1
เลือกเพื่อให้มาทำงานประสานกับรัฐบาล 122 9.1
เลือกผู้สมัครหน้าใหม่ 90 6.7
เลือกเพื่อมาคานอำนาจรัฐบาล 61 4.5
เลือกเพื่อความสะใจ 44 3.3
เลือกตามกระแสนิยม 34 2.5
เลือกจากบุคลิก หน้าตา 27 2.0
อื่น ๆ 13 1.0
ตารางที่ 7 ปัจจัยสำคัญในการหาเสียงที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกผู้ว่าฯ กทม. ของท่าน
จำนวน ร้อยละ
เนื้อหาสาระที่ผู้สมัครนำเสนอ 688 50.9
ความน่าเชื่อถือของทีมผู้สนับสนุน 192 14.2
การได้พบปะผู้สมัครที่มาเดินหาเสียง 187 13.8
ความบ่อยครั้งในการรับรู้เรื่องราวของผู้สมัครผ่านสื่อต่าง ๆ 117 8.7
ลีลาการปราศรัยหาเสียง 110 8.1
จำนวนป้ายโฆษณาหาเสียงของผู้สมัคร 38 2.8
อื่น ๆ 20 1.5
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-
การสำรวจครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร ในประเด็น
- บทบาทความสำคัญของ ผู้ว่าฯ กทม. ต่อชีวิตความเป็นอยู่ของคน กทม.
- ความคาดหวังต่อบทบาทในการแก้ปัญหาจากผู้ว่าฯ กทม.
- การมีผู้สมัครที่จะเลือกอยู่ในใจ
- โอกาสในการเปลี่ยนใจในการเลือกผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม.
- แนวทางในการเลือกผู้ว่าฯ กทม.
ปัจจัยสำคัญในการหาเสียงที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกผู้ว่าฯ กทม.
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง
การสำรวจ ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพฯ
ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นที่ 1 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จำนวน 50 เขต ดังนี้
บึงกุ่ม สะพานสูง คลองสาน ดุสิต ตลิ่งชัน ทุ่งครุ บางแค ภาษีเจริญ จอมทอง ดอนเมือง ดินแดง ทวีวัฒนา บางขุนเทียน บางกะปิ สวนหลวง สัมพันธวงศ์ บางกอกน้อย บางบอน บางกอกใหญ่ บางรัก คลองสามวา คันนายาว จตุจักร มีนบุรี สายไหม ธนบุรี บางนา บางคอแหลม พระนคร ป้อมปราบฯ ปทุมวัน พญาไท สาทร ยานนาวา ราชเทวี วัฒนา ราษฎร์บูรณะ พระโขนง ประเวศ บางเขน หลักสี่ ห้วยขวาง ลาดกระบัง ลาดพร้าว วังทองหลาง หนองแขม หนองจอก คลองเตย บางซื่อ บางพลัด
ขั้นที่ 2 จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่ 3 สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ ได้ตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,495 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error)
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +5% ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "คนกรุงเลือกผู้ว่าฯ ด้วยอารมณ์ไหน"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 2 สิงหาคม 2547
วันที่เผยแพร่ผลการสำรวจ : 3 สิงหาคม 2547
ผลการสำรวจ
การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสำรวจภาคสนาม จากประชากรในกรุงเทพมหานคร ที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป
จำนวน 1,495 คน เป็นชาย ร้อยละ 49.0
เป็นหญิง ร้อยละ 51.0
โดยเลือกสุ่มตัวอย่างในช่วงอายุต่าง ๆ จำนวนใกล้เคียงกัน คือ
มีอายุระหว่าง 18-25 ปี ร้อยละ 24.7
มีอายุระหว่าง 26-35 ปี ร้อยละ 26.5
มีอายุระหว่าง 36-45 ปี ร้อยละ 25.5
และ มีอายุ 45 ปีขึ้นไป ร้อยละ 23.3
ระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง ประถมศึกษา ร้อยละ 11.3
มัธยมศึกษา ร้อยละ 22.2
ระดับปวช. ร้อยละ 10.9
ระดับปวส./อนุปริญญาตรี ร้อยละ 12.2
ระดับปริญญาตรี ร้อยละ 36.7
และสูงกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 6.7
กลุ่มตัวอย่างประกอบอาชีพ รับราชการ ร้อยละ 5.3
รัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 5.6
พนักงานบริษัทเอกชน ร้อยละ 22.2
เจ้าของกิจการ ร้อยละ 13.6
รับจ้างทั่วไป ร้อยละ 10.8
ค้าขาย ร้อยละ 17.1 นักศึกษา ร้อยละ 15.3
พ่อบ้าน/แม่บ้าน ร้อยละ 8.8 และอื่น ๆ อีกร้อยละ 1.2
1. กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 59.5 มีความเห็นว่า ผู้ว่าฯ กทม. มีบทบาทสำคัญมากต่อชีวิตความเป็นอยู่ของคน กทม. ขณะที่ร้อยละ 31.3 เห็นว่าผู้ว่าฯ กทม. มีบทบาทและความสำคัญน้อย และอีกร้อยละ 9.2 เห็นว่าไม่มีความสำคัญ
2. ส่วนความคาดหวังต่อบทบาทในการแก้ปัญหาด้านต่าง ๆ จากผู้ว่าฯ กทม. นั้น กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 41.9 คาดหวังบทบาท ในการแก้ปัญหาจราจรมากที่สุด รองลงมา คือ ปัญหาขยะ/มลพิษ ร้อยละ 19.1 ยาเสพติด ร้อยละ 12.0 อาชญากรรม ร้อยละ 11.0 แหล่งเสื่อมโทรม/ชุมชนแออัด ร้อยละ 10.4 น้ำท่วม ร้อยละ 4.0 และอื่น ๆ ร้อยละ 1.7
3. จากการสอบถามครั้งนี้พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 74.0) จะไปเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. ในขณะที่อีกร้อยละ 16.1 ยังไม่แน่ใจ และอีกร้อยละ 9.8 จะไม่ไปเลือกตั้ง โดยเหตุผลของกลุ่มตัวอย่างที่คิดว่าจะไม่ไปเลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. คือ ไม่มีผู้สมัครที่ถูกใจ คิดว่าเลือกไปก็ไม่สามารถแก้ปัญหา กทม. ได้ และติดธุระ/ไปต่างจังหวัด ผลสำรวจเฉพาะกลุ่มตัวอย่างที่ระบุว่าจะไปเลือกตั้ง ผู้ว่าฯ กทม.
4. กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 60.5 บอกว่า มีผู้สมัครที่จะเลือกอยู่ในใจแล้ว และอีกร้อยละ 39.5 ยังไม่มีผู้สมัครที่จะเลือกอยู่ในใจ
5. เมื่อสอบถามถึงโอกาสในการเปลี่ยนใจไปเลือกผู้สมัครคนอื่นในช่วงก่อนจะถึงกำหนดวันเลือกตั้งพบว่า กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 58.3 คิดว่าตนเองมีโอกาสเปลี่ยนใจไปเลือกผู้สมัครคนอื่นอีก ส่วนอีกร้อยละ 41.7 คิดว่ามั่นใจและจะไม่เปลี่ยนใจไปเลือกผู้สมัครคนอื่น
6. สำหรับแนวทางในการเลือกผู้ว่าฯ กทม. ของกลุ่มตัวอย่าง พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ (ร้อยละ 31.1) ดูคุณสมบัติและความสามารถของผู้สมัครเป็นหลักรองลงมา คือ ดูนโยบายที่นำเสนอ (ร้อยละ 20.8) เลือกผู้มีประสบการณ์งาน กทม. (ร้อยละ 19.1) เลือกเพื่อให้มาทำงานประสานกับรัฐบาล (ร้อยละ 9.1) เลือกผู้สมัครหน้าใหม่ (ร้อยละ 6.7)เลือกเพื่อมาคานอำนาจรัฐบาล (ร้อยละ 4.5) เลือกเพื่อความสะใจ (ร้อยละ 3.3) เลือกตามกระแสนิยม (ร้อยละ 2.5)เลือกจากบุคลิกหน้าตา (ร้อยละ 2.0) และอื่น ๆ อีกร้อยละ 1.0
7. ส่วนปัจจัยสำคัญในการหาเสียงของผู้สมัครที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกผู้ว่าฯ กทม. พบว่า
อับดับ 1 คือ เนื้อหาสาระที่ผู้สมัครนำเสนอ ร้อยละ 50.9
อับดับ 2 คือ ความน่าเชื่อถือของทีมผู้สนับสนุน ร้อยละ 14.2
อับดับ 3 คือ การได้พบปะผู้สมัครที่มาเดินหาเสียง ร้อยละ 13.8
อับดับ 4 คือ ความบ่อยครั้งในการรับรู้เรื่องราวของผู้สมัครผ่านสื่อต่าง ๆ ร้อยละ 8.7
อับดับ 5 คือ ลีลาการปราศรัยหาเสียง ร้อยละ 8.1
อับดับ 6 คือ จำนวนป้ายโฆษณาหาเสียงของผู้สมัคร ร้อยละ 2.8
อับดับ 7 คือ อื่น ๆ ร้อยละ 1.5
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 732 49.0
หญิง 763 51.0
อายุ :
18 - 25 ปี 369 24.7
26 - 35 ปี 396 26.5
36 - 45 ปี 381 25.5
45 ปีขึ้นไป 349 23.3
การศึกษา:
ประถมศึกษา 169 11.3
มัธยมศึกษา 332 22.2
ปวช. 163 10.9
ปวส./อนุปริญญา 183 12.2
ปริญญาตรี 548 36.7
สูงกว่าปริญญาตรี 100 6.7
อาชีพ :
รับราชการ 79 5.3
รัฐวิสาหกิจ 84 5.6
พนักงานบริษัทเอกชน 332 22.2
เจ้าของกิจการ 203 13.6
รับจ้างทั่วไป 162 10.8
ค้าขาย 256 17.1
นักศึกษา 229 15.3
พ่อบ้าน/แม่บ้าน 132 8.8
อื่น ๆ 18 1.2
ตารางที่ 1 ท่านคิดว่า ผู้ว่าฯ กทม. มีบทบาทสำคัญต่อชีวิตความเป็นอยู่ของคน กทม. มากน้อยเพียงใด
จำนวน ร้อยละ
สำคัญมาก 890 59.5
สำคัญน้อย 468 31.3
ไม่สำคัญ 137 9.2
ตารางที่ 2 ท่านคาดหวังบทบาทในการแก้ปัญหาด้านใดจากผู้ว่าฯ กทม. มากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
จราจร 626 41.9
ขยะ / มลพิษ 286 19.1
ยาเสพติด 179 12.0
อาชญากรรม 164 11.0
แหล่งเสื่อมโทรม ชุมชนแออัด 155 10.4
น้ำท่วม 60 4.0
อื่น ๆ 25 1.7
ตารางที่ 3 ท่านจะไปเลือกตั้ง ผู้ว่าฯ กทม. หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ไป 1107 74.0
ไม่ไป 147 9.8
ไม่แน่ใจ 241 16.1
ตารางที่ 4 ท่านมีผู้สมัครที่จะเลือกอยู่ในใจแล้วหรือยัง
จำนวน ร้อยละ
มีแล้ว 816 60.5
ยังไม่มี 532 39.5
ตารางที่ 5 ท่านคิดว่าจะมีโอกาสเปลี่ยนใจไปเลือกผู้สมัครคนอื่น หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มีโอกาสเปลี่ยนใจ 786 58.3
ไม่เปลี่ยนใจ 562 41.7
ตารางที่ 6 ท่านมีแนวทางในการเลือกผู้ว่าฯ กทม. อย่างไร
จำนวน ร้อยละ
ดูคุณสมบัติและความสามารถของผู้สมัคร 419 31.1
ดูนโยบายที่นำเสนอเป็นหลัก 280 20.8
เลือกผู้มีประสบการณ์งาน กทม. 258 19.1
เลือกเพื่อให้มาทำงานประสานกับรัฐบาล 122 9.1
เลือกผู้สมัครหน้าใหม่ 90 6.7
เลือกเพื่อมาคานอำนาจรัฐบาล 61 4.5
เลือกเพื่อความสะใจ 44 3.3
เลือกตามกระแสนิยม 34 2.5
เลือกจากบุคลิก หน้าตา 27 2.0
อื่น ๆ 13 1.0
ตารางที่ 7 ปัจจัยสำคัญในการหาเสียงที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกผู้ว่าฯ กทม. ของท่าน
จำนวน ร้อยละ
เนื้อหาสาระที่ผู้สมัครนำเสนอ 688 50.9
ความน่าเชื่อถือของทีมผู้สนับสนุน 192 14.2
การได้พบปะผู้สมัครที่มาเดินหาเสียง 187 13.8
ความบ่อยครั้งในการรับรู้เรื่องราวของผู้สมัครผ่านสื่อต่าง ๆ 117 8.7
ลีลาการปราศรัยหาเสียง 110 8.1
จำนวนป้ายโฆษณาหาเสียงของผู้สมัคร 38 2.8
อื่น ๆ 20 1.5
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
-พห-