วัตถุประสงค์ของการสำรวจ :
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับบทบาท
ของพรรคการเมืองฝ่ายค้านในการตรวจสอบผลงานของรัฐบาล การสร้างศรัทธาต่อประชาชน และผู้ที่มีความเหมาะสมใน
การเป็นผู้นำพรรคการเมืองฝ่ายค้านในสถานการณ์ปัจจุบันระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครอง
ในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 35 เขต ดังนี้
คลองเตย คลองสาน สะพานสูง จตุจักร จอมทอง ดอนเมือง ดินแดง ดุสิต ธนบุรี บางกอกน้อย
บางกะปิ บางขุนเทียน บางเขน บางคอแหลม บางนา บางพลัด บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ ป้อมปราบฯ
พญาไท พระโขนง พระนคร ภาษีเจริญ มีนบุรี ยานนาวา ราชเทวี ลาดพร้าว วังทองหลาง วัฒนา สวนหลวง
สาทร หลักสี่ ห้วยขวาง
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้ตัวอย่าง
ทั้งสิ้นจำนวน 1,395 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ผู้นำพรรค
การเมืองฝ่ายค้านในสายตาประชาชน"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
28-29 มิถุนายน 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
29 มิถุนายน 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพ
มหานคร
เป็นชายร้อยละ 53.2 เป็นหญิงร้อยละ 46.8
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 73.0 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 27.0 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป
ประกอบ อาชีพ รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานบริษัทเอกชน เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย
นักศึกษา และแม่บ้าน เป็นต้น
2. เมื่อถามว่า พอใจกับการตรวจสอบผลงานรัฐบาลของพรรคฝ่ายค้านในปัจจุบันนี้หรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 29.8 ระบุว่าพอใจ
ร้อยละ 47.5 ระบุว่าไม่พอใจ
และร้อยละ 22.7 ไม่มีความเห็น
3. สำหรับคำถามว่า เห็นด้วยหรือไม่ว่าพรรคการเมืองฝ่ายค้านขาดผู้นำพรรคที่โดดเด่น
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 50.5 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 29.5 ระบุว่าไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 20.1 ไม่มีความเห็น
4. ประเด็นสำคัญที่กลุ่มตัวอย่างอยากแนะนำพรรคการเมืองฝ่ายค้าน ในการเรียกศรัทธาจากประชาชน
ร้อยละ 24.7 ระบุว่าต้องการให้แสดงวิสัยทัศน์ในการแก้ปัญหาประเทศ
ร้อยละ 23.1 ต้องการให้สนับสนุนรัฐบาลแก้ปัญหาต่าง ๆ
ร้อยละ 21.7 ต้องการให้พบปะและรับเรื่องราวร้องทุกข์จากประชาชน
ร้อยละ 15.3 ต้องการให้สร้างภาพลักษณ์ของพรรคให้โดดเด่น
และร้อยละ 14.5 ต้องการให้เปลี่ยนผู้นำพรรค
5. เมื่อถามว่า ใครเหมาะที่จะเป็นผู้นำพรรคการเมืองฝ่ายค้านมากที่สุดในสถานการณ์ปัจจุบัน
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 31.5 ระบุว่า นายชวน หลีกภัย
ร้อยละ 24.4 ระบุนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ร้อยละ 20.1 ระบุนายกร ทัพพะรังสี
ร้อยละ 10.5 ระบุนายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ
ร้อยละ 8.5 ระบุนายบัญญัติ บรรทัดฐาน
และร้อยละ 3.1 ระบุนายสุเทพ เทือกสุบรรณ
6. สำหรับคำถามว่า ในสถานการณ์ปัจจุบันนี้ ใครควรเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์มากที่สุด
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 39.9 ระบุว่านายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ร้อยละ 35.6 ระบุนายชวน หลีกภัย
ร้อยละ 11.3 ระบุนายบัญญัติ บรรทัดฐาน
ร้อยละ 5.9 ระบุนายศุภชัย พานิชภักดิ์
ร้อยละ 2.7 ระบุนายธารินทร์ นินมานเหมินทร์
ร้อยละ 2.4 ระบุนายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์
และร้อยละ 1.6 ระบุนายสุเทพ เทือกสุบรรณ
7. ส่วนเหตุผลที่สำคัญที่สุด ที่คิดว่า นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เหมาะสมที่จะเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์
เพราะเป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล กล้าคิด กล้าตัดสินใจ (ร้อยละ 62.6 )
มีความซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส (ร้อยละ 12.4 )
และเหตุผลสำคัญที่คิดว่านายชวน หลีกภัย ควรเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ต่อไป เพราะเป็นผู้ที่ซื่อสัตย์ สุจริต
โปร่งใส (ร้อยละ 31.0 )
ยอมรับในผลงานที่ผ่านมา (ร้อยละ 29.6 )
และเป็นผู้ที่มีความหนักแน่น อดทนต่อการกดดัน (ร้อยละ 21.1 )
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 742 53.2
หญิง 653 46.8
อายุ :
18 - 25 ปี 195 14
26 - 35 ปี 525 37.6
36 - 45 ปี 538 38.6
มากกว่า 45 ปี 137 9.8
การศึกษา :
ประถมศึกษา 109 7.8
มัธยมศึกษา 269 19.3
ปวช. 363 26
ปวส./อนุปริญญา 278 19.9
ปริญญาตรี 348 25
สูงกว่าปริญญาตรี 28 2
อาชีพ :
รับราชการ 85 6.1
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 102 7.3
พนักงานเอกชน 437 31.3
เจ้าของกิจการ 116 8.3
รับจ้างทั่วไป 186 13.3
ค้าขาย 187 13.4
นักศึกษา 133 9.5
แม่บ้าน 108 7.7
อาชีพอื่น ๆ 41 2.9
ตารางที่ 2 ท่านพอใจ การตรวจสอบผลงานรัฐบาลของพรรคฝ่ายค้านในปัจจุบันนี้หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
พอใจ 416 29.8
ไม่พอใจ 662 47.5
ไม่มีความเห็น 317 22.7
ตารางที่ 3 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ว่า พรรคการเมืองฝ่ายค้านขาดผู้นำพรรคที่โดดเด่น
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 704 50.5
ไม่เห็นด้วย 411 29.5
ไม่มีความเห็น 280 20.1
ตารางที่ 4 สิ่งที่อยากแนะนำพรรคการเมืองฝ่ายค้าน ในการเรียกศรัทธาจากประชาชน
จำนวน ร้อยละ
แสดงวิสัยทัศน์ในการแก้ปัญหาประเทศ 344 24.7
สนับสนุนรัฐบาลแก้ปัญหาต่าง ๆ 322 23.1
พบปะ รับเรื่องราวร้องทุกข์จากประชาชน 303 21.7
สร้างภาพลักษณ์ของพรรคให้โดดเด่น 214 15.3
เปลี่ยนผู้นำพรรค (หัวหน้าพรรค) 202 14.5
อื่น ๆ 10 0.7
ตารางที่ 5 ท่านคิดว่า ใครเหมาะที่จะเป็นผู้นำพรรคการเมืองฝ่ายค้านมากที่สุดในสถานการณ์ปัจจุบัน
จำนวน ร้อยละ
นายชวน หลีกภัย 439 31.5
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 340 24.4
นายกร ทัพพะรังสี 281 20.1
นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ 147 10.5
นายบัญญัติ บรรทัดฐาน 119 8.5
นายสุเทพ เทือกสุบรรณ 43 3.1
คนอื่น ๆ 26 1.9
ตารางที่ 6 ท่านคิดว่า ในสถานการณ์ปัจจุบันนี้ ใครควรเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์มากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 556 39.9
นายชวน หลีกภัย 497 35.6
นายบัญญัติ บรรทัดฐาน 158 11.3
นายศุภชัย พานิชภักดิ์ 83 5.9
นายธารินทร์ นินมานเหมินทร์ 37 2.7
นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ 33 2.4
นายสุเทพ เทือกสุบรรณ 22 1.6
คนอื่น ๆ 9 0.6
ตารางที่ 7 เหตุผลที่เลือก นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และนายชวน หลีกภัย เป็นหัวหน้าพรรค
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายชวน หลีกภัย
ยอมรับผลงานที่ผ่านมา 6.8 29.6
มีวิสัยทัศน์กว้างไกล กล้าคิด กล้าตัดสินใจ 62.6 3.2
มีความซื่อสัตย์ สุจริต 12.4 31
มีความหนักแน่น อดทนต่อการกดดัน 10.4 21.1
ยึดหลักการความถูกต้อง 5.4 14.9
เหตุผลอื่น ๆ 2.3 0.2
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับบทบาท
ของพรรคการเมืองฝ่ายค้านในการตรวจสอบผลงานของรัฐบาล การสร้างศรัทธาต่อประชาชน และผู้ที่มีความเหมาะสมใน
การเป็นผู้นำพรรคการเมืองฝ่ายค้านในสถานการณ์ปัจจุบันระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครอง
ในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 35 เขต ดังนี้
คลองเตย คลองสาน สะพานสูง จตุจักร จอมทอง ดอนเมือง ดินแดง ดุสิต ธนบุรี บางกอกน้อย
บางกะปิ บางขุนเทียน บางเขน บางคอแหลม บางนา บางพลัด บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ ป้อมปราบฯ
พญาไท พระโขนง พระนคร ภาษีเจริญ มีนบุรี ยานนาวา ราชเทวี ลาดพร้าว วังทองหลาง วัฒนา สวนหลวง
สาทร หลักสี่ ห้วยขวาง
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้ตัวอย่าง
ทั้งสิ้นจำนวน 1,395 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ผู้นำพรรค
การเมืองฝ่ายค้านในสายตาประชาชน"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
28-29 มิถุนายน 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
29 มิถุนายน 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพ
มหานคร
เป็นชายร้อยละ 53.2 เป็นหญิงร้อยละ 46.8
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 73.0 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 27.0 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป
ประกอบ อาชีพ รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานบริษัทเอกชน เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย
นักศึกษา และแม่บ้าน เป็นต้น
2. เมื่อถามว่า พอใจกับการตรวจสอบผลงานรัฐบาลของพรรคฝ่ายค้านในปัจจุบันนี้หรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 29.8 ระบุว่าพอใจ
ร้อยละ 47.5 ระบุว่าไม่พอใจ
และร้อยละ 22.7 ไม่มีความเห็น
3. สำหรับคำถามว่า เห็นด้วยหรือไม่ว่าพรรคการเมืองฝ่ายค้านขาดผู้นำพรรคที่โดดเด่น
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 50.5 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 29.5 ระบุว่าไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 20.1 ไม่มีความเห็น
4. ประเด็นสำคัญที่กลุ่มตัวอย่างอยากแนะนำพรรคการเมืองฝ่ายค้าน ในการเรียกศรัทธาจากประชาชน
ร้อยละ 24.7 ระบุว่าต้องการให้แสดงวิสัยทัศน์ในการแก้ปัญหาประเทศ
ร้อยละ 23.1 ต้องการให้สนับสนุนรัฐบาลแก้ปัญหาต่าง ๆ
ร้อยละ 21.7 ต้องการให้พบปะและรับเรื่องราวร้องทุกข์จากประชาชน
ร้อยละ 15.3 ต้องการให้สร้างภาพลักษณ์ของพรรคให้โดดเด่น
และร้อยละ 14.5 ต้องการให้เปลี่ยนผู้นำพรรค
5. เมื่อถามว่า ใครเหมาะที่จะเป็นผู้นำพรรคการเมืองฝ่ายค้านมากที่สุดในสถานการณ์ปัจจุบัน
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 31.5 ระบุว่า นายชวน หลีกภัย
ร้อยละ 24.4 ระบุนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ร้อยละ 20.1 ระบุนายกร ทัพพะรังสี
ร้อยละ 10.5 ระบุนายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ
ร้อยละ 8.5 ระบุนายบัญญัติ บรรทัดฐาน
และร้อยละ 3.1 ระบุนายสุเทพ เทือกสุบรรณ
6. สำหรับคำถามว่า ในสถานการณ์ปัจจุบันนี้ ใครควรเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์มากที่สุด
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 39.9 ระบุว่านายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ร้อยละ 35.6 ระบุนายชวน หลีกภัย
ร้อยละ 11.3 ระบุนายบัญญัติ บรรทัดฐาน
ร้อยละ 5.9 ระบุนายศุภชัย พานิชภักดิ์
ร้อยละ 2.7 ระบุนายธารินทร์ นินมานเหมินทร์
ร้อยละ 2.4 ระบุนายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์
และร้อยละ 1.6 ระบุนายสุเทพ เทือกสุบรรณ
7. ส่วนเหตุผลที่สำคัญที่สุด ที่คิดว่า นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เหมาะสมที่จะเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์
เพราะเป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล กล้าคิด กล้าตัดสินใจ (ร้อยละ 62.6 )
มีความซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส (ร้อยละ 12.4 )
และเหตุผลสำคัญที่คิดว่านายชวน หลีกภัย ควรเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ต่อไป เพราะเป็นผู้ที่ซื่อสัตย์ สุจริต
โปร่งใส (ร้อยละ 31.0 )
ยอมรับในผลงานที่ผ่านมา (ร้อยละ 29.6 )
และเป็นผู้ที่มีความหนักแน่น อดทนต่อการกดดัน (ร้อยละ 21.1 )
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 742 53.2
หญิง 653 46.8
อายุ :
18 - 25 ปี 195 14
26 - 35 ปี 525 37.6
36 - 45 ปี 538 38.6
มากกว่า 45 ปี 137 9.8
การศึกษา :
ประถมศึกษา 109 7.8
มัธยมศึกษา 269 19.3
ปวช. 363 26
ปวส./อนุปริญญา 278 19.9
ปริญญาตรี 348 25
สูงกว่าปริญญาตรี 28 2
อาชีพ :
รับราชการ 85 6.1
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 102 7.3
พนักงานเอกชน 437 31.3
เจ้าของกิจการ 116 8.3
รับจ้างทั่วไป 186 13.3
ค้าขาย 187 13.4
นักศึกษา 133 9.5
แม่บ้าน 108 7.7
อาชีพอื่น ๆ 41 2.9
ตารางที่ 2 ท่านพอใจ การตรวจสอบผลงานรัฐบาลของพรรคฝ่ายค้านในปัจจุบันนี้หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
พอใจ 416 29.8
ไม่พอใจ 662 47.5
ไม่มีความเห็น 317 22.7
ตารางที่ 3 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ว่า พรรคการเมืองฝ่ายค้านขาดผู้นำพรรคที่โดดเด่น
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 704 50.5
ไม่เห็นด้วย 411 29.5
ไม่มีความเห็น 280 20.1
ตารางที่ 4 สิ่งที่อยากแนะนำพรรคการเมืองฝ่ายค้าน ในการเรียกศรัทธาจากประชาชน
จำนวน ร้อยละ
แสดงวิสัยทัศน์ในการแก้ปัญหาประเทศ 344 24.7
สนับสนุนรัฐบาลแก้ปัญหาต่าง ๆ 322 23.1
พบปะ รับเรื่องราวร้องทุกข์จากประชาชน 303 21.7
สร้างภาพลักษณ์ของพรรคให้โดดเด่น 214 15.3
เปลี่ยนผู้นำพรรค (หัวหน้าพรรค) 202 14.5
อื่น ๆ 10 0.7
ตารางที่ 5 ท่านคิดว่า ใครเหมาะที่จะเป็นผู้นำพรรคการเมืองฝ่ายค้านมากที่สุดในสถานการณ์ปัจจุบัน
จำนวน ร้อยละ
นายชวน หลีกภัย 439 31.5
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 340 24.4
นายกร ทัพพะรังสี 281 20.1
นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ 147 10.5
นายบัญญัติ บรรทัดฐาน 119 8.5
นายสุเทพ เทือกสุบรรณ 43 3.1
คนอื่น ๆ 26 1.9
ตารางที่ 6 ท่านคิดว่า ในสถานการณ์ปัจจุบันนี้ ใครควรเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์มากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 556 39.9
นายชวน หลีกภัย 497 35.6
นายบัญญัติ บรรทัดฐาน 158 11.3
นายศุภชัย พานิชภักดิ์ 83 5.9
นายธารินทร์ นินมานเหมินทร์ 37 2.7
นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ 33 2.4
นายสุเทพ เทือกสุบรรณ 22 1.6
คนอื่น ๆ 9 0.6
ตารางที่ 7 เหตุผลที่เลือก นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และนายชวน หลีกภัย เป็นหัวหน้าพรรค
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายชวน หลีกภัย
ยอมรับผลงานที่ผ่านมา 6.8 29.6
มีวิสัยทัศน์กว้างไกล กล้าคิด กล้าตัดสินใจ 62.6 3.2
มีความซื่อสัตย์ สุจริต 12.4 31
มีความหนักแน่น อดทนต่อการกดดัน 10.4 21.1
ยึดหลักการความถูกต้อง 5.4 14.9
เหตุผลอื่น ๆ 2.3 0.2
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--