วัตถุประสงค์ของการสำรวจ :
การสำรวจครั้งนี้ ต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชน เกี่ยวกับการอภิปราย นโยบายรัฐบาลทักษิณที่แถลง
ต่อรัฐสภาว่า ประชาชนคาดหวังอยากเห็นการอภิปรายแบบใด และความเชื่อมั่นในบทบาทผู้นำรัฐบาลของ พ.ต.ท.ดร.
ทักษิณ ชินวัตร ตลอดจนความเชื่อมั่น ในการตรวจสอบรัฐบาลของพรรคฝ่ายค้านว่ามีมากน้อยเพียงใด
วิธีสำรวจ :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
การสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้น สุ่มเขตปกครอง
ฃในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 30 เขต ดังนี้
พญาไท ปทุมวัน บางกะปิ สะพานสูง หลักสี่ บางเขน พระโขนง คลองเตย สาทร ยานนาวา บึงกุ่ม คันนายาว
บางนา ประเวศ ทวีวัฒนา บางแค มีนบุรี จตุจักร ห้วยขวาง บางกอกใหญ่ คลองสาน ธนบุรี ดอนเมือง ลาดพร้าว สัมพันธวงค์
พระนคร ทุ่งครุ บางบอน หนองจอก บางพลัด
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามเพศ กลุ่ม อายุและอาชีพ ได้ตัวอย่างทั้ง
สิ้นจำนวน 1,200 คน
ความคลาดเคลื่อน :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน + 3 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "การอภิปราย
นโยบายรัฐบาลและความเชื่อมั่นต่อนายกรัฐมนตรี"
ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นในหัวข้อที่สำรวจ
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
25 กุมภาพันธ์ 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
26 กุมภาพันธ์ 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามมีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขต
กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,200 คน
เป็นชายร้อยละ 48.3 เป็นหญิงร้อยละ 51.7
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 64.0 เป็น
ผู้มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ที่เหลือร้อยละ 35.4
มีการศึกษาตั้งแต่ระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพหลากหลาย เช่น รับราชการ (ร้อยละ 8.3) พนักงาน
รัฐวิสาหกิจ (ร้อยละ 5.9)
พนักงานบริษัทเอกชน (ร้อยละ 25.8) เจ้าของกิจการ (ร้อยละ 7.3)
รับจ้างทั่วไป (ร้อยละ 11.7) ค้าขาย (ร้อยละ 14.1) นักศึกษา (ร้อยละ 16.0)
แม่บ้าน (ร้อยละ7.5) เป็นต้น
2. เมื่อสอบถามถึงลักษณะการอภิปรายซักถามนโยบายของรัฐบาลที่กลุ่มตัวอย่างอยากเห็นมากที่สุด
ร้อยละ 42.2 ระบุว่า อยากให้อภิปรายตรงประเด็น ไม่นอกเรื่อง
ร้อยละ 27.6 อยากให้รัฐบาลใจกว้าง เปิดโอกาสให้ซักถามได้ทุกเรื่อง
ร้อยละ 15.3 อยากให้ฝ่ายค้านอภิปรายได้เต็มที่
ร้อยละ 6.5 ให้ใช้ถ้อยคำที่สุภาพ
และร้อยละ 5.6 ไม่อยากให้จำกัดเวลาในการอภิปราย
3. สำหรับลักษณะการอภิปรายที่กลุ่มตัวอย่างไม่อยากเห็นนั้น
ร้อยละ 32.4 ไม่อยากให้อภิปรายเรื่องส่วนตัว
ร้อยละ 24.3 ไม่อยากให้มีการประท้วงพร่ำเพรื่อ
ร้อยละ 20.4 ไม่อยากให้พูดเสียดสี
ร้อยละ 10.7 ไม่อยากให้พูดด้วยอารมณ์
และร้อยละ 9.2 ไม่อยากให้แสดงกิริยาที่ไม่เหมาะสม
4. ความมั่นใจที่กลุ่มตัวอย่างมีต่อ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ในบทบาทผู้นำรัฐบาลในปัจจุบัน
ร้อยละ 49.3 ระบุว่ามีความมั่นใจมาก
ร้อยละ 40.9 มีความมั่นใจน้อย
และร้อยละ 9.8 ไม่มีความเห็น
5. สำหรับความมั่นใจต่อพรรคฝ่ายค้านในการตรวจสอบรัฐบาล กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 44.1 มีความมั่นใจน้อย
ขณะที่ร้อยละ 43.5 มีความมั่นใจมาก
และร้อยละ 12.4 ไม่มีความเห็น
6. เมื่อถามถึงความมั่นใจในความซื่อสัตย์ สุจริตของรัฐบาลทักษิณ
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 51.2 มีความมั่นใจน้อย
ขณะที่ร้อยละ 30.8 มีความมั่นใจมาก
และร้อยละ 18.0 ไม่มีความเห็น
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 580 48.3
หญิง 620 51.7
อายุ :
18 - 25 290 24.2
26 - 35 330 27.5
36 - 45 396 33
มากกว่า 45 ปี 184 15.3
การศึกษา :
ประถมศึกษา 156 13
มัธยมศึกษา 249 20.8
ปวช. 211 17.6
ปวส./อนุปริญญา 151 12.6
ปริญญาตรีหรือสูงกว่าปริญญาตรี 425 35.4
ไม่ระบุ 8 0.7
อาชีพ :
รับราชการ 100 8.3
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 71 5.9
พนักงานเอกชน 309 25.8
เจ้าของกิจการ 87 7.3
รับจ้างทั่วไป 140 11.7
ค้าขาย 169 14.1
นักศึกษา 192 16
แม่บ้าน 90 7.5
อาชีพอื่น ๆ 42 3.5
ตารางที่ 2 ลักษณะการอภิปรายที่ท่านอยากเห็นมากที่สุดในการซักถามนโยบายของรัฐบาลคือ
จำนวน ร้อยละ
อภิปรายให้ตรงประเด็น ไม่นอกเรื่อง 506 42.2
รัฐบาลใจกว้าง ให้โอกาสซักถามได้ทุกเรื่อง 331 27.6
ให้ฝ่ายค้านอภิปรายได้เต็มที่ 184 15.3
ใช้ถ้อยคำที่สุภาพ 78 6.5
ไม่จำกัดเวลาในการอภิปราย 67 5.6
อื่น ๆ 34 2.9
ตารางที่ 3 ลักษณะการอภิปรายที่ท่านไม่อยากเห็นในการซักถามนโยบายรัฐบาลคือ
จำนวน ร้อยละ
อภิปรายเรื่องส่วนตัว 389 32.4
มีการประท้วงพร่ำเพรื่อ 291 24.3
พูดเสียดสี 245 20.4
พูดด้วยอารมณ์ 128 10.7
แสดงกิริยาที่ไม่เหมาะสม 110 9.2
อื่น ๆ 37 3.1
ตารางที่ 4 ในปัจจุบันนี้ ท่านมั่นใจในบทบาทผู้นำรัฐบาลของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร มากน้อยเพียงใด
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจมาก 592 49.3
มั่นใจน้อย 491 40.9
ไม่มีความคิดเห็น 117 9.8
ตารางที่ 5 ท่านมั่นใจในการตรวจสอบรัฐบาลของพรรคฝ่ายค้านมากน้อยเพียงใด
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจมาก 522 43.5
มั่นใจน้อย 529 44.1
ไม่มีความคิดเห็น 149 12.4
ตารางที่ 6 ท่านมั่นใจในความสื่อสัตย์สุจริต ของรัฐบาลทักษิณ มากน้อยเพียงใด
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจมาก 370 30.8
มั่นใจน้อย 614 51.2
ไม่มีความคิดเห็น 216 18
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจครั้งนี้ ต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชน เกี่ยวกับการอภิปราย นโยบายรัฐบาลทักษิณที่แถลง
ต่อรัฐสภาว่า ประชาชนคาดหวังอยากเห็นการอภิปรายแบบใด และความเชื่อมั่นในบทบาทผู้นำรัฐบาลของ พ.ต.ท.ดร.
ทักษิณ ชินวัตร ตลอดจนความเชื่อมั่น ในการตรวจสอบรัฐบาลของพรรคฝ่ายค้านว่ามีมากน้อยเพียงใด
วิธีสำรวจ :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
การสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้น สุ่มเขตปกครอง
ฃในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 30 เขต ดังนี้
พญาไท ปทุมวัน บางกะปิ สะพานสูง หลักสี่ บางเขน พระโขนง คลองเตย สาทร ยานนาวา บึงกุ่ม คันนายาว
บางนา ประเวศ ทวีวัฒนา บางแค มีนบุรี จตุจักร ห้วยขวาง บางกอกใหญ่ คลองสาน ธนบุรี ดอนเมือง ลาดพร้าว สัมพันธวงค์
พระนคร ทุ่งครุ บางบอน หนองจอก บางพลัด
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามเพศ กลุ่ม อายุและอาชีพ ได้ตัวอย่างทั้ง
สิ้นจำนวน 1,200 คน
ความคลาดเคลื่อน :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน + 3 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "การอภิปราย
นโยบายรัฐบาลและความเชื่อมั่นต่อนายกรัฐมนตรี"
ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นในหัวข้อที่สำรวจ
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
25 กุมภาพันธ์ 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
26 กุมภาพันธ์ 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามมีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขต
กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,200 คน
เป็นชายร้อยละ 48.3 เป็นหญิงร้อยละ 51.7
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 64.0 เป็น
ผู้มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ที่เหลือร้อยละ 35.4
มีการศึกษาตั้งแต่ระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพหลากหลาย เช่น รับราชการ (ร้อยละ 8.3) พนักงาน
รัฐวิสาหกิจ (ร้อยละ 5.9)
พนักงานบริษัทเอกชน (ร้อยละ 25.8) เจ้าของกิจการ (ร้อยละ 7.3)
รับจ้างทั่วไป (ร้อยละ 11.7) ค้าขาย (ร้อยละ 14.1) นักศึกษา (ร้อยละ 16.0)
แม่บ้าน (ร้อยละ7.5) เป็นต้น
2. เมื่อสอบถามถึงลักษณะการอภิปรายซักถามนโยบายของรัฐบาลที่กลุ่มตัวอย่างอยากเห็นมากที่สุด
ร้อยละ 42.2 ระบุว่า อยากให้อภิปรายตรงประเด็น ไม่นอกเรื่อง
ร้อยละ 27.6 อยากให้รัฐบาลใจกว้าง เปิดโอกาสให้ซักถามได้ทุกเรื่อง
ร้อยละ 15.3 อยากให้ฝ่ายค้านอภิปรายได้เต็มที่
ร้อยละ 6.5 ให้ใช้ถ้อยคำที่สุภาพ
และร้อยละ 5.6 ไม่อยากให้จำกัดเวลาในการอภิปราย
3. สำหรับลักษณะการอภิปรายที่กลุ่มตัวอย่างไม่อยากเห็นนั้น
ร้อยละ 32.4 ไม่อยากให้อภิปรายเรื่องส่วนตัว
ร้อยละ 24.3 ไม่อยากให้มีการประท้วงพร่ำเพรื่อ
ร้อยละ 20.4 ไม่อยากให้พูดเสียดสี
ร้อยละ 10.7 ไม่อยากให้พูดด้วยอารมณ์
และร้อยละ 9.2 ไม่อยากให้แสดงกิริยาที่ไม่เหมาะสม
4. ความมั่นใจที่กลุ่มตัวอย่างมีต่อ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ในบทบาทผู้นำรัฐบาลในปัจจุบัน
ร้อยละ 49.3 ระบุว่ามีความมั่นใจมาก
ร้อยละ 40.9 มีความมั่นใจน้อย
และร้อยละ 9.8 ไม่มีความเห็น
5. สำหรับความมั่นใจต่อพรรคฝ่ายค้านในการตรวจสอบรัฐบาล กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 44.1 มีความมั่นใจน้อย
ขณะที่ร้อยละ 43.5 มีความมั่นใจมาก
และร้อยละ 12.4 ไม่มีความเห็น
6. เมื่อถามถึงความมั่นใจในความซื่อสัตย์ สุจริตของรัฐบาลทักษิณ
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 51.2 มีความมั่นใจน้อย
ขณะที่ร้อยละ 30.8 มีความมั่นใจมาก
และร้อยละ 18.0 ไม่มีความเห็น
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 580 48.3
หญิง 620 51.7
อายุ :
18 - 25 290 24.2
26 - 35 330 27.5
36 - 45 396 33
มากกว่า 45 ปี 184 15.3
การศึกษา :
ประถมศึกษา 156 13
มัธยมศึกษา 249 20.8
ปวช. 211 17.6
ปวส./อนุปริญญา 151 12.6
ปริญญาตรีหรือสูงกว่าปริญญาตรี 425 35.4
ไม่ระบุ 8 0.7
อาชีพ :
รับราชการ 100 8.3
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 71 5.9
พนักงานเอกชน 309 25.8
เจ้าของกิจการ 87 7.3
รับจ้างทั่วไป 140 11.7
ค้าขาย 169 14.1
นักศึกษา 192 16
แม่บ้าน 90 7.5
อาชีพอื่น ๆ 42 3.5
ตารางที่ 2 ลักษณะการอภิปรายที่ท่านอยากเห็นมากที่สุดในการซักถามนโยบายของรัฐบาลคือ
จำนวน ร้อยละ
อภิปรายให้ตรงประเด็น ไม่นอกเรื่อง 506 42.2
รัฐบาลใจกว้าง ให้โอกาสซักถามได้ทุกเรื่อง 331 27.6
ให้ฝ่ายค้านอภิปรายได้เต็มที่ 184 15.3
ใช้ถ้อยคำที่สุภาพ 78 6.5
ไม่จำกัดเวลาในการอภิปราย 67 5.6
อื่น ๆ 34 2.9
ตารางที่ 3 ลักษณะการอภิปรายที่ท่านไม่อยากเห็นในการซักถามนโยบายรัฐบาลคือ
จำนวน ร้อยละ
อภิปรายเรื่องส่วนตัว 389 32.4
มีการประท้วงพร่ำเพรื่อ 291 24.3
พูดเสียดสี 245 20.4
พูดด้วยอารมณ์ 128 10.7
แสดงกิริยาที่ไม่เหมาะสม 110 9.2
อื่น ๆ 37 3.1
ตารางที่ 4 ในปัจจุบันนี้ ท่านมั่นใจในบทบาทผู้นำรัฐบาลของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร มากน้อยเพียงใด
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจมาก 592 49.3
มั่นใจน้อย 491 40.9
ไม่มีความคิดเห็น 117 9.8
ตารางที่ 5 ท่านมั่นใจในการตรวจสอบรัฐบาลของพรรคฝ่ายค้านมากน้อยเพียงใด
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจมาก 522 43.5
มั่นใจน้อย 529 44.1
ไม่มีความคิดเห็น 149 12.4
ตารางที่ 6 ท่านมั่นใจในความสื่อสัตย์สุจริต ของรัฐบาลทักษิณ มากน้อยเพียงใด
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจมาก 370 30.8
มั่นใจน้อย 614 51.2
ไม่มีความคิดเห็น 216 18
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--