วัตถุประสงค์:
เพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่าง:
ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,268 คน
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
5 มีนาคม 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชายร้อยละ 53.1
เพศหญิงร้อยละ 45.8
อายุระหว่าง 18-25 ปี และ 26-35 ปี ร้อยละ 36.8
เท่ากัน 36-45 ปี ร้อยละ 15.4
และมากกว่า 45 ปี ร้อยละ 9.6
โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่(ร้อยละ 50.1) จบการศึกษาระดับปริญญาตรี
อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน ร้อยละ 26.7
2. เมื่อถามถึงความพอใจที่มีต่อการเลือกตั้ง ส.ว. กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็นในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
- การกำหนดให้พิมพ์ลายนิ้วมือบนบัตรเลือกตั้ง
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 49.1 พอใจ
และร้อยละ 39.2 พอใจอย่างยิ่ง
- วันเลือกตั้งที่กำหนดให้เป็นวันเสาร์
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 53.6 พอใจ
และร้อยละ 34.9 พอใจอย่างยิ่ง
- วิธีการเลือกตั้งที่กากบาทได้เบอร์เดียว
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 53.5 พอใจ
ร้อยละ 30.1 พอใจอย่างยิ่ง
และร้อยละ 13.6 ไม่พอใจ
- การให้แจ้งสาเหตุที่ไม่ไปเลือกตั้ง
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 54.6 พอใจ
ร้อยละ 26.8 พอใจอย่างยิ่ง
และร้อยละ 14.0 ไม่พอใจ
- การตัดสิทธิ์ผู้ที่ไม่ไปลงคะแนนเสียง
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 42.7 พอใจ
ร้อยละ 21.7 พอใจอย่างยิ่ง
ร้อยละ 25.9 ไม่พอใจ
และร้อยละ 7.8 ไม่พอใจอย่างยิ่ง
- ความรวดเร็วในการประกาศผลเลือกตั้ง
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 61.2 พอใจ
ร้อยละ 20.5 พอใจอย่างยิ่ง
และร้อยละ 14.2 ไม่พอใจ
- ความชัดเจนของขั้นตอนการเลือกตั้ง
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 57.6 พอใจ
ร้อยละ 15.2 พอใจอย่างยิ่ง
และร้อยละ 23.3 ไม่พอใจ
- ตัวบุคคลส่วนใหญ่ที่ได้รับเลือก
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 71.5 พอใจ
ร้อยละ 12.7 พอใจอย่างยิ่ง
และร้อยละ 12.0 ไม่พอใจ
- ความโปร่งใสในการเลือกตั้ง
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 39.8 พอใจ
ร้อยละ 35.0 ไม่พอใจ
ร้อยละ 16.6 ไม่พอใจอย่างยิ่ง
และร้อยละ 7.3 พอใจอย่างยิ่ง
3. ความเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อการที่ กกต. จัดให้มีการเลือกตั้ง ส.ว. ล่วงหน้านั้น
ร้อยละ 64.0 ตอบว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 22.9 ตอบว่าไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 13.1 ไม่ระบุ
4. กลุ่มตัวอย่างที่ เห็นด้วย กับการที่ กกต. จัดให้มีการเลือกตั้ง ส.ว. ล่วงหน้านั้น ให้เหตุผลดังนี้
ร้อยละ 44.1 เห็นว่าเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนที่ติดภารกิจ
ร้อยละ 38.0 เห็นว่าเป็นการให้โอกาสกับผู้ที่อยู่ต่างจังหวัดหรือต่างประเทศ
ร้อยละ 9.6 เห็นว่าควรให้มีการเลือกตั้ง ส.ว.ได้มากกว่า 1 วัน
และร้อยละ 8.3 ระบุเหตุผลของการเห็นด้วยทั้ง 3 ข้อ
5. กลุ่มตัวอย่างที่ ไม่เห็นด้วย กับการที่ กกต. จัดให้มีการเลือกตั้ง ส.ว. ล่วงหน้านั้น ให้เหตุผลดังนี้
ร้อยละ 66.0 เห็นว่าทำให้เกิดช่องทาง / โอกาสให้มีการทุจริตได้มากขึ้น
ร้อยละ 17.0 เห็นว่าเป็นการเปิดโอกาสให้มีการซื้อเสียงได้มากขึ้น
ร้อยละ 11.3 เห็นว่าผู้ที่ไปใช้สิทธิ์ไม่ได้ติดธุระจริง แต่จะไปเลือกตั้งก่อน
และร้อยละ 5.7 ระบุเหตุผลของการไม่เห็นด้วยทั้ง 3 ข้อ
6. เมื่อสอบถามกลุ่มตัวอย่างว่าในเขตเลือกตั้งที่กลุ่มตัวอย่างมีสิทธิ์เลือก ส.ว. นั้น มีการซื้อเสียงหรือไม่
ร้อยละ 35.7 ตอบว่ามีข่าวเพียงพูดกันแต่ยังไม่เห็นจริง
ร้อยละ 25.9 ตอบว่าไม่มีเลย
ร้อยละ 15.5 ตอบว่ามีคนมาติดต่อซื้อเสียงกับเพื่อนบ้าน/คนรู้จัก
ร้อยละ 4.3 ตอบว่ามีคนมาติดต่อซื้อเสียงกับตน
และร้อยละ 18.5 ไม่ระบุ
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
เพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่าง:
ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,268 คน
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
5 มีนาคม 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชายร้อยละ 53.1
เพศหญิงร้อยละ 45.8
อายุระหว่าง 18-25 ปี และ 26-35 ปี ร้อยละ 36.8
เท่ากัน 36-45 ปี ร้อยละ 15.4
และมากกว่า 45 ปี ร้อยละ 9.6
โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่(ร้อยละ 50.1) จบการศึกษาระดับปริญญาตรี
อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน ร้อยละ 26.7
2. เมื่อถามถึงความพอใจที่มีต่อการเลือกตั้ง ส.ว. กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็นในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
- การกำหนดให้พิมพ์ลายนิ้วมือบนบัตรเลือกตั้ง
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 49.1 พอใจ
และร้อยละ 39.2 พอใจอย่างยิ่ง
- วันเลือกตั้งที่กำหนดให้เป็นวันเสาร์
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 53.6 พอใจ
และร้อยละ 34.9 พอใจอย่างยิ่ง
- วิธีการเลือกตั้งที่กากบาทได้เบอร์เดียว
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 53.5 พอใจ
ร้อยละ 30.1 พอใจอย่างยิ่ง
และร้อยละ 13.6 ไม่พอใจ
- การให้แจ้งสาเหตุที่ไม่ไปเลือกตั้ง
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 54.6 พอใจ
ร้อยละ 26.8 พอใจอย่างยิ่ง
และร้อยละ 14.0 ไม่พอใจ
- การตัดสิทธิ์ผู้ที่ไม่ไปลงคะแนนเสียง
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 42.7 พอใจ
ร้อยละ 21.7 พอใจอย่างยิ่ง
ร้อยละ 25.9 ไม่พอใจ
และร้อยละ 7.8 ไม่พอใจอย่างยิ่ง
- ความรวดเร็วในการประกาศผลเลือกตั้ง
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 61.2 พอใจ
ร้อยละ 20.5 พอใจอย่างยิ่ง
และร้อยละ 14.2 ไม่พอใจ
- ความชัดเจนของขั้นตอนการเลือกตั้ง
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 57.6 พอใจ
ร้อยละ 15.2 พอใจอย่างยิ่ง
และร้อยละ 23.3 ไม่พอใจ
- ตัวบุคคลส่วนใหญ่ที่ได้รับเลือก
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 71.5 พอใจ
ร้อยละ 12.7 พอใจอย่างยิ่ง
และร้อยละ 12.0 ไม่พอใจ
- ความโปร่งใสในการเลือกตั้ง
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 39.8 พอใจ
ร้อยละ 35.0 ไม่พอใจ
ร้อยละ 16.6 ไม่พอใจอย่างยิ่ง
และร้อยละ 7.3 พอใจอย่างยิ่ง
3. ความเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อการที่ กกต. จัดให้มีการเลือกตั้ง ส.ว. ล่วงหน้านั้น
ร้อยละ 64.0 ตอบว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 22.9 ตอบว่าไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 13.1 ไม่ระบุ
4. กลุ่มตัวอย่างที่ เห็นด้วย กับการที่ กกต. จัดให้มีการเลือกตั้ง ส.ว. ล่วงหน้านั้น ให้เหตุผลดังนี้
ร้อยละ 44.1 เห็นว่าเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนที่ติดภารกิจ
ร้อยละ 38.0 เห็นว่าเป็นการให้โอกาสกับผู้ที่อยู่ต่างจังหวัดหรือต่างประเทศ
ร้อยละ 9.6 เห็นว่าควรให้มีการเลือกตั้ง ส.ว.ได้มากกว่า 1 วัน
และร้อยละ 8.3 ระบุเหตุผลของการเห็นด้วยทั้ง 3 ข้อ
5. กลุ่มตัวอย่างที่ ไม่เห็นด้วย กับการที่ กกต. จัดให้มีการเลือกตั้ง ส.ว. ล่วงหน้านั้น ให้เหตุผลดังนี้
ร้อยละ 66.0 เห็นว่าทำให้เกิดช่องทาง / โอกาสให้มีการทุจริตได้มากขึ้น
ร้อยละ 17.0 เห็นว่าเป็นการเปิดโอกาสให้มีการซื้อเสียงได้มากขึ้น
ร้อยละ 11.3 เห็นว่าผู้ที่ไปใช้สิทธิ์ไม่ได้ติดธุระจริง แต่จะไปเลือกตั้งก่อน
และร้อยละ 5.7 ระบุเหตุผลของการไม่เห็นด้วยทั้ง 3 ข้อ
6. เมื่อสอบถามกลุ่มตัวอย่างว่าในเขตเลือกตั้งที่กลุ่มตัวอย่างมีสิทธิ์เลือก ส.ว. นั้น มีการซื้อเสียงหรือไม่
ร้อยละ 35.7 ตอบว่ามีข่าวเพียงพูดกันแต่ยังไม่เห็นจริง
ร้อยละ 25.9 ตอบว่าไม่มีเลย
ร้อยละ 15.5 ตอบว่ามีคนมาติดต่อซื้อเสียงกับเพื่อนบ้าน/คนรู้จัก
ร้อยละ 4.3 ตอบว่ามีคนมาติดต่อซื้อเสียงกับตน
และร้อยละ 18.5 ไม่ระบุ
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--