กลุ่มตัวอย่าง:
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรเป้าหมายที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและมีสิทธิลงคะแนนเลือกตั้ง การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Sampling) โดยแบ่งตามเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร หลังจากนั้นสุ่มกลุ่มตัวอย่างแต่ละเขตได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,951 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างในเรื่อง ภาพลักษณ์ของนักการเมืองในสายตาประชาชนโดยแบบสอบถามประกอบด้วย
ส่วนที่ 1 ถามด้านข้อมูลประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง
ส่วนที่ 2 ถามความคิดเห็นในหัวข้อที่ทำการสำรวจ
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
20 - 22 พฤษภาคม 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. กลุ่มตัวอย่างเป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป
เป็นเพศชายร้อยละ 48.8
เป็นเพศหญิงร้อยละ 51.2
มีการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรีร้อยละ 50.5
ปริญญาตรีหรือสูงกว่าร้อยละ 47.6
ประกอบอาชีพหลากหลาย เช่น
พนักงานบริษัทเอกชน
รับราชการ
รับจ้างทั่วไป
ค้าขาย
นักศึกษา เป็นต้น
2. เมื่อสอบถามถึงความรู้สึกที่มีต่อนักการเมืองส่วนใหญ่ในปัจจุบันนี้
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความรู้สึกด้านลบ มากกว่าด้านบวก กล่าวคือ
ร้อยละ 24.3 เห็นว่านักการเมืองไม่มีความจริงใจที่จะแก้ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนอย่างแท้จริง
ร้อยละ 21.1 เห็นว่าเป็นพวกแสวงหาผลประโยชน์ในทางมิชอบ
ร้อยละ 18.4 เห็นว่าเป็นพวกต้องการปกป้องผลประโยชน์ของตนเองและพวกพ้อง
ร้อยละ 10.4 เห็นว่าเป็นพวกแสวงหาเกียรติยศและชื่อเสียงเพื่อตนเองและวงศ์ตระกูล
ร้อยละ 9.5 เห็นว่าเป็นพวกที่แสวงหาอำนาจ
ร้อยละ 4.7 เห็นว่าเป็นผู้เสียสละที่อาสาเข้ามาแก้ปัญหาบ้านเมือง
ร้อยละ 3.8 เห็นว่าเป็นผู้มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์มาก
3. เมื่อสอบถามถึงนักการเมืองชายที่ชื่นชอบมากที่สุด
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 31.5 ชื่นชอบนายชวน หลีกภัย
ร้อยละ 13.2 นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ร้อยละ 12.3 พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร
ร้อยละ 10.1 นายสมัคร สุนทรเวช
ร้อยละ 2.8 นายอานันท์ ปันยารชุน
ร้อยละ 1.8 นายพิชัย รัตตกุล
4. สำหรับนักการเมืองหญิงที่กลุ่มตัวอย่างชื่นชอบมากที่สุดเรียงตามลำดับดังนี้
ร้อยละ 37.5 นางปวีณา หงสกุล
ร้อยละ 34.7 นางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์
ร้อยละ 7.5 คุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์
ร้อยละ 2.7 นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา
และร้อยละ 2.1 นางลดาวัลย์ วงศ์ศรีวงศ์
5. เมื่อสอบถามถึงนักการเมืองที่ทำให้ประชาชนผิดหวังมากที่สุด
กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็นดังนี้
ร้อยละ 32.6 พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ
ร้อยละ 18.3 พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์
ร้อยละ 10.4 นายชวน หลีกภัย
ร้อยละ 8.0 ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง
ร้อยละ 4.1 นายธารินทร์ นิมมานเหมินทร์
ร้อยละ 2.7 นายสมัคร สุนทรเวช
ร้อยละ 2.0 นายบรรหาร ศิลปอาชา
ร้อยละ 1.8 นายสุเทพ เทือกสุบรรณ
ร้อยละ 1.2 นายเสนาะ เทียนทอง
ร้อยละ 1.0 พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร
6. สำหรับพรรคการเมืองที่ สส. ส่วนใหญ่มีคุณภาพมากที่สุด
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 48.1 เห็นว่าเป็นพรรคประชาธิปัตย์
ร้อยละ 16.8 พรรคไทยรักไทย
ร้อยละ 5.1 พรรคชาติพัฒนา
ร้อยละ 4.1 พรรคประชากรไทย
ร้อยละ 2.5 พรรคชาติไทย
ร้อยละ 1.7 พรรคความหวังใหม่
7. เมื่อถามถึงผู้ที่เหมาะจะเป็นประธานรัฐสภาแทนนายวันมูฮัมหมัดนอร์ มะทา
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 49.4 เห็นว่าควรเป็นนายพิชัย รัตตกุล
ร้อยละ 24.8 นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ร้อยละ 6.2 คุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์
ร้อยละ 6.0 นายถวิล ไพรสณฑ์
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรเป้าหมายที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและมีสิทธิลงคะแนนเลือกตั้ง การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Sampling) โดยแบ่งตามเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร หลังจากนั้นสุ่มกลุ่มตัวอย่างแต่ละเขตได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,951 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างในเรื่อง ภาพลักษณ์ของนักการเมืองในสายตาประชาชนโดยแบบสอบถามประกอบด้วย
ส่วนที่ 1 ถามด้านข้อมูลประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง
ส่วนที่ 2 ถามความคิดเห็นในหัวข้อที่ทำการสำรวจ
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
20 - 22 พฤษภาคม 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. กลุ่มตัวอย่างเป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป
เป็นเพศชายร้อยละ 48.8
เป็นเพศหญิงร้อยละ 51.2
มีการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรีร้อยละ 50.5
ปริญญาตรีหรือสูงกว่าร้อยละ 47.6
ประกอบอาชีพหลากหลาย เช่น
พนักงานบริษัทเอกชน
รับราชการ
รับจ้างทั่วไป
ค้าขาย
นักศึกษา เป็นต้น
2. เมื่อสอบถามถึงความรู้สึกที่มีต่อนักการเมืองส่วนใหญ่ในปัจจุบันนี้
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความรู้สึกด้านลบ มากกว่าด้านบวก กล่าวคือ
ร้อยละ 24.3 เห็นว่านักการเมืองไม่มีความจริงใจที่จะแก้ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนอย่างแท้จริง
ร้อยละ 21.1 เห็นว่าเป็นพวกแสวงหาผลประโยชน์ในทางมิชอบ
ร้อยละ 18.4 เห็นว่าเป็นพวกต้องการปกป้องผลประโยชน์ของตนเองและพวกพ้อง
ร้อยละ 10.4 เห็นว่าเป็นพวกแสวงหาเกียรติยศและชื่อเสียงเพื่อตนเองและวงศ์ตระกูล
ร้อยละ 9.5 เห็นว่าเป็นพวกที่แสวงหาอำนาจ
ร้อยละ 4.7 เห็นว่าเป็นผู้เสียสละที่อาสาเข้ามาแก้ปัญหาบ้านเมือง
ร้อยละ 3.8 เห็นว่าเป็นผู้มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์มาก
3. เมื่อสอบถามถึงนักการเมืองชายที่ชื่นชอบมากที่สุด
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 31.5 ชื่นชอบนายชวน หลีกภัย
ร้อยละ 13.2 นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ร้อยละ 12.3 พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร
ร้อยละ 10.1 นายสมัคร สุนทรเวช
ร้อยละ 2.8 นายอานันท์ ปันยารชุน
ร้อยละ 1.8 นายพิชัย รัตตกุล
4. สำหรับนักการเมืองหญิงที่กลุ่มตัวอย่างชื่นชอบมากที่สุดเรียงตามลำดับดังนี้
ร้อยละ 37.5 นางปวีณา หงสกุล
ร้อยละ 34.7 นางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์
ร้อยละ 7.5 คุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์
ร้อยละ 2.7 นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา
และร้อยละ 2.1 นางลดาวัลย์ วงศ์ศรีวงศ์
5. เมื่อสอบถามถึงนักการเมืองที่ทำให้ประชาชนผิดหวังมากที่สุด
กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็นดังนี้
ร้อยละ 32.6 พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ
ร้อยละ 18.3 พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์
ร้อยละ 10.4 นายชวน หลีกภัย
ร้อยละ 8.0 ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง
ร้อยละ 4.1 นายธารินทร์ นิมมานเหมินทร์
ร้อยละ 2.7 นายสมัคร สุนทรเวช
ร้อยละ 2.0 นายบรรหาร ศิลปอาชา
ร้อยละ 1.8 นายสุเทพ เทือกสุบรรณ
ร้อยละ 1.2 นายเสนาะ เทียนทอง
ร้อยละ 1.0 พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร
6. สำหรับพรรคการเมืองที่ สส. ส่วนใหญ่มีคุณภาพมากที่สุด
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 48.1 เห็นว่าเป็นพรรคประชาธิปัตย์
ร้อยละ 16.8 พรรคไทยรักไทย
ร้อยละ 5.1 พรรคชาติพัฒนา
ร้อยละ 4.1 พรรคประชากรไทย
ร้อยละ 2.5 พรรคชาติไทย
ร้อยละ 1.7 พรรคความหวังใหม่
7. เมื่อถามถึงผู้ที่เหมาะจะเป็นประธานรัฐสภาแทนนายวันมูฮัมหมัดนอร์ มะทา
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 49.4 เห็นว่าควรเป็นนายพิชัย รัตตกุล
ร้อยละ 24.8 นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ร้อยละ 6.2 คุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์
ร้อยละ 6.0 นายถวิล ไพรสณฑ์
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--