กลุ่มตัวอย่าง:
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตที่สุ่มได้ และมีสิทธิลงคะแนนเลือก
ตั้งในเขตนั้น
การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling)โดยแบ่งกรุงเทพมหานครออกเป็น 37 เขต
เลือกตั้ง ในแต่ละเขตจะสุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัยโดยวิธีสุ่มแบบเป็นระบบ (Systematic Sampling) เขตละประมาณ
200 ครัวเรือน ได้ตัวอย่างทั้งหมด 7,338 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชาชนเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง
“ แนวโน้มการเลือกตั้ง ส.ส. ของชาวกรุงเทพมหานคร ”
ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นในหัวข้อที่สำรวจ
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
18 - 20 พฤศจิกายน 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. การรวบรวมข้อมูลใช้การสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามมีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุง
เทพมหานคร
เป็นชายร้อยละ 49.0
เป็นหญิงร้อยละ 51.0
มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 69.8
ปริญญาตรีหรือสูงกว่า ร้อยละ 27.8
ประกอบอาชีพ รับราชการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัทเอกชน
เจ้าของกิจการ
รับจ้างทั่วไป
ค้าขาย
นักศึกษา แม่บ้าน และอื่น ๆ
2. เมื่อสอบถามถึงความตั้งใจจะไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ส.ส. ในวันที่ 6 มกราคม 2544
ตัวอย่าง
ร้อยละ 84.7 ตั้งใจจะไป
ร้อยละ 12.5 ยังไม่แน่ใจ
ร้อยละ 2.7 ไม่ไป
3. เมื่อสอบถามถึงความตั้งใจจะเลือก ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ (ปาร์ตี้ลิสต์)
ตัวอย่าง
ร้อยละ 40.1 จะเลือกพรรคไทยรักไทย
ร้อยละ 24.5 จะเลือกพรรคประชาธิปัตย์
ร้อยละ 4.5 จะเลือกพรรคชาติพัฒนา
ร้อยละ 3.5 จะเลือกพรรคประชากรไทย
ร้อยละ 2.9 จะเลือกพรรคถิ่นไทย
และร้อยละ 20.4 ยังไม่ตัดสินใจ
4. สำหรับความตั้งใจที่จะเลือก ส.ส. แบบเบ่งเขตนั้น
ตัวอย่าง
ร้อยละ 37.6 ตั้งใจจะเลือกพรรคไทยรักไทย
ร้อยละ 25.5 จะเลือกพรรคประชาธิปัตย์
ร้อยละ 3.9 จะเลือกพรรคชาติพัฒนา
ร้อยละ 3.6 จะเลือกพรรคประชากรไทย
ร้อยละ 2.8 จะเลือกพรรคถิ่นไทย
และร้อยละ 22.8 ยังไม่ตัดสินใจ
5. เมื่อวิเคราะห์ความตั้งใจในการเลือก ส.ส. แบบแบ่งเขต และแบบบัญชีรายชื่อ
จากตัวอย่างที่ระบุว่าจะเลือกพรรคใด (จำนวน 4,647 คน)
พบว่าร้อยละ 89.3 จะเลือก ส.ส. แบบแบ่งเขต และส.ส. แบบบัญชีรายชื่อเป็นพรรคเดียวกัน
มีเพียงร้อยละ 10.7 จะเลือกพรรคต่างกัน
6. ผู้ที่ชาวกรุงเทพมหานครต้องการให้เป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปนั้น
ตัวอย่าง
ร้อยละ 44.9 ต้องการ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร
ร้อยละ 25.1 ต้องการนายชวน หลีกภัย
ร้อยละ 4.5 ต้องการ ดร.พิจิตต รัตตกุล
ร้อยละ 4.2 ต้องการนายกร ทัพพะรังสี
ร้อยละ 1.9 ต้องการ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ
และร้อยละ 1.7 ต้องการนายบรรหาร ศิลปอาชา
7. สำหรับคะแนนนิยมของ ส.ส. แบบแบ่งเขตทั้ง 37 เขตเลือกตั้งของ กทม. พบว่า
เขตเลือกตั้งส่วนใหญ่ (จำนวน 30 เขต) นิยมพรรคไทยรักไทย
เขตเลือกตั้งที่นิยมพรรคประชาธิปัตย์คือ เขตบางคอแหลม บึงกุ่ม มีนบุรี คลองสามวา บางกอกน้อย ตลิ่งชัน
ภาษีเจริญ และจอมทอง
ส่วนพรรคชาติพัฒนามีความนิยมเป็นอันดับสองที่เขตสายไหม เช่นเดียวกับพรรคประชากรไทยเป็นอันดับสองที่
เขตบางเขน
ส่วนที่เขตบางกอกใหญ่และบางแขวงของเขตภาษีเจริญ คะแนนความนิยมระหว่างพรรคไทยรักไทยและพรรคประ
ชาธิปัตย์ไม่แตกต่างกัน
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 3,597 49
หญิง 3,741 51
อายุ :
18 - 25 1,215 16.6
26 - 35 1,921 26.2
36 - 45 2,299 31.3
มากกว่า 45 ปี 1,879 25.6
ไม่ระบุ 24 0.3
การศึกษา :
ประถมศึกษา 1,621 22.1
มัธยมศึกษา 1,586 21.6
ปวช. 888 12.1
ปวส./อนุปริญญา 1,025 14
ปริญญาตรี 1,910 26
สูงกว่าปริญญาตรี 134 1.8
ไม่ระบุ 174 2.4
อาชีพ :
รับราชการ 395 5.4
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 258 3.5
พนักงานเอกชน 935 12.7
เจ้าของกิจการ 729 9.9
รับจ้างทั่วไป 1,206 16.4
ค้าขาย 2,054 28
นักศึกษา 688 9.4
แม่บ้าน 743 10.1
อาชีพอื่น ๆ 258 3.5
ไม่ระบุ 72 1
ตารางที่ 2 ท่านตั้งใจจะไปเลือก ส.ส. ในวันที่ 6 มกราคม 2544 หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ไป 6,216 84.7
ไม่ไป 201 2.7
ยังไม่แน่ใจ 921 12.5
ตารางที่ 3 ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ (ปาร์ตี้ลิสต์) ท่านตั้งใจจะไปเลือกพรรคใด
จำนวน ร้อยละ
ไทยรักไทย 2,493 40.1
ประชาธิปัตย์ 1,522 24.5
ชาติพัฒนา 279 4.5
ประชากรไทย 216 3.5
ถิ่นไทย 178 2.9
ความหวังใหม่ 133 2.1
ชาติไทย 127 2
ยังไม่ตัดสินใจ 1,268 20.4
ตารางที่ 4 ส.ส. แบบแบ่งเขต ท่านตั้งใจจะไปเลือกผู้สมัครพรรคใด
จำนวน ร้อยละ
ไทยรักไทย 2,338 37.6
ประชาธิปัตย์ 1,585 25.5
ชาติพัฒนา 242 3.9
ี ประชากรไทย 223 3.6
ถิ่นไทย 171 2.8
ชาติไทย 123 2
ความหวังใหม่ 115 1.9
ยังไม่ตัดสินใจ 1,419 22.8
ตารางที่ 5 ท่านต้องการให้ใครเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป
จำนวน ร้อยละ
พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร 3,203 44.9
นายชวน หลีกภัย 1,789 25.1
ดร.พิจิตต รัตตกุล 321 4.5
นายกร ทัพพะรังสี 299 4.2
พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ 134 1.9
นายบรรหาร ศิลปอาชา 121 1.7
ไม่มีความเห็น 1,270 17.8
ผลการสำรวจรายเขตเลือกตั้งของ กทม.
เขตเลือกตั้ง คะแนนนิยมอันดับ 1 และ 2 เขตเลือกตั้ง คะแนนนิยมอันดับ 1 และ 2
1.พระนคร ไทยรักไทย (40.0%) 2.ดุสิต ไทยรักไทย (23.2%)
เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ประชาธิปัตย์ (24.6%) ประชาธิปัตย์ (21.1%)
3.บางซื่อ ไทยรักไทย (32.5%) 4.พญาไท ไทยรักไทย (47.1%)
ราชเทวี (เฉพาะแขวงทุ่งพญาไท ประชาธิปัตย์ (27.8%)
และแขวงถนนพญาไท)
5.ปทุมวัน ไทยรักไทย (59.2%) 6.บางรัก ไทยรักไทย (45.9%)
ราชเทวี (ยกเว้นแขวงทุ่งพญาไท ประชาธิปัตย์ (12.4%) สัมพันธวงศ์ ประชาธิปัตย์ (32.1%)
และแขวงถนนพญาไท) สาทร (ยกเว้นแขวงทุ่งวัดดอน)
7.ยานนาวา ไทยรักไทย (35.4%) 8.บางคอแหลม ประชาธิปัตย์ (43.1%)
สาทร (เฉพาะแขวงทุ่งวัดดอน) ประชาธิปัตย์ (26.2%) ไทยรักไทย (33.8%)
9.คลองเตย ไทยรักไทย (38.5%) 10.ห้วยขวาง ไทยรักไทย (64.5%)
ประชาธิปัตย์ (27.2%) วัฒนา ประชาธิปัตย์ (19.5%)
(ยกเว้นแขวงพระโขนงเหนือ)
11.ดินแดง ไทยรักไทย (50.5%) 12.จตุจักร ไทยรักไทย (43.0%)
ประชาธิปัตย์ (20.1%) ประชาธิปัตย์ (13.0%)
13.หลักสี่ ไทยรักไทย (39.6%) 14.ดอนเมือง ไทยรักไทย (18.4%)
ประชาธิปัตย์ (27.8%) ประชาธิปัตย์ (9.7%)
15.สายไหม ไทยรักไทย (24.4%) 16.บางเขน ไทยรักไทย (38.1%)
ชาติพัฒนา (20.8%) ประชากรไทย (25.9%)
17.ลาดพร้าว ไทยรักไทย (35.1%) 18.วังทองหลาง ไทยรักไทย (53.1%)
ประชาธิปัตย์ (20.1%) ประชาธิปัตย์ (26.9%)
19.บางกะปิ ไทยรักไทย (32.5%) 20.บึงกุ่ม ประชาธิปัตย์ (43.4%)
ประชาธิปัตย์ (24.4%) ไทยรักไทย (40.4%)
21.คันนายาว ไทยรักไทย (32.5%) 22.สวนหลวง ไทยรักไทย (30.5%)
สะพานสูง ประชาธิปัตย์ (14.1%) ประเวศ ประชาธิปัตย์ (15.0%)
(เฉพาะแขวงประเวศ)
23.บางนา ไทยรักไทย (37.2%) 24.พระโขนง ไทยรักไทย (43.4%)
ประเวศ (ยกเว้นแขวงประเวศ)ประชาธิปัตย์ (25.6%) วัฒนา ประชาธิปัตย์ (15.7%)
(เฉพาะแขวงพระโขนงเหนือ)
25.หนองจอก ไทยรักไทย (43.4%) 26.มีนบุรี ประชาธิปัตย์ (52.4%)
ลาดกระบัง ประชาธิปัตย์ (16.3%) คลองสามวา ไทยรักไทย (33.0%)
27.ธนบุรี ไทยรักไทย (29.3%) 28.คลองสาน ไทยรักไทย (26.2%)
(ยกเว้นแขวงวัดกัลยาณ์ ประชาธิปัตย์ (24.7%) ธนบุรี ประชาธิปัตย์ (24.6%)
และแขวงหิรัญรูจี) (เฉพาะแขวงวัดกัลยาณ์ และแขวงหิรัญรูจี)
29.บางพลัด ไทยรักไทย (26.8%) 30.บางกอกน้อย ประชาธิปัตย์ (27.7%)
บางกอกน้อย ประชาธิปัตย์ (21.0%) (ยกเว้นแขวงอรุณอมรินทร์) ไทยรักไทย (26.7%)
(เฉพาะแขวงอรุณอมรินทร์)
31.ตลิ่งชัน ประชาธิปัตย์ (51.0%) 32.บางกอกใหญ่ ไทยรักไทย (33.0%)
ภาษีเจริญ (เฉพาะแขวงบางแวก, ไทยรักไทย (27.6%) ภาษีเจริญ (ยกเว้นแขวงบางแวก, ประชาธิปัตย์ (33.0%)
แขวงบางด้วน, และแขวงคลองขวาง) แขวงบางด้วน และแขวงคลองขวาง)
33.จอมทอง ประชาธิปัตย์ (56.3%) 34.ราษฎร์บูรณะ ไทยรักไทย (38.3%)
ไทยรักไทย (36.2%) ทุ่งครุ ประชาธิปัตย์ (28.1%)
35.บางขุนเทียน ไทยรักไทย (31.3%) 36.บางแค ไทยรักไทย (30.1%)
บางบอน ประชาธิปัตย์ (26.8%) (ยกเว้นแขวงหลักสอง) ประชาธิปัตย์ (24.5%)
37.ทวีวัฒนา ไทยรักไทย (35.1%)
หนองแขม บางแค ประชาธิปัตย์ (19.5%)
(เฉพาะแขวงหลักสอง)
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตที่สุ่มได้ และมีสิทธิลงคะแนนเลือก
ตั้งในเขตนั้น
การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling)โดยแบ่งกรุงเทพมหานครออกเป็น 37 เขต
เลือกตั้ง ในแต่ละเขตจะสุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัยโดยวิธีสุ่มแบบเป็นระบบ (Systematic Sampling) เขตละประมาณ
200 ครัวเรือน ได้ตัวอย่างทั้งหมด 7,338 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชาชนเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง
“ แนวโน้มการเลือกตั้ง ส.ส. ของชาวกรุงเทพมหานคร ”
ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นในหัวข้อที่สำรวจ
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
18 - 20 พฤศจิกายน 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. การรวบรวมข้อมูลใช้การสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามมีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุง
เทพมหานคร
เป็นชายร้อยละ 49.0
เป็นหญิงร้อยละ 51.0
มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 69.8
ปริญญาตรีหรือสูงกว่า ร้อยละ 27.8
ประกอบอาชีพ รับราชการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัทเอกชน
เจ้าของกิจการ
รับจ้างทั่วไป
ค้าขาย
นักศึกษา แม่บ้าน และอื่น ๆ
2. เมื่อสอบถามถึงความตั้งใจจะไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ส.ส. ในวันที่ 6 มกราคม 2544
ตัวอย่าง
ร้อยละ 84.7 ตั้งใจจะไป
ร้อยละ 12.5 ยังไม่แน่ใจ
ร้อยละ 2.7 ไม่ไป
3. เมื่อสอบถามถึงความตั้งใจจะเลือก ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ (ปาร์ตี้ลิสต์)
ตัวอย่าง
ร้อยละ 40.1 จะเลือกพรรคไทยรักไทย
ร้อยละ 24.5 จะเลือกพรรคประชาธิปัตย์
ร้อยละ 4.5 จะเลือกพรรคชาติพัฒนา
ร้อยละ 3.5 จะเลือกพรรคประชากรไทย
ร้อยละ 2.9 จะเลือกพรรคถิ่นไทย
และร้อยละ 20.4 ยังไม่ตัดสินใจ
4. สำหรับความตั้งใจที่จะเลือก ส.ส. แบบเบ่งเขตนั้น
ตัวอย่าง
ร้อยละ 37.6 ตั้งใจจะเลือกพรรคไทยรักไทย
ร้อยละ 25.5 จะเลือกพรรคประชาธิปัตย์
ร้อยละ 3.9 จะเลือกพรรคชาติพัฒนา
ร้อยละ 3.6 จะเลือกพรรคประชากรไทย
ร้อยละ 2.8 จะเลือกพรรคถิ่นไทย
และร้อยละ 22.8 ยังไม่ตัดสินใจ
5. เมื่อวิเคราะห์ความตั้งใจในการเลือก ส.ส. แบบแบ่งเขต และแบบบัญชีรายชื่อ
จากตัวอย่างที่ระบุว่าจะเลือกพรรคใด (จำนวน 4,647 คน)
พบว่าร้อยละ 89.3 จะเลือก ส.ส. แบบแบ่งเขต และส.ส. แบบบัญชีรายชื่อเป็นพรรคเดียวกัน
มีเพียงร้อยละ 10.7 จะเลือกพรรคต่างกัน
6. ผู้ที่ชาวกรุงเทพมหานครต้องการให้เป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปนั้น
ตัวอย่าง
ร้อยละ 44.9 ต้องการ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร
ร้อยละ 25.1 ต้องการนายชวน หลีกภัย
ร้อยละ 4.5 ต้องการ ดร.พิจิตต รัตตกุล
ร้อยละ 4.2 ต้องการนายกร ทัพพะรังสี
ร้อยละ 1.9 ต้องการ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ
และร้อยละ 1.7 ต้องการนายบรรหาร ศิลปอาชา
7. สำหรับคะแนนนิยมของ ส.ส. แบบแบ่งเขตทั้ง 37 เขตเลือกตั้งของ กทม. พบว่า
เขตเลือกตั้งส่วนใหญ่ (จำนวน 30 เขต) นิยมพรรคไทยรักไทย
เขตเลือกตั้งที่นิยมพรรคประชาธิปัตย์คือ เขตบางคอแหลม บึงกุ่ม มีนบุรี คลองสามวา บางกอกน้อย ตลิ่งชัน
ภาษีเจริญ และจอมทอง
ส่วนพรรคชาติพัฒนามีความนิยมเป็นอันดับสองที่เขตสายไหม เช่นเดียวกับพรรคประชากรไทยเป็นอันดับสองที่
เขตบางเขน
ส่วนที่เขตบางกอกใหญ่และบางแขวงของเขตภาษีเจริญ คะแนนความนิยมระหว่างพรรคไทยรักไทยและพรรคประ
ชาธิปัตย์ไม่แตกต่างกัน
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 3,597 49
หญิง 3,741 51
อายุ :
18 - 25 1,215 16.6
26 - 35 1,921 26.2
36 - 45 2,299 31.3
มากกว่า 45 ปี 1,879 25.6
ไม่ระบุ 24 0.3
การศึกษา :
ประถมศึกษา 1,621 22.1
มัธยมศึกษา 1,586 21.6
ปวช. 888 12.1
ปวส./อนุปริญญา 1,025 14
ปริญญาตรี 1,910 26
สูงกว่าปริญญาตรี 134 1.8
ไม่ระบุ 174 2.4
อาชีพ :
รับราชการ 395 5.4
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 258 3.5
พนักงานเอกชน 935 12.7
เจ้าของกิจการ 729 9.9
รับจ้างทั่วไป 1,206 16.4
ค้าขาย 2,054 28
นักศึกษา 688 9.4
แม่บ้าน 743 10.1
อาชีพอื่น ๆ 258 3.5
ไม่ระบุ 72 1
ตารางที่ 2 ท่านตั้งใจจะไปเลือก ส.ส. ในวันที่ 6 มกราคม 2544 หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ไป 6,216 84.7
ไม่ไป 201 2.7
ยังไม่แน่ใจ 921 12.5
ตารางที่ 3 ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ (ปาร์ตี้ลิสต์) ท่านตั้งใจจะไปเลือกพรรคใด
จำนวน ร้อยละ
ไทยรักไทย 2,493 40.1
ประชาธิปัตย์ 1,522 24.5
ชาติพัฒนา 279 4.5
ประชากรไทย 216 3.5
ถิ่นไทย 178 2.9
ความหวังใหม่ 133 2.1
ชาติไทย 127 2
ยังไม่ตัดสินใจ 1,268 20.4
ตารางที่ 4 ส.ส. แบบแบ่งเขต ท่านตั้งใจจะไปเลือกผู้สมัครพรรคใด
จำนวน ร้อยละ
ไทยรักไทย 2,338 37.6
ประชาธิปัตย์ 1,585 25.5
ชาติพัฒนา 242 3.9
ี ประชากรไทย 223 3.6
ถิ่นไทย 171 2.8
ชาติไทย 123 2
ความหวังใหม่ 115 1.9
ยังไม่ตัดสินใจ 1,419 22.8
ตารางที่ 5 ท่านต้องการให้ใครเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป
จำนวน ร้อยละ
พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร 3,203 44.9
นายชวน หลีกภัย 1,789 25.1
ดร.พิจิตต รัตตกุล 321 4.5
นายกร ทัพพะรังสี 299 4.2
พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ 134 1.9
นายบรรหาร ศิลปอาชา 121 1.7
ไม่มีความเห็น 1,270 17.8
ผลการสำรวจรายเขตเลือกตั้งของ กทม.
เขตเลือกตั้ง คะแนนนิยมอันดับ 1 และ 2 เขตเลือกตั้ง คะแนนนิยมอันดับ 1 และ 2
1.พระนคร ไทยรักไทย (40.0%) 2.ดุสิต ไทยรักไทย (23.2%)
เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ประชาธิปัตย์ (24.6%) ประชาธิปัตย์ (21.1%)
3.บางซื่อ ไทยรักไทย (32.5%) 4.พญาไท ไทยรักไทย (47.1%)
ราชเทวี (เฉพาะแขวงทุ่งพญาไท ประชาธิปัตย์ (27.8%)
และแขวงถนนพญาไท)
5.ปทุมวัน ไทยรักไทย (59.2%) 6.บางรัก ไทยรักไทย (45.9%)
ราชเทวี (ยกเว้นแขวงทุ่งพญาไท ประชาธิปัตย์ (12.4%) สัมพันธวงศ์ ประชาธิปัตย์ (32.1%)
และแขวงถนนพญาไท) สาทร (ยกเว้นแขวงทุ่งวัดดอน)
7.ยานนาวา ไทยรักไทย (35.4%) 8.บางคอแหลม ประชาธิปัตย์ (43.1%)
สาทร (เฉพาะแขวงทุ่งวัดดอน) ประชาธิปัตย์ (26.2%) ไทยรักไทย (33.8%)
9.คลองเตย ไทยรักไทย (38.5%) 10.ห้วยขวาง ไทยรักไทย (64.5%)
ประชาธิปัตย์ (27.2%) วัฒนา ประชาธิปัตย์ (19.5%)
(ยกเว้นแขวงพระโขนงเหนือ)
11.ดินแดง ไทยรักไทย (50.5%) 12.จตุจักร ไทยรักไทย (43.0%)
ประชาธิปัตย์ (20.1%) ประชาธิปัตย์ (13.0%)
13.หลักสี่ ไทยรักไทย (39.6%) 14.ดอนเมือง ไทยรักไทย (18.4%)
ประชาธิปัตย์ (27.8%) ประชาธิปัตย์ (9.7%)
15.สายไหม ไทยรักไทย (24.4%) 16.บางเขน ไทยรักไทย (38.1%)
ชาติพัฒนา (20.8%) ประชากรไทย (25.9%)
17.ลาดพร้าว ไทยรักไทย (35.1%) 18.วังทองหลาง ไทยรักไทย (53.1%)
ประชาธิปัตย์ (20.1%) ประชาธิปัตย์ (26.9%)
19.บางกะปิ ไทยรักไทย (32.5%) 20.บึงกุ่ม ประชาธิปัตย์ (43.4%)
ประชาธิปัตย์ (24.4%) ไทยรักไทย (40.4%)
21.คันนายาว ไทยรักไทย (32.5%) 22.สวนหลวง ไทยรักไทย (30.5%)
สะพานสูง ประชาธิปัตย์ (14.1%) ประเวศ ประชาธิปัตย์ (15.0%)
(เฉพาะแขวงประเวศ)
23.บางนา ไทยรักไทย (37.2%) 24.พระโขนง ไทยรักไทย (43.4%)
ประเวศ (ยกเว้นแขวงประเวศ)ประชาธิปัตย์ (25.6%) วัฒนา ประชาธิปัตย์ (15.7%)
(เฉพาะแขวงพระโขนงเหนือ)
25.หนองจอก ไทยรักไทย (43.4%) 26.มีนบุรี ประชาธิปัตย์ (52.4%)
ลาดกระบัง ประชาธิปัตย์ (16.3%) คลองสามวา ไทยรักไทย (33.0%)
27.ธนบุรี ไทยรักไทย (29.3%) 28.คลองสาน ไทยรักไทย (26.2%)
(ยกเว้นแขวงวัดกัลยาณ์ ประชาธิปัตย์ (24.7%) ธนบุรี ประชาธิปัตย์ (24.6%)
และแขวงหิรัญรูจี) (เฉพาะแขวงวัดกัลยาณ์ และแขวงหิรัญรูจี)
29.บางพลัด ไทยรักไทย (26.8%) 30.บางกอกน้อย ประชาธิปัตย์ (27.7%)
บางกอกน้อย ประชาธิปัตย์ (21.0%) (ยกเว้นแขวงอรุณอมรินทร์) ไทยรักไทย (26.7%)
(เฉพาะแขวงอรุณอมรินทร์)
31.ตลิ่งชัน ประชาธิปัตย์ (51.0%) 32.บางกอกใหญ่ ไทยรักไทย (33.0%)
ภาษีเจริญ (เฉพาะแขวงบางแวก, ไทยรักไทย (27.6%) ภาษีเจริญ (ยกเว้นแขวงบางแวก, ประชาธิปัตย์ (33.0%)
แขวงบางด้วน, และแขวงคลองขวาง) แขวงบางด้วน และแขวงคลองขวาง)
33.จอมทอง ประชาธิปัตย์ (56.3%) 34.ราษฎร์บูรณะ ไทยรักไทย (38.3%)
ไทยรักไทย (36.2%) ทุ่งครุ ประชาธิปัตย์ (28.1%)
35.บางขุนเทียน ไทยรักไทย (31.3%) 36.บางแค ไทยรักไทย (30.1%)
บางบอน ประชาธิปัตย์ (26.8%) (ยกเว้นแขวงหลักสอง) ประชาธิปัตย์ (24.5%)
37.ทวีวัฒนา ไทยรักไทย (35.1%)
หนองแขม บางแค ประชาธิปัตย์ (19.5%)
(เฉพาะแขวงหลักสอง)
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--