แท็ก
กรุงเทพโพลล์
วัตถุประสงค์ของการสำรวจ :
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในเขตนำร่องของ กรุงเทพมหานคร
เกี่ยวกับโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค ในประเด็น ความต้องการใช้สิทธิ์ คุณภาพและมาตรฐาน การให้บริการของสถาน
พยาบาล ตลอดจนความมั่นใจ และความคาดหวังจากโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตนำร่องโครงการ 30 บาท
รักษาทุกโรค ของกรุงเทพมหานคร จำนวน 13 เขต คือ
หลักสี่ หนองจอก สายไหม สะพานสูง ลาดกระบัง มีนบุรี บึงกุ่ม บางเขน ธนบุรี ดอนเมือง
จอมทอง คันนายาว คลองสามวา ได้ตัวอย่าง ทั้งสิ้นจำนวน 1,039 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ประชาชนใน
เขตนำร่องของ กทม. คิดอย่างไรต่อโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
3 - 5 ตุลาคม 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
6 ตุลาคม 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตนำร่อง
โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค ของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,039 คน
เป็นชายร้อยละ 48.0 เป็นหญิงร้อยละ 52.0
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 18.5 มีอายุระหว่าง 18 - 25 ปี
ร้อยละ 38.2 มีอายุระหว่าง 26 - 35 ปี
ร้อยละ 34.7 มีอายุระหว่าง 36 - 45 ปี
และร้อยละ 8.1 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
สำหรับระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 71.2 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 28.8 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน
เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย นักศึกษา และแม่บ้าน
2. เมื่อถามถึงการเข้ารับการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่วย ส่วนมากรักษาที่โรงพยาบาลของรัฐ หรือเอกชน
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 54.0 ระบุว่าใช้โรงพยาบาลของรัฐ
ร้อยละ 46.0 ใช้โรงพยาบาลเอกชน
3. สำหรับคำถามว่า ต้องการบัตร 30 บาทรักษาทุกโรคหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 80.7 ระบุว่าต้องการ
ร้อยละ 12.8 ไม่ต้องการ
และร้อยละ 6.5 ยังไม่ตัดสินใจ
4. ส่วนคำถามว่า มั่นใจในคุณภาพของสถานพยาบาล (โรงพยาบาล) ที่เข้าร่วมโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค
หรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 50.3 ระบุว่าไม่มั่นใจ
ร้อยละ 33.2 ระบุว่ามั่นใจ
และร้อยละ 16.5 ไม่มีความเห็น
5. เมื่อสอบถามว่า มั่นใจในมาตรฐานการให้การรักษาพยาบาล และคุณภาพของยา ต่อผู้ถือบัตร 30
บาทรักษาทุกโรค เช่นเดียวกับผู้ป่วยเสียเงินในราคาปกติหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 59.3 ระบุว่า ไม่มั่นใจ
ร้อยละ 30.1 ระบุว่ามั่นใจ
และร้อยละ 10.6 ไม่มีความเห็น
6. สำหรับคำถามว่า มั่นใจในการให้บริการแก่ผู้ป่วยที่มีบัตร 30 บาทรักษาทุกโรค เช่นเดียวกับผู้ป่วยที่เสียเงิน
ตามปกติหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 54.2 ระบุว่าไม่มั่นใจ
ร้อยละ 34.4 ระบุว่ามั่นใจ
และร้อยละ 11.5 ไม่มีความเห็น
7. ส่วนความพอใจกับโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรคของกระทรวงสาธารณสุขหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 60.8 ระบุว่าพอใจ
ร้อยละ 20.2 ไม่พอใจ
และร้อยละ 19.0 ไม่มีความเห็น
8. และเมื่อถามว่า สิ่งที่คาดหวังมากที่สุดจากโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 46.5 ต้องการให้มีมาตรฐานการรักษาพยาบาลเท่าเทียมกับผู้ป่วยที่เสียเงินตามปกติ
ร้อยละ 24.2 ต้องการเลือกโรงพยาบาลตามที่ต้องการได้
ร้อยละ 14.7 ต้องการให้ได้รับการรักษาพยาบาลที่รวดเร็ว
และร้อยละ 9.1 ต้องการให้มีสถานพยาบาลที่เพียงพอรองรับผู้ป่วย
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 499 48
หญิง 540 52
อายุ :
18 - 25 ปี 192 18.5
26 - 35 ปี 397 38.2
36 - 45 ปี 361 34.7
มากกว่า 45 ปี 84 8.1
ไม่ระบุ 5 0.5
การศึกษา :
ประถมศึกษา 74 7.1
มัธยมศึกษา 166 16
ปวช. 300 28.9
ปวส./อนุปริญญา 200 19.2
ปริญญาตรี 261 25.1
สูงกว่าปริญญาตรี 38 3.7
อาชีพ :
พนักงานเอกชน 472 45.4
เจ้าของกิจการ 98 9.4
รับจ้างทั่วไป 92 8.9
ค้าขาย 175 16.8
นักศึกษา 94 9
แม่บ้าน 66 6.4
อาชีพอื่น ๆ 42 4
ตารางที่ 2 เมื่อท่านเจ็บป่วยส่วนมากท่านเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลของรัฐ หรือเอกชน
จำนวน ร้อยละ
ของรัฐ 561 54
ของเอกชน 478 46
ตารางที่ 3 ท่านต้องการบัตร 30 บาทรักษาทุกโรคหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ต้องการ 838 80.7
ไม่ต้องการ 133 12.8
ยังไม่ตัดสินใจ 68 6.5
ตารางที่ 4 ท่านมั่นใจในคุณภาพของสถานพยาบาล (โรงพยาบาล) ที่เข้าร่วมโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค
หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 345 33.2
ไม่มั่นใจ 523 50.3
ไม่มีความเห็น 171 16.5
ตารางที่ 5 ท่านมั่นใจในมาตรฐานการให้การรักษาพยาบาล และคุณภาพของยา ต่อผู้ถือบัตร 30 บาทรักษาทุก
โรคเช่นเดียวกับผู้ป่วยเสียเงินในราคาปกติหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 313 30.1
ไม่มั่นใจ 616 59.3
ไม่มีความเห็น 110 10.6
ตารางที่ 6 ท่านมั่นใจในการให้บริการแก่ผู้ป่วยที่มีบัตร 30 บาทรักษาทุกโรค เช่นเดียวกับผู้ป่วยที่เสียเงินตาม
ปกติหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 357 34.4
ไม่มั่นใจ 563 54.2
ไม่มีความเห็น 119 11.5
ตารางที่ 7 ท่านพอใจกับโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรคของกระทรวงสาธารณสุขหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
พอใจ 632 60.8
ไม่พอใจ 210 20.2
ไม่มีความเห็น 197 19
ตารางที่ 8 สิ่งที่ท่านคาดหวังมากที่สุดจากโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรคคือ
จำนวน ร้อยละ
มาตรฐานการรักษาพยาบาลเท่าเทียมกับผู้ป่วยที่เสียเงินตามปกติ 483 46.5
เลือกโรงพยาบาลได้ตามที่ต้องการ 251 24.2
การให้การรักษาพยาบาลที่รวดเร็ว 153 14.7
มีสถานพยาบาลที่มากพอรองรับผู้ป่วย 95 9.1
อื่น ๆ 57 5.4
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในเขตนำร่องของ กรุงเทพมหานคร
เกี่ยวกับโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค ในประเด็น ความต้องการใช้สิทธิ์ คุณภาพและมาตรฐาน การให้บริการของสถาน
พยาบาล ตลอดจนความมั่นใจ และความคาดหวังจากโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตนำร่องโครงการ 30 บาท
รักษาทุกโรค ของกรุงเทพมหานคร จำนวน 13 เขต คือ
หลักสี่ หนองจอก สายไหม สะพานสูง ลาดกระบัง มีนบุรี บึงกุ่ม บางเขน ธนบุรี ดอนเมือง
จอมทอง คันนายาว คลองสามวา ได้ตัวอย่าง ทั้งสิ้นจำนวน 1,039 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ประชาชนใน
เขตนำร่องของ กทม. คิดอย่างไรต่อโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
3 - 5 ตุลาคม 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
6 ตุลาคม 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตนำร่อง
โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค ของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,039 คน
เป็นชายร้อยละ 48.0 เป็นหญิงร้อยละ 52.0
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 18.5 มีอายุระหว่าง 18 - 25 ปี
ร้อยละ 38.2 มีอายุระหว่าง 26 - 35 ปี
ร้อยละ 34.7 มีอายุระหว่าง 36 - 45 ปี
และร้อยละ 8.1 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
สำหรับระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 71.2 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 28.8 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน
เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย นักศึกษา และแม่บ้าน
2. เมื่อถามถึงการเข้ารับการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่วย ส่วนมากรักษาที่โรงพยาบาลของรัฐ หรือเอกชน
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 54.0 ระบุว่าใช้โรงพยาบาลของรัฐ
ร้อยละ 46.0 ใช้โรงพยาบาลเอกชน
3. สำหรับคำถามว่า ต้องการบัตร 30 บาทรักษาทุกโรคหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 80.7 ระบุว่าต้องการ
ร้อยละ 12.8 ไม่ต้องการ
และร้อยละ 6.5 ยังไม่ตัดสินใจ
4. ส่วนคำถามว่า มั่นใจในคุณภาพของสถานพยาบาล (โรงพยาบาล) ที่เข้าร่วมโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค
หรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 50.3 ระบุว่าไม่มั่นใจ
ร้อยละ 33.2 ระบุว่ามั่นใจ
และร้อยละ 16.5 ไม่มีความเห็น
5. เมื่อสอบถามว่า มั่นใจในมาตรฐานการให้การรักษาพยาบาล และคุณภาพของยา ต่อผู้ถือบัตร 30
บาทรักษาทุกโรค เช่นเดียวกับผู้ป่วยเสียเงินในราคาปกติหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 59.3 ระบุว่า ไม่มั่นใจ
ร้อยละ 30.1 ระบุว่ามั่นใจ
และร้อยละ 10.6 ไม่มีความเห็น
6. สำหรับคำถามว่า มั่นใจในการให้บริการแก่ผู้ป่วยที่มีบัตร 30 บาทรักษาทุกโรค เช่นเดียวกับผู้ป่วยที่เสียเงิน
ตามปกติหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 54.2 ระบุว่าไม่มั่นใจ
ร้อยละ 34.4 ระบุว่ามั่นใจ
และร้อยละ 11.5 ไม่มีความเห็น
7. ส่วนความพอใจกับโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรคของกระทรวงสาธารณสุขหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 60.8 ระบุว่าพอใจ
ร้อยละ 20.2 ไม่พอใจ
และร้อยละ 19.0 ไม่มีความเห็น
8. และเมื่อถามว่า สิ่งที่คาดหวังมากที่สุดจากโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 46.5 ต้องการให้มีมาตรฐานการรักษาพยาบาลเท่าเทียมกับผู้ป่วยที่เสียเงินตามปกติ
ร้อยละ 24.2 ต้องการเลือกโรงพยาบาลตามที่ต้องการได้
ร้อยละ 14.7 ต้องการให้ได้รับการรักษาพยาบาลที่รวดเร็ว
และร้อยละ 9.1 ต้องการให้มีสถานพยาบาลที่เพียงพอรองรับผู้ป่วย
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 499 48
หญิง 540 52
อายุ :
18 - 25 ปี 192 18.5
26 - 35 ปี 397 38.2
36 - 45 ปี 361 34.7
มากกว่า 45 ปี 84 8.1
ไม่ระบุ 5 0.5
การศึกษา :
ประถมศึกษา 74 7.1
มัธยมศึกษา 166 16
ปวช. 300 28.9
ปวส./อนุปริญญา 200 19.2
ปริญญาตรี 261 25.1
สูงกว่าปริญญาตรี 38 3.7
อาชีพ :
พนักงานเอกชน 472 45.4
เจ้าของกิจการ 98 9.4
รับจ้างทั่วไป 92 8.9
ค้าขาย 175 16.8
นักศึกษา 94 9
แม่บ้าน 66 6.4
อาชีพอื่น ๆ 42 4
ตารางที่ 2 เมื่อท่านเจ็บป่วยส่วนมากท่านเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลของรัฐ หรือเอกชน
จำนวน ร้อยละ
ของรัฐ 561 54
ของเอกชน 478 46
ตารางที่ 3 ท่านต้องการบัตร 30 บาทรักษาทุกโรคหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ต้องการ 838 80.7
ไม่ต้องการ 133 12.8
ยังไม่ตัดสินใจ 68 6.5
ตารางที่ 4 ท่านมั่นใจในคุณภาพของสถานพยาบาล (โรงพยาบาล) ที่เข้าร่วมโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค
หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 345 33.2
ไม่มั่นใจ 523 50.3
ไม่มีความเห็น 171 16.5
ตารางที่ 5 ท่านมั่นใจในมาตรฐานการให้การรักษาพยาบาล และคุณภาพของยา ต่อผู้ถือบัตร 30 บาทรักษาทุก
โรคเช่นเดียวกับผู้ป่วยเสียเงินในราคาปกติหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 313 30.1
ไม่มั่นใจ 616 59.3
ไม่มีความเห็น 110 10.6
ตารางที่ 6 ท่านมั่นใจในการให้บริการแก่ผู้ป่วยที่มีบัตร 30 บาทรักษาทุกโรค เช่นเดียวกับผู้ป่วยที่เสียเงินตาม
ปกติหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 357 34.4
ไม่มั่นใจ 563 54.2
ไม่มีความเห็น 119 11.5
ตารางที่ 7 ท่านพอใจกับโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรคของกระทรวงสาธารณสุขหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
พอใจ 632 60.8
ไม่พอใจ 210 20.2
ไม่มีความเห็น 197 19
ตารางที่ 8 สิ่งที่ท่านคาดหวังมากที่สุดจากโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรคคือ
จำนวน ร้อยละ
มาตรฐานการรักษาพยาบาลเท่าเทียมกับผู้ป่วยที่เสียเงินตามปกติ 483 46.5
เลือกโรงพยาบาลได้ตามที่ต้องการ 251 24.2
การให้การรักษาพยาบาลที่รวดเร็ว 153 14.7
มีสถานพยาบาลที่มากพอรองรับผู้ป่วย 95 9.1
อื่น ๆ 57 5.4
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--