วัตถุประสงค์:
เพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครที่มีต่อการเลือกตั้ง ส.ว. รอบสอง
กลุ่มตัวอย่าง:
ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,197 คน
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
26 - 27 มีนาคม 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. กลุ่มตัวอย่างเป็น
เพศชายร้อยละ 58.4
และเพศหญิงร้อยละ 40.8
อายุระหว่าง
18-25 ปี ร้อยละ 27.2
26-35 ปี ร้อยละ 37.8
36-45 ปี ร้อยละ 23.0
และมากกว่า 45 ปี ร้อยละ10.6
ส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับปริญญาตรีและมัธยมศึกษา
อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน ร้อยละ 23.9
รับจ้างทั่วไป ร้อยละ 18.7
ค้าขาย ร้อยละ 13.8
รับราชการ ร้อยละ 12.2
เจ้าของกิจการและนักศึกษาจำนวนเท่ากัน คือ ร้อยละ 9.1
พนักงานรัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 7.4
และแม่บ้าน ร้อยละ 5.3
2. กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ (ร้อยละ 84.3) เห็นด้วยกับการตัดสินของ กกต. ที่ประกาศแขวนชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้ง ส.ว. ทั้ง 78 คน
มีเพียงร้อยละ 14.7 ที่ไม่เห็นด้วย
3. กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ (ร้อยละ 61.3) ไม่เห็นด้วยกับการให้ผู้ถูกแขวนชื่อกลับมามีสิทธิ์รับเลือกตั้ง ส.ว. ใหม่
ขณะที่มีผู้เห็นด้วยร้อยละ 38.3
4. เมื่อถามว่ามีความเห็นอย่างไรกับการเลือกตั้งซ่อม ส.ว. รอบสอง
กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นไปในเชิงบวกและลบในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน กล่าวคือ
กลุ่มที่มีความเห็นในเชิงบวกมองว่า
เป็นการช่วยแก้ปัญหาการทุจริตในการเลือกตั้ง (ร้อยละ 27.0)
และช่วยสกัดคนที่สังคมไม่ต้องการเข้านั่งในสภา (ร้อยละ 26.3)
ส่วนกลุ่มที่มีความเห็นในเชิงลบมองว่า
เป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณ (ร้อยละ 22.3)
สร้างความเบื่อหน่ายให้แก่ประชาชน (ร้อยละ 15.1)
และเสียเวลา (ร้อยละ 9.3)
5. ในกรณีที่จำเป็นต้องมีการเลือกตั้งซ่อม ส.ว.
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 46.8 คิดว่าจำนวนครั้งที่เหมาะสมไม่ควรเกิน 1 ครั้ง
และร้อยละ 38.2 คิดว่าไม่ควรเกิน 2ครั้ง
มีเพียงร้อยละ 8.2 ที่เห็นว่าควรเกิน 2 ครั้งได้
6. การที่ กกต. ประกาศให้มีการเลือกตั้งซ่อม ส.ว. ในวันเสาร์ที่ 29 เมษายน นี้
กลุ่มตัวอย่าง
ส่วนใหญ่(ร้อยละ 70.5) คิดว่าวันดังกล่าวมีความเหมาะสม
มีเพียงร้อยละ 28.8 ที่คิดว่าไม่เหมาะสม
โดยกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 70.9 ตอบว่า จะไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง
แต่ร้อยละ 28.4 จะไม่ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง
7. สำหรับคำถามที่ว่าผู้สมัคร ส.ว. ของกรุงเทพมหานครที่ถูกแขวนชื่อจะได้รับเลือกตั้งกลับเข้ามาอีกหรือไม่นั้น
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 50.9 คิดว่าผู้สมัครกลุ่มดังกล่าวจะไม่ได้รับเลือกกลับเข้ามาอีก
ในขณะที่ร้อยละ 46.4 คิดว่าจะได้รับเลือก
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
เพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครที่มีต่อการเลือกตั้ง ส.ว. รอบสอง
กลุ่มตัวอย่าง:
ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,197 คน
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
26 - 27 มีนาคม 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. กลุ่มตัวอย่างเป็น
เพศชายร้อยละ 58.4
และเพศหญิงร้อยละ 40.8
อายุระหว่าง
18-25 ปี ร้อยละ 27.2
26-35 ปี ร้อยละ 37.8
36-45 ปี ร้อยละ 23.0
และมากกว่า 45 ปี ร้อยละ10.6
ส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับปริญญาตรีและมัธยมศึกษา
อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน ร้อยละ 23.9
รับจ้างทั่วไป ร้อยละ 18.7
ค้าขาย ร้อยละ 13.8
รับราชการ ร้อยละ 12.2
เจ้าของกิจการและนักศึกษาจำนวนเท่ากัน คือ ร้อยละ 9.1
พนักงานรัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 7.4
และแม่บ้าน ร้อยละ 5.3
2. กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ (ร้อยละ 84.3) เห็นด้วยกับการตัดสินของ กกต. ที่ประกาศแขวนชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้ง ส.ว. ทั้ง 78 คน
มีเพียงร้อยละ 14.7 ที่ไม่เห็นด้วย
3. กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ (ร้อยละ 61.3) ไม่เห็นด้วยกับการให้ผู้ถูกแขวนชื่อกลับมามีสิทธิ์รับเลือกตั้ง ส.ว. ใหม่
ขณะที่มีผู้เห็นด้วยร้อยละ 38.3
4. เมื่อถามว่ามีความเห็นอย่างไรกับการเลือกตั้งซ่อม ส.ว. รอบสอง
กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นไปในเชิงบวกและลบในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน กล่าวคือ
กลุ่มที่มีความเห็นในเชิงบวกมองว่า
เป็นการช่วยแก้ปัญหาการทุจริตในการเลือกตั้ง (ร้อยละ 27.0)
และช่วยสกัดคนที่สังคมไม่ต้องการเข้านั่งในสภา (ร้อยละ 26.3)
ส่วนกลุ่มที่มีความเห็นในเชิงลบมองว่า
เป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณ (ร้อยละ 22.3)
สร้างความเบื่อหน่ายให้แก่ประชาชน (ร้อยละ 15.1)
และเสียเวลา (ร้อยละ 9.3)
5. ในกรณีที่จำเป็นต้องมีการเลือกตั้งซ่อม ส.ว.
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 46.8 คิดว่าจำนวนครั้งที่เหมาะสมไม่ควรเกิน 1 ครั้ง
และร้อยละ 38.2 คิดว่าไม่ควรเกิน 2ครั้ง
มีเพียงร้อยละ 8.2 ที่เห็นว่าควรเกิน 2 ครั้งได้
6. การที่ กกต. ประกาศให้มีการเลือกตั้งซ่อม ส.ว. ในวันเสาร์ที่ 29 เมษายน นี้
กลุ่มตัวอย่าง
ส่วนใหญ่(ร้อยละ 70.5) คิดว่าวันดังกล่าวมีความเหมาะสม
มีเพียงร้อยละ 28.8 ที่คิดว่าไม่เหมาะสม
โดยกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 70.9 ตอบว่า จะไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง
แต่ร้อยละ 28.4 จะไม่ไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง
7. สำหรับคำถามที่ว่าผู้สมัคร ส.ว. ของกรุงเทพมหานครที่ถูกแขวนชื่อจะได้รับเลือกตั้งกลับเข้ามาอีกหรือไม่นั้น
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 50.9 คิดว่าผู้สมัครกลุ่มดังกล่าวจะไม่ได้รับเลือกกลับเข้ามาอีก
ในขณะที่ร้อยละ 46.4 คิดว่าจะได้รับเลือก
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--