กลุ่มตัวอย่าง:
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและมีสิทธิ์เลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีสุ่ม 2 ขั้นตอน (Two-stage sampling)โดยจัดชั้นภูมิเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร 50 เขต เป็นเขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก
ขั้นแรก สุ่มเขตปกครองในแต่ละชั้นภูมิที่จัดไว้ได้จำนวนเขตทั้งสิ้น 20 เขต คือ
ลาดกระบัง มีนบุรี บางเขน ดอนเมือง บึงกุ่ม ประเวศ บางนา วังทองหลาง ตุจักร บางซื่อ
ดินแดง คลองเตย ปทุมวัน ยานนาวา บางกอกใหญ่ จอมทอง หนองแขม บางขุนเทียน ตลิ่งชัน บางพลัด
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มประชากรเป้าหมายโดยกำหนดโควต้าตามกลุ่มอายุเพศ และอาชีพ ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 2,373 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างในเรื่อง คนกรุงจะเลือกใครเป็นผู้ว่า กทม.โดยแบบสอบถามประกอบด้วย
ส่วนที่ 1 ถามด้านข้อมูลประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง
ส่วนที่ 2 ถามความคิดเห็นในหัวข้อที่ทำการสำรวจ
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
9 - 12 มิถุนายน 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. กลุ่มตัวอย่างเป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร และมีสิทธิ์เลือกผู้ว่า กทม. มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป
เป็นเพศชายร้อยละ 47.9
เป็นเพศหญิงร้อยละ 52.1
มีการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรีร้อยละ 62.1
ปริญญาตรีหรือสูงกว่าปริญญาตรีร้อยละ 36.4
ประกอบอาชีพหลากหลาย เช่น
พนักงานบริษัทเอกชน
รับจ้างทั่วไป
ค้าขาย
รับราชการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
นักศึกษา
แม่บ้าน
2. กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 77.5 ทราบกำหนดวันที่จะมีการเลือกตั้งผู้ว่า กทม.
ร้อยละ 22.5 ยังไม่ทราบว่าจะมีการเลือกตั้งเมื่อใด
3. เมื่อสอบถามว่าจะไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งผู้ว่า กทม. หรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 83.8 ตั้งใจจะไปเลือกตั้ง
ร้อยละ 5.1 ไม่ไป
และร้อยละ 11.0 ยังไม่แน่ใจ
4. กลุ่มตัวอย่างทราบข่าวการหาเสียงของผู้สมัครผู้ว่า กทม.
มากที่สุดจากทางโทรทัศน์ ร้อยละ 63.0
รองลงมาจากป้ายหาเสียง ร้อยละ 23.2
หนังสือพิมพ์ ร้อยละ 8.7
และ วิทยุ ร้อยละ 3.3
5. นโยบายการหาเสียงของผู้สมัครที่กลุ่มตัวอย่างทราบข้อมูลมากที่สุดนั้น
ร้อยละ 37.0 เป็นของนางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์
ร้อยละ 19.3 ของนายธวัชชัย สัจจกุล
ร้อยละ 18.4 ของนายสมัคร สุนทรเวช
ร้อยละ 17.4 ของนางปวีณา หงสกุล
6. สำหรับผู้สมัครที่มีพรรคการเมือง ชมรม หรือดาราหนุนหลัง จะมีผลต่อการได้รับเลือกเป็นผู้ว่า กทม. หรือไม่นั้น
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 37.5 เชื่อว่ามีผลมาก
ร้อยละ 29.9 เชื่อว่ามีผลน้อย
และร้อยละ 29.7 เชื่อว่าไม่มีผลเลย
7. เมื่อถามถึงจะเลือกใครเป็นผู้ว่า กทม. คนต่อไป ผลปรากฎว่า
เป็นนายสมัคร สุนทรเวช ร้อยละ 35.7
นางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์ ร้อยละ 19.6
นายธวัชชัย สัจจกุล ร้อยละ 18.4
นางปวีณา หงสกุล ร้อยละ 16.9
พ.อ.วินัย สมพงษ์ ร้อยละ 1.9
และคุณหญิงกัลยา โสภณพนิช ร้อยละ 1.3
8. จากความเห็นของกลุ่มตัวอย่างในการเลือกผู้ว่า กทม. คนต่อไปนั้น เมื่อจำแนกตามกลุ่มอายุจะเห็นได้ว่า
กลุ่มตัวอย่างอายุระหว่าง 18-35 ปี
ร้อยละ 30.9 เลือกนายสมัคร สุนทรเวช
ร้อยละ 22.4 เลือกนายธวัชชัย สัจจกุล
ร้อยละ 19.4 เลือกนางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์
ร้อยละ 18.6 เลือก นางปวีณา หงสกุล
กลุ่มตัวอย่างอายุ 35 ปีขึ้นไป
ร้อยละ 41.3 เลือกนายสมัคร สุนทรเวช
ร้อยละ 19.8 เลือกนางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์
ร้อยละ 15.0 เลือกนางปวีณา หงสกุล
ร้อยละ 13.4 เลือกนายธวัชชัย สัจจกุล
9. เหตุผลที่สำคัญที่กลุ่มตัวอย่างเลือกผู้สมัครดังกล่าว
ร้อยละ 21.0 ยอมรับผลงานที่ผ่านมา
ร้อยละ 20.7 เห็นความตั้งใจที่จะเข้ามาแก้ปัญหาต่าง ๆ ของ กทม.
ร้อยละ 13.0 ศรัทธาในตัวผู้สมัคร
ร้อยละ 12.1 ผู้สมัครมีแนวความคิดดี
ร้อยละ 10.4 เห็นว่ามีนโยบายที่ดี
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและมีสิทธิ์เลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีสุ่ม 2 ขั้นตอน (Two-stage sampling)โดยจัดชั้นภูมิเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร 50 เขต เป็นเขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก
ขั้นแรก สุ่มเขตปกครองในแต่ละชั้นภูมิที่จัดไว้ได้จำนวนเขตทั้งสิ้น 20 เขต คือ
ลาดกระบัง มีนบุรี บางเขน ดอนเมือง บึงกุ่ม ประเวศ บางนา วังทองหลาง ตุจักร บางซื่อ
ดินแดง คลองเตย ปทุมวัน ยานนาวา บางกอกใหญ่ จอมทอง หนองแขม บางขุนเทียน ตลิ่งชัน บางพลัด
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มประชากรเป้าหมายโดยกำหนดโควต้าตามกลุ่มอายุเพศ และอาชีพ ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 2,373 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างในเรื่อง คนกรุงจะเลือกใครเป็นผู้ว่า กทม.โดยแบบสอบถามประกอบด้วย
ส่วนที่ 1 ถามด้านข้อมูลประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง
ส่วนที่ 2 ถามความคิดเห็นในหัวข้อที่ทำการสำรวจ
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
9 - 12 มิถุนายน 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. กลุ่มตัวอย่างเป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร และมีสิทธิ์เลือกผู้ว่า กทม. มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป
เป็นเพศชายร้อยละ 47.9
เป็นเพศหญิงร้อยละ 52.1
มีการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรีร้อยละ 62.1
ปริญญาตรีหรือสูงกว่าปริญญาตรีร้อยละ 36.4
ประกอบอาชีพหลากหลาย เช่น
พนักงานบริษัทเอกชน
รับจ้างทั่วไป
ค้าขาย
รับราชการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
นักศึกษา
แม่บ้าน
2. กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 77.5 ทราบกำหนดวันที่จะมีการเลือกตั้งผู้ว่า กทม.
ร้อยละ 22.5 ยังไม่ทราบว่าจะมีการเลือกตั้งเมื่อใด
3. เมื่อสอบถามว่าจะไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งผู้ว่า กทม. หรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 83.8 ตั้งใจจะไปเลือกตั้ง
ร้อยละ 5.1 ไม่ไป
และร้อยละ 11.0 ยังไม่แน่ใจ
4. กลุ่มตัวอย่างทราบข่าวการหาเสียงของผู้สมัครผู้ว่า กทม.
มากที่สุดจากทางโทรทัศน์ ร้อยละ 63.0
รองลงมาจากป้ายหาเสียง ร้อยละ 23.2
หนังสือพิมพ์ ร้อยละ 8.7
และ วิทยุ ร้อยละ 3.3
5. นโยบายการหาเสียงของผู้สมัครที่กลุ่มตัวอย่างทราบข้อมูลมากที่สุดนั้น
ร้อยละ 37.0 เป็นของนางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์
ร้อยละ 19.3 ของนายธวัชชัย สัจจกุล
ร้อยละ 18.4 ของนายสมัคร สุนทรเวช
ร้อยละ 17.4 ของนางปวีณา หงสกุล
6. สำหรับผู้สมัครที่มีพรรคการเมือง ชมรม หรือดาราหนุนหลัง จะมีผลต่อการได้รับเลือกเป็นผู้ว่า กทม. หรือไม่นั้น
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 37.5 เชื่อว่ามีผลมาก
ร้อยละ 29.9 เชื่อว่ามีผลน้อย
และร้อยละ 29.7 เชื่อว่าไม่มีผลเลย
7. เมื่อถามถึงจะเลือกใครเป็นผู้ว่า กทม. คนต่อไป ผลปรากฎว่า
เป็นนายสมัคร สุนทรเวช ร้อยละ 35.7
นางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์ ร้อยละ 19.6
นายธวัชชัย สัจจกุล ร้อยละ 18.4
นางปวีณา หงสกุล ร้อยละ 16.9
พ.อ.วินัย สมพงษ์ ร้อยละ 1.9
และคุณหญิงกัลยา โสภณพนิช ร้อยละ 1.3
8. จากความเห็นของกลุ่มตัวอย่างในการเลือกผู้ว่า กทม. คนต่อไปนั้น เมื่อจำแนกตามกลุ่มอายุจะเห็นได้ว่า
กลุ่มตัวอย่างอายุระหว่าง 18-35 ปี
ร้อยละ 30.9 เลือกนายสมัคร สุนทรเวช
ร้อยละ 22.4 เลือกนายธวัชชัย สัจจกุล
ร้อยละ 19.4 เลือกนางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์
ร้อยละ 18.6 เลือก นางปวีณา หงสกุล
กลุ่มตัวอย่างอายุ 35 ปีขึ้นไป
ร้อยละ 41.3 เลือกนายสมัคร สุนทรเวช
ร้อยละ 19.8 เลือกนางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์
ร้อยละ 15.0 เลือกนางปวีณา หงสกุล
ร้อยละ 13.4 เลือกนายธวัชชัย สัจจกุล
9. เหตุผลที่สำคัญที่กลุ่มตัวอย่างเลือกผู้สมัครดังกล่าว
ร้อยละ 21.0 ยอมรับผลงานที่ผ่านมา
ร้อยละ 20.7 เห็นความตั้งใจที่จะเข้ามาแก้ปัญหาต่าง ๆ ของ กทม.
ร้อยละ 13.0 ศรัทธาในตัวผู้สมัคร
ร้อยละ 12.1 ผู้สมัครมีแนวความคิดดี
ร้อยละ 10.4 เห็นว่ามีนโยบายที่ดี
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--