กลุ่มตัวอย่าง:
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล
โดยสุ่มตัวอย่างหลายขั้นตอน (Multi-stage sampling) คือ
ขั้นแรก สุ่มเขตปกครองกทม. ชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอกจำนวน 32 เขต ได้เขตต่าง ๆ คือ
คันนายาว คลองสามวา จตุจักร จอมทอง ดอนเมือง ดินแดง ทวีวัฒนา ทุ่งครุ ธนบุรี บางกะปิ
บางขุนเทียน บางเขน บางคอแหลม บางนา บางบอน บางพลัด บางรัก ประเวศ ป้อมปรามฯ
พญาไท พระนคร ภาษีเจริญ มีนบุรี ราษฎร์บูรณะ ลาดกระบัง วังทองหลาง สวนหลวง สะพานสูง
สาทร สายไหม หนองแขม ห้วยขวาง
ปริมณฑล จำนวน 4 จังหวัด ได้แก่ นนทบุรี นครปฐม ปทุมธานี และสมุทรปราการ
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขต แต่ละจังหวัดที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้าตาม เพศ กลุ่มอายุ และอาชีพ ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,985 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์สอบถามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างในเรื่อง “โค้งสุดท้ายรัฐบาลชวน หลีกภัย”
ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นในหัวข้อที่สำรวจ
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
26 - 28 สิงหาคม 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม กลุ่มตัวอย่างมีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 1,985 คน
เป็นชายร้อยละ 52.8
เป็นหญิงร้อยละ 47.2
มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 58.8
ปริญญาตรีหรือสูงกว่าร้อยละ 39.0
ประกอบอาชีพ รับราชการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัทเอกชน
เจ้าของกิจการ
รับจ้างทั่วไป
ค้าขาย
นักศึกษา
และแม่บ้าน เป็นต้น
2. เมื่อสอบถามถึงความพึงพอใจต่อการแก้ปัญหาต่าง ๆ ของรัฐบาลชุดปัจจุบัน
กลุ่มตัวอย่างส่วนมาก ไม่พอใจในการแก้ปัญหาของรัฐบาลในเรื่องต่าง ๆ เรียงตามลำดับ ดังนี้
- การแก้ปัญหาราคาน้ำมัน
ร้อยละ 86.1 ไม่พอใจ
ร้อยละ 5.9 พอใจ
ร้อยละ 8.0 ไม่มีความเห็น
- การแก้ปัญหาคอร์รัปชั่น
ร้อยละ 72.7 ไม่พอใจ
ร้อยละ 11.2 พอใจ
ร้อยละ 16.1 ไม่มีความเห็น
- การแก้ปัญหาค่าครองชีพ
ร้อยละ 70.8 ไม่พอใจ
ร้อยละ 15.4 พอใจ
ร้อยละ 13.8 ไม่มีความเห็น
- การแก้ปัญหาฟื้นฟูเศรษฐกิจ
ร้อยละ 69.1 ไม่พอใจ
ร้อยละ 21.7 พอใจ
ร้อยละ 9.2 ไม่มีความเห็น
- การแก้ปัญหาสถาบันการเงิน
ร้อยละ 68.9 ไม่พอใจ
ร้อยละ 19.3 พอใจ
ร้อยละ 11.8 ไม่มีความเห็น
- การแก้ปัญหาการว่างงาน
ร้อยละ 68.3 ไม่พอใจ
ร้อยละ 18.4 พอใจ
ร้อยละ 13.3 ไม่มีความเห็น
3. เมื่อสอบถามถึงความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีกระทรวงต่าง ๆ
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่พอใจในผลงานของนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ใน 6 อันดับแรก ดังนี้
- นายชวน หลีกภัย
ร้อยละ 54.5 พอใจ
ร้อยละ 33.3 ไม่พอใจ
ร้อยละ 12.2 ไม่มีความเห็น
- นายกร ทัพพะรังสี
ร้อยละ 51.0 พอใจ
ร้อยละ 25.9 ไม่พอใจ
ร้อยละ 23.1 ไม่มีความเห็น
- นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ
ร้อยละ 50.7 พอใจ
ร้อยละ 25.1 ไม่พอใจ
ร้อยละ 24.2 ไม่มีความเห็น
- นายศุภชัย พานิชภักดิ์
ร้อยละ 40.6 พอใจ
ร้อยละ 35.0 ไม่พอใจ
ร้อยละ 24.4 ไม่มีความเห็น
- นายอาทิตย์ อุไรรัตน์
ร้อยละ 39.8 พอใจ
ร้อยละ 28.6 ไม่พอใจ
ร้อยละ 31.6 ไม่มีความเห็น
- นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล
ร้อยละ 38.0 พอใจ
ร้อยละ 29.7 ไม่พอใจ
ร้อยละ 32.3 ไม่มีความเห็น
สำหรับรัฐมนตรีที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่พอใจผลงาน คือ
- นายธารินทร์ นิมมานเหมินทร์
ร้อยละ 58.5 ไม่พอใจ
ร้อยละ 25.0 พอใจ
ร้อยละ 16.5 ไม่มีความเห็น
- นายสุเทพ เทือกสุบรรณ
ร้อยละ 51.9 ไม่พอใจ
ร้อยละ 24.9 พอใจ
ร้อยละ 23.2 ไม่มีความเห็น
- นายประภัตร โพธสุธน
ร้อยละ 43.8 ไม่พอใจ
ร้อยละ 21.3 พอใจ
ร้อยละ 34.9 ไม่มีความเห็น
4. สำหรับผู้ที่เหมาะสมจะเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 39.2 เห็นว่าควรเป็น พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร
ร้อยละ 31.7 นายชวน หลีกภัย
ร้อยละ 11.1 นายกร ทัพพะรังสี
ร้อยละ 3.2 นายบรรหาร ศิลปอาชา
และร้อยละ 3.0 พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ
5. เมื่อถามว่าพรรคการเมืองใดในพรรคร่วมรัฐบาลปัจจุบัน มีโอกาสจะกลับมาร่วมเป็นรัฐบาลอีกในการตั้งรัฐบาลคราวหน้า
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 35.9 คิดว่าเป็นพรรคประชาธิปัตย์
ร้อยละ 26.3 พรรคชาติพัฒนา
ร้อยละ 9.3 พรรคชาติไทย
ร้อยละ 24.3 คิดว่าไม่มีพรรคใดกลับมาเป็นรัฐบาลอีก
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล
โดยสุ่มตัวอย่างหลายขั้นตอน (Multi-stage sampling) คือ
ขั้นแรก สุ่มเขตปกครองกทม. ชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอกจำนวน 32 เขต ได้เขตต่าง ๆ คือ
คันนายาว คลองสามวา จตุจักร จอมทอง ดอนเมือง ดินแดง ทวีวัฒนา ทุ่งครุ ธนบุรี บางกะปิ
บางขุนเทียน บางเขน บางคอแหลม บางนา บางบอน บางพลัด บางรัก ประเวศ ป้อมปรามฯ
พญาไท พระนคร ภาษีเจริญ มีนบุรี ราษฎร์บูรณะ ลาดกระบัง วังทองหลาง สวนหลวง สะพานสูง
สาทร สายไหม หนองแขม ห้วยขวาง
ปริมณฑล จำนวน 4 จังหวัด ได้แก่ นนทบุรี นครปฐม ปทุมธานี และสมุทรปราการ
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขต แต่ละจังหวัดที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้าตาม เพศ กลุ่มอายุ และอาชีพ ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,985 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์สอบถามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างในเรื่อง “โค้งสุดท้ายรัฐบาลชวน หลีกภัย”
ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นในหัวข้อที่สำรวจ
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
26 - 28 สิงหาคม 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม กลุ่มตัวอย่างมีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 1,985 คน
เป็นชายร้อยละ 52.8
เป็นหญิงร้อยละ 47.2
มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 58.8
ปริญญาตรีหรือสูงกว่าร้อยละ 39.0
ประกอบอาชีพ รับราชการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัทเอกชน
เจ้าของกิจการ
รับจ้างทั่วไป
ค้าขาย
นักศึกษา
และแม่บ้าน เป็นต้น
2. เมื่อสอบถามถึงความพึงพอใจต่อการแก้ปัญหาต่าง ๆ ของรัฐบาลชุดปัจจุบัน
กลุ่มตัวอย่างส่วนมาก ไม่พอใจในการแก้ปัญหาของรัฐบาลในเรื่องต่าง ๆ เรียงตามลำดับ ดังนี้
- การแก้ปัญหาราคาน้ำมัน
ร้อยละ 86.1 ไม่พอใจ
ร้อยละ 5.9 พอใจ
ร้อยละ 8.0 ไม่มีความเห็น
- การแก้ปัญหาคอร์รัปชั่น
ร้อยละ 72.7 ไม่พอใจ
ร้อยละ 11.2 พอใจ
ร้อยละ 16.1 ไม่มีความเห็น
- การแก้ปัญหาค่าครองชีพ
ร้อยละ 70.8 ไม่พอใจ
ร้อยละ 15.4 พอใจ
ร้อยละ 13.8 ไม่มีความเห็น
- การแก้ปัญหาฟื้นฟูเศรษฐกิจ
ร้อยละ 69.1 ไม่พอใจ
ร้อยละ 21.7 พอใจ
ร้อยละ 9.2 ไม่มีความเห็น
- การแก้ปัญหาสถาบันการเงิน
ร้อยละ 68.9 ไม่พอใจ
ร้อยละ 19.3 พอใจ
ร้อยละ 11.8 ไม่มีความเห็น
- การแก้ปัญหาการว่างงาน
ร้อยละ 68.3 ไม่พอใจ
ร้อยละ 18.4 พอใจ
ร้อยละ 13.3 ไม่มีความเห็น
3. เมื่อสอบถามถึงความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีกระทรวงต่าง ๆ
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่พอใจในผลงานของนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ใน 6 อันดับแรก ดังนี้
- นายชวน หลีกภัย
ร้อยละ 54.5 พอใจ
ร้อยละ 33.3 ไม่พอใจ
ร้อยละ 12.2 ไม่มีความเห็น
- นายกร ทัพพะรังสี
ร้อยละ 51.0 พอใจ
ร้อยละ 25.9 ไม่พอใจ
ร้อยละ 23.1 ไม่มีความเห็น
- นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ
ร้อยละ 50.7 พอใจ
ร้อยละ 25.1 ไม่พอใจ
ร้อยละ 24.2 ไม่มีความเห็น
- นายศุภชัย พานิชภักดิ์
ร้อยละ 40.6 พอใจ
ร้อยละ 35.0 ไม่พอใจ
ร้อยละ 24.4 ไม่มีความเห็น
- นายอาทิตย์ อุไรรัตน์
ร้อยละ 39.8 พอใจ
ร้อยละ 28.6 ไม่พอใจ
ร้อยละ 31.6 ไม่มีความเห็น
- นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล
ร้อยละ 38.0 พอใจ
ร้อยละ 29.7 ไม่พอใจ
ร้อยละ 32.3 ไม่มีความเห็น
สำหรับรัฐมนตรีที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่พอใจผลงาน คือ
- นายธารินทร์ นิมมานเหมินทร์
ร้อยละ 58.5 ไม่พอใจ
ร้อยละ 25.0 พอใจ
ร้อยละ 16.5 ไม่มีความเห็น
- นายสุเทพ เทือกสุบรรณ
ร้อยละ 51.9 ไม่พอใจ
ร้อยละ 24.9 พอใจ
ร้อยละ 23.2 ไม่มีความเห็น
- นายประภัตร โพธสุธน
ร้อยละ 43.8 ไม่พอใจ
ร้อยละ 21.3 พอใจ
ร้อยละ 34.9 ไม่มีความเห็น
4. สำหรับผู้ที่เหมาะสมจะเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 39.2 เห็นว่าควรเป็น พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร
ร้อยละ 31.7 นายชวน หลีกภัย
ร้อยละ 11.1 นายกร ทัพพะรังสี
ร้อยละ 3.2 นายบรรหาร ศิลปอาชา
และร้อยละ 3.0 พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ
5. เมื่อถามว่าพรรคการเมืองใดในพรรคร่วมรัฐบาลปัจจุบัน มีโอกาสจะกลับมาร่วมเป็นรัฐบาลอีกในการตั้งรัฐบาลคราวหน้า
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 35.9 คิดว่าเป็นพรรคประชาธิปัตย์
ร้อยละ 26.3 พรรคชาติพัฒนา
ร้อยละ 9.3 พรรคชาติไทย
ร้อยละ 24.3 คิดว่าไม่มีพรรคใดกลับมาเป็นรัฐบาลอีก
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--