วัตถุประสงค์ของการสำรวจ :
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบเกี่ยวกับท่าทีของประชาชนที่มีต่อปัญหาชายแดนไทย-พม่า ในเรื่องมาตรการ และบท
บาทของประเทศไทยในการการแก้ปัญหาความขัดแย้ง
วิธีสำรวจ :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร และติดตามข่าวปัญหา
ชายแดนไทย-พม่า โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครองในแต่ละชั้น ได้
เขตต่าง ๆ จำนวน 26 เขต ดังนี้
คลองสาน คันนายาว จตุจักร ดอนเมือง ดินแดง ดุสิต ทวีวัฒนา ทุ่งครุ บางกอกใหญ่ บางกะปิ บางนา บางบอน บางพลัด ปทุมวัน
ประเวศ ป้อมปราบฯ พญาไท ภาษีเจริญ มีนบุรี ยานนาวา ลาดพร้าว วังทองหลาง สวนหลวง สัมพันธวงศ์ สาทร สายไหม
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามเพศ กลุ่ม อายุ และอาชีพ ได้ตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน
1,296 คน
ความคลาดเคลื่อน :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน + 3 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ท่าทีของประชาชนต่อปัญหาชาย
แดนไทย-พม่า"
ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นในหัวข้อที่สำรวจ
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
15-16 มีนาคม 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
17 มีนาคม 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามมีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร
จำนวน 1,296 คน เป็นชายร้อยละ 53.4 เป็นหญิงร้อยละ 46.6 กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 61.5 เป็นผู้มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 36.8 มีการศึกษาตั้งแต่ระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพหลากหลาย เช่น
ข้าราชการทหาร-ตำรวจ (ร้อยละ 18.4)
ข้าราชการพลเรือน (ร้อยละ 9.8)
พนักงานรัฐวิสาหกิจ (ร้อยละ 7.2)
พนักงานบริษัทเอกชน (ร้อยละ 18.6)
เจ้าของกิจการ (ร้อยละ 5.0)
รับจ้างทั่วไป (ร้อยละ 11.6)
ค้าขาย (ร้อยละ 12.0)
นักศึกษา (ร้อยละ 11.9)
และอาชีพอื่น ๆ (ร้อยละ 5.5)
2. เมื่อสอบถามถึงความขัดแย้งระหว่างไทย-พม่า ว่าปัญหาเริ่มจากฝ่ายใด กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 47.5 คิดว่าเกิดจากประ
เทศพม่า
ร้อยละ 47.1 คิดว่าเกิดจากชนกลุ่มน้อย
ร้อยละ 1.5 คิดว่าเกิดจากประเทศไทย
และร้อยละ 3.9 คิดว่าเกิดมาจากปัญหาอื่น ๆ
3. สำหรับประเทศไทยควรมีท่าทีอย่างไร
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 57.4 คิดว่าควรแข็งกร้าว
ร้อยละ 41.7 คิดว่าควรจะยืดหยุ่น ประนีประนอม
และร้อยละ 0.8 ไม่มีความเห็น
4. ส่วนประเทศไทยควรมีมาตรการในเรื่องดังกล่าวอย่างไร
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 27.2 คิดว่าควรเปิดการเจรจาระดับชาติ
ร้อยละ 19.5 คิดว่าห้ามส่งยุทธปัจจัยไปพม่า
ร้อยละ 18.8 คิดว่าควรปิดด่านชั่วคราว
ร้อยละ 17.3 คิดว่าควรเปิดการเจรจาระดับท้องถิ่น
ร้อยละ 15.3 คิดว่าควรปิดด่านถาวร
และร้อยละ 1.9 คิดว่าควรมีมาตรการอื่น ๆ
5. เมื่อถามถึงความสามารถในการแก้ไขปัญหาชายแดนไทย-พม่า
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 52.9 คิดว่าแก้ไขได้
ร้อยละ 27.4 คิดว่าแก้ไขไม่ได้
และร้อยละ 19.7 ไม่มีความเห็น
6. สำหรับผู้ที่ควรมีบทบาทในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 29.8 คิดว่ากระทรวงการต่างประเทศ
ร้อยละ 29.6 คิดว่านายกรัฐมนตรี
ร้อยละ 17.7 คิดว่าพล.อ.เชาวลิต ยงใจยุทธ
ร้อยละ 17.1 คิดว่าทหาร/กองทัพภาคที่ 3
และร้อยละ 5.9 คิดว่าควรเป็นหน่วยงานอื่นๆ
7. และเมื่อถามว่านายกรัฐมนตรีควรไปเยือนพม่าหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 48.6 คิดว่าควรไปเยือน
และร้อยละ 51.4 คิดว่าไม่ควรไป
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 692 53.4
หญิง 604 46.4
อายุ :
18 - 25 213 16.4
26 - 35 434 33.5
36 - 45 467 36
มากกว่า 45 ปี 170 13.1
ไม่ระบุ 12 0.9
การศึกษา :
ประถมศึกษา 103 7.9
มัธยมศึกษา 233 18
ปวช. 268 20.7
ปวส./อนุปริญญา 193 14.9
ปริญญาตรีหรือสูงกว่าปริญญาตรี 477 36.8
ไม่ระบุ 22 1.7
อาชีพ :
รับราชการ 239 18.4
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 127 9.8
พนักงานเอกชน 93 7.2
เจ้าของกิจการ 241 18.6
รับจ้างทั่วไป 65 5
ค้าขาย 150 11.6
นักศึกษา 156 12
แม่บ้าน 154 11.9
อาชีพอื่น ๆ 71 5.5
ตารางที่ 2 ท่านคิดว่าความขัดแย้งระหว่างไทย-พม่า ปัญหาเริ่มมาจากฝ่ายใด
จำนวน ร้อยละ
พม่า 615 47.5
ชนกลุ่มน้อย 611 47.1
ไทย 19 1.5
อื่น ๆ 51 3.9
ตารางที่ 3 ท่านคิดว่าประเทศไทยควรมีท่าทีอย่างไร
จำนวน ร้อยละ
แข็งกร้าว 744 57.4
ยืดหยุ่น ประนีประนอม 541 41.7
ไม่มีความเห็น 11 0.8
ตารางที่ 4 ท่านคิดว่าประเทศไทยควรมีมาตรการในเรื่องดังกล่าวอย่างไร
จำนวน ร้อยละ
เปิดการเจรจาระดับชาติ 352 27.2
ห้ามส่งยุทธปัจจัยไปพม่า 253 19.5
ปิดด่านชั่วคราว 244 18.8
เปิดการเจรจาระดับท้องถิ่น 224 17.3
ปิดด่านถาวร 198 15.3
อื่น ๆ 25 1.9
ตารางที่ 5 ท่านคิดว่าปัญหาชายแดนไทย-พม่า สามารถได้รับการแก้ไขอย่างถาวรได้หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
แก้ไขได้ 686 52.9
แก้ไขไม่ได้ 355 27.4
ไม่มีความเห็น 255 19.7
ตารางที่ 6 ท่านคิดว่าใครควรมีบทบาทในการแก้ปัญหาความขัดแย้งดังกล่าว
จำนวน ร้อยละ
กระทรวงการต่างประเทศ 386 29.8
นายกรัฐมนตรี 383 29.6
พล.อ.เชาวลิต ยงใจยุทธ 230 17.7
ทหาร/กองทัพภาคที่ 3 221 17.1
อื่น ๆ 76 5.9
ตารางที่ 7 ท่านคิดว่านายกรัฐมนตรีควรไปเยือนพม่าหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ควร 630 48.6
ไม่ควร 666 51.4
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบเกี่ยวกับท่าทีของประชาชนที่มีต่อปัญหาชายแดนไทย-พม่า ในเรื่องมาตรการ และบท
บาทของประเทศไทยในการการแก้ปัญหาความขัดแย้ง
วิธีสำรวจ :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร และติดตามข่าวปัญหา
ชายแดนไทย-พม่า โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครองในแต่ละชั้น ได้
เขตต่าง ๆ จำนวน 26 เขต ดังนี้
คลองสาน คันนายาว จตุจักร ดอนเมือง ดินแดง ดุสิต ทวีวัฒนา ทุ่งครุ บางกอกใหญ่ บางกะปิ บางนา บางบอน บางพลัด ปทุมวัน
ประเวศ ป้อมปราบฯ พญาไท ภาษีเจริญ มีนบุรี ยานนาวา ลาดพร้าว วังทองหลาง สวนหลวง สัมพันธวงศ์ สาทร สายไหม
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามเพศ กลุ่ม อายุ และอาชีพ ได้ตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน
1,296 คน
ความคลาดเคลื่อน :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน + 3 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ท่าทีของประชาชนต่อปัญหาชาย
แดนไทย-พม่า"
ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นในหัวข้อที่สำรวจ
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
15-16 มีนาคม 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
17 มีนาคม 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามมีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร
จำนวน 1,296 คน เป็นชายร้อยละ 53.4 เป็นหญิงร้อยละ 46.6 กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 61.5 เป็นผู้มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 36.8 มีการศึกษาตั้งแต่ระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพหลากหลาย เช่น
ข้าราชการทหาร-ตำรวจ (ร้อยละ 18.4)
ข้าราชการพลเรือน (ร้อยละ 9.8)
พนักงานรัฐวิสาหกิจ (ร้อยละ 7.2)
พนักงานบริษัทเอกชน (ร้อยละ 18.6)
เจ้าของกิจการ (ร้อยละ 5.0)
รับจ้างทั่วไป (ร้อยละ 11.6)
ค้าขาย (ร้อยละ 12.0)
นักศึกษา (ร้อยละ 11.9)
และอาชีพอื่น ๆ (ร้อยละ 5.5)
2. เมื่อสอบถามถึงความขัดแย้งระหว่างไทย-พม่า ว่าปัญหาเริ่มจากฝ่ายใด กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 47.5 คิดว่าเกิดจากประ
เทศพม่า
ร้อยละ 47.1 คิดว่าเกิดจากชนกลุ่มน้อย
ร้อยละ 1.5 คิดว่าเกิดจากประเทศไทย
และร้อยละ 3.9 คิดว่าเกิดมาจากปัญหาอื่น ๆ
3. สำหรับประเทศไทยควรมีท่าทีอย่างไร
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 57.4 คิดว่าควรแข็งกร้าว
ร้อยละ 41.7 คิดว่าควรจะยืดหยุ่น ประนีประนอม
และร้อยละ 0.8 ไม่มีความเห็น
4. ส่วนประเทศไทยควรมีมาตรการในเรื่องดังกล่าวอย่างไร
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 27.2 คิดว่าควรเปิดการเจรจาระดับชาติ
ร้อยละ 19.5 คิดว่าห้ามส่งยุทธปัจจัยไปพม่า
ร้อยละ 18.8 คิดว่าควรปิดด่านชั่วคราว
ร้อยละ 17.3 คิดว่าควรเปิดการเจรจาระดับท้องถิ่น
ร้อยละ 15.3 คิดว่าควรปิดด่านถาวร
และร้อยละ 1.9 คิดว่าควรมีมาตรการอื่น ๆ
5. เมื่อถามถึงความสามารถในการแก้ไขปัญหาชายแดนไทย-พม่า
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 52.9 คิดว่าแก้ไขได้
ร้อยละ 27.4 คิดว่าแก้ไขไม่ได้
และร้อยละ 19.7 ไม่มีความเห็น
6. สำหรับผู้ที่ควรมีบทบาทในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 29.8 คิดว่ากระทรวงการต่างประเทศ
ร้อยละ 29.6 คิดว่านายกรัฐมนตรี
ร้อยละ 17.7 คิดว่าพล.อ.เชาวลิต ยงใจยุทธ
ร้อยละ 17.1 คิดว่าทหาร/กองทัพภาคที่ 3
และร้อยละ 5.9 คิดว่าควรเป็นหน่วยงานอื่นๆ
7. และเมื่อถามว่านายกรัฐมนตรีควรไปเยือนพม่าหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 48.6 คิดว่าควรไปเยือน
และร้อยละ 51.4 คิดว่าไม่ควรไป
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 692 53.4
หญิง 604 46.4
อายุ :
18 - 25 213 16.4
26 - 35 434 33.5
36 - 45 467 36
มากกว่า 45 ปี 170 13.1
ไม่ระบุ 12 0.9
การศึกษา :
ประถมศึกษา 103 7.9
มัธยมศึกษา 233 18
ปวช. 268 20.7
ปวส./อนุปริญญา 193 14.9
ปริญญาตรีหรือสูงกว่าปริญญาตรี 477 36.8
ไม่ระบุ 22 1.7
อาชีพ :
รับราชการ 239 18.4
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 127 9.8
พนักงานเอกชน 93 7.2
เจ้าของกิจการ 241 18.6
รับจ้างทั่วไป 65 5
ค้าขาย 150 11.6
นักศึกษา 156 12
แม่บ้าน 154 11.9
อาชีพอื่น ๆ 71 5.5
ตารางที่ 2 ท่านคิดว่าความขัดแย้งระหว่างไทย-พม่า ปัญหาเริ่มมาจากฝ่ายใด
จำนวน ร้อยละ
พม่า 615 47.5
ชนกลุ่มน้อย 611 47.1
ไทย 19 1.5
อื่น ๆ 51 3.9
ตารางที่ 3 ท่านคิดว่าประเทศไทยควรมีท่าทีอย่างไร
จำนวน ร้อยละ
แข็งกร้าว 744 57.4
ยืดหยุ่น ประนีประนอม 541 41.7
ไม่มีความเห็น 11 0.8
ตารางที่ 4 ท่านคิดว่าประเทศไทยควรมีมาตรการในเรื่องดังกล่าวอย่างไร
จำนวน ร้อยละ
เปิดการเจรจาระดับชาติ 352 27.2
ห้ามส่งยุทธปัจจัยไปพม่า 253 19.5
ปิดด่านชั่วคราว 244 18.8
เปิดการเจรจาระดับท้องถิ่น 224 17.3
ปิดด่านถาวร 198 15.3
อื่น ๆ 25 1.9
ตารางที่ 5 ท่านคิดว่าปัญหาชายแดนไทย-พม่า สามารถได้รับการแก้ไขอย่างถาวรได้หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
แก้ไขได้ 686 52.9
แก้ไขไม่ได้ 355 27.4
ไม่มีความเห็น 255 19.7
ตารางที่ 6 ท่านคิดว่าใครควรมีบทบาทในการแก้ปัญหาความขัดแย้งดังกล่าว
จำนวน ร้อยละ
กระทรวงการต่างประเทศ 386 29.8
นายกรัฐมนตรี 383 29.6
พล.อ.เชาวลิต ยงใจยุทธ 230 17.7
ทหาร/กองทัพภาคที่ 3 221 17.1
อื่น ๆ 76 5.9
ตารางที่ 7 ท่านคิดว่านายกรัฐมนตรีควรไปเยือนพม่าหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ควร 630 48.6
ไม่ควร 666 51.4
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--