แท็ก
กรุงเทพโพลล์
วัตถุประสงค์ของการสำรวจ :
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับมาตร
การต่าง ๆ ในการประหยัดพลังงาน ความร่วมมือของประชาชน ตลอดจนการเข้มงวดของรัฐบาล
เกี่ยวกับการประหยัดพลังงานอย่างจริงจัง
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครอง ของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครองใน
แต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 34 เขต ดังนี้
คลองเตย คลองสาน คลองสามวา คันนายาว ตลิ่งชัน ทวีวัฒนา บางกอกใหญ่ บางกะปิ บางขุนเทียน
บางคอแหลม บางซื่อ บางนา บางบอน บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ พญาไท พระโขนง พระนคร มีนบุรี
ยานนาวา ราชเทวี ราษฎร์บูรณะ ลาดกระบัง ลาดพร้าว วังทองหลาง วัฒนา สะพานสูง สาทร สายไหม
หนองแขม หนองจอก หลักสี่
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้ตัวอย่างทั้ง
สิ้นจำนวน 1,357 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ประชาชนคิด
อย่างไรกับมาตรการประหยัดพลังงาน"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
27 - 28 กันยายน 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
29 กันยายน 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป
อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,357 คน เป็นชายร้อยละ 51.1 เป็นหญิงร้อยละ 48.9
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 21.1 มีอายุระหว่าง 18 - 25 ปี
ร้อยละ 33.5 มีอายุระหว่าง 26 - 35 ปี
ร้อยละ 35.7 มีอายุระหว่าง 36 - 45 ปี
และร้อยละ 9.6 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
สำหรับระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 64.3 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 35.0 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพ รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัทเอกชน เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย นักศึกษา และแม่บ้าน
2. เมื่อถามว่า เห็นด้วยหรือไม่ว่า รัฐบาลควรมีมาตรการการเข้มงวดเรื่องประหยัดพลังงานอย่างจริงจัง
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 81.9 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 4.9 ไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 13.2 ไม่มีความเห็น
3. สำหรับความร่วมมือในการประหยัดพลังงานนั้น
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 92.1 ระบุว่าจะให้ความร่วมมือ
ร้อยละ 2.0 ไม่ให้ความร่วมมือ
และร้อยละ 5.9 ไม่มีความเห็น
4. ส่วนคำถามว่าในฐานะประชาชนคนไทย ได้มีส่วนร่วมในการประหยัดพลังงานด้านใดบ้าง
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 77.0 ระบุว่าประหยัดไฟฟ้า
ร้อยละ 50.8 ประหยัดน้ำมันเชื่อเพลิง
ร้อยละ 46.5 ประหยัดน้ำ
และร้อยละ 23.5 ประหยัดก๊าซหุงต้ม
5. เมื่อสอบถามว่าเห็นด้วยหรือไม่ กับมาตรการต่างๆ ในประหยัดพลังงาน กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็นดังนี้
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความเห็น
- การขับรถยนต์ความเร็วไม่เกิน 90 กม./ชม. 59.4% 21.7% 18.9%
- การปิดไฟป้ายโฆษณาและไฟส่องอาคารหลังเวลา 24.00 น. 50.5% 34.0% 15.5%
- การปิดไฟถนนที่ไม่มีรถคับคั่งตลอดสาย
และเปิดไฟถนนเฉพาะทางแยก 23.7% 60.4% 15.9%
- ห้างสรรพสินค้าที่เปิดให้บริการ 24 ชม.
ให้ปิดบริการ 22.00 - 05.00 น. 61.4% 24.3% 14.3%
- การปิดปั๊มน้ำมันหลังเวลา 24.00 น. 49.2% 37.7% 13.1%
- การตั้งอุณภูมิในห้องปรับอากาศที่ 25 - 26 องศาเซลเซียส 69.1% 13.9% 17.0%
6. สำหรับความเห็น ต่อการที่รัฐมนตรีสวมเสื้อเชิ้ตผูกเนกไท โดยไม่ใส่สูทเวลาประชุมคณะรัฐมนตรีนั้น
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 44.7 ระบุว่าเป็นการแต่งกายเหมาะสมกับสภาพอากาศของประเทศไทย
ร้อยละ 39.5เป็นตัวอย่างที่ดีในการประหยัดพลังงาน
ร้อยละ 35.4 เป็นการจูงใจให้ประชาชนและส่วนราชการร่วมประหยัดพลังงาน
และร้อยละ 27.7 แสดงให้เห็นถึงการเอาจริงเอาจังในการแก้ปัญหาการใช้พลังงานเกินความจำเป็น
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 694 51.1
หญิง 663 48.9
อายุ :
18 - 25 ปี 287 21.1
26 - 35 ปี 455 33.5
36 - 45 ปี 485 35.7
มากกว่า 45 ปี 130 9.6
การศึกษา :
ประถมศึกษา 88 6.5
มัธยมศึกษา 236 17.4
ปวช. 302 22.3
ปวส./อนุปริญญา 246 18.1
ปริญญาตรี 398 29.3
สูงกว่าปริญญาตรี 78 5.7
ไม่ระบุ 9 0.7
อาชีพ :
รับราชการ 86 6.3
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 97 7.1
พนักงานเอกชน 499 36.8
เจ้าของกิจการ 53 3.9
รับจ้างทั่วไป 164 12.1
ค้าขาย 165 12.2
นักศึกษา 128 9.4
แม่บ้าน 115 8.5
อาชีพอื่น ๆ 46 3.4
ไม่ระบุ 4 0.3
ตารางที่ 2 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ว่า รัฐบาลควรมีมาตรการเข้มงวดเรื่องประหยัดพลังงานอย่างจริงจัง
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 1,112 81.9
ไม่เห็นด้วย 66 4.9
ไม่มีความเห็น 179 13.2
ตารางที่ 3 ท่านคิดว่าจะให้ความร่วมมือในการประหยัดพลังงานหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ให้ความร่วมมือ 1,250 92.1
ไม่ให้ความร่วมมือ 27 2
ไม่มีความเห็น 80 5.9
ตารางที่ 4 ในฐานะประชาชนคนไทย ท่านได้มีส่วนร่วมในการประหยัดพลังงานด้านใดบ้าง
ร้อยละ
ประหยัดไฟฟ้า 77
ประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง 50.8
ประหยัดน้ำ 46.5
ประหยัดก๊าซหุงต้ม 23.5
อื่น ๆ 1.8
ตารางที่ 5 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ กับมาตรการประหยัดพลังงานในเรื่องต่อไปนี้
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความเห็น
การขับรถยนต์ความเร็วไม่เกิน 90 กม./ชม. 59.4 21.7 18.9
การปิดไฟป้ายโฆษณาและไฟส่องอาคารหลังเวลา 24.00 น. 50.5 34 15.5
การปิดไฟถนนที่ไม่มีรถคับคั่งตลอดสายและเปิดไฟถนนเฉพาะทางแยก 23.7 60.4 15.9
ห้างสรรพสินค้าที่เปิดให้บริการ 24 ชม. ให้ปิดบริการ 22.00 - 05.00 น. 61.4 24.3 14.3
การปิดปั๊มน้ำมันหลังเวลา 24.00 น. 49.2 37.7 13.1
การตั้งอุณภูมิในห้องปรับอากาศที่ 25 - 26 องศาเซลเซียส 69.1 13.9 17
ตารางที่ 6 ท่านมีความเห็นอย่างไร ต่อการที่รัฐมนตรีสวมเสื้อเชิ้ตผูกเนกไท โดยไม่ใส่สูทเวลาประชุมคณะรัฐมนตรี
ร้อยละ
เป็นการแต่งกายเหมาะสมกับสภาพอากาศของประเทศไทย 44.7
เป็นตัวอย่างที่ดีในการประหยัดพลังงาน 39.5
เป็นการจูงใจให้ประชาชนและส่วนราชการร่วมประหยัดพลังงาน 35.4
แสดงให้เห็นถึงการเอาจริงเอาจังในการแก้ไขปัญหาการใช้พลังงานเกินความจำเป็นงาน 27.7
อื่น ๆ 2.8
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับมาตร
การต่าง ๆ ในการประหยัดพลังงาน ความร่วมมือของประชาชน ตลอดจนการเข้มงวดของรัฐบาล
เกี่ยวกับการประหยัดพลังงานอย่างจริงจัง
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครอง ของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครองใน
แต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 34 เขต ดังนี้
คลองเตย คลองสาน คลองสามวา คันนายาว ตลิ่งชัน ทวีวัฒนา บางกอกใหญ่ บางกะปิ บางขุนเทียน
บางคอแหลม บางซื่อ บางนา บางบอน บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ พญาไท พระโขนง พระนคร มีนบุรี
ยานนาวา ราชเทวี ราษฎร์บูรณะ ลาดกระบัง ลาดพร้าว วังทองหลาง วัฒนา สะพานสูง สาทร สายไหม
หนองแขม หนองจอก หลักสี่
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้ตัวอย่างทั้ง
สิ้นจำนวน 1,357 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ประชาชนคิด
อย่างไรกับมาตรการประหยัดพลังงาน"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
27 - 28 กันยายน 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
29 กันยายน 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป
อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,357 คน เป็นชายร้อยละ 51.1 เป็นหญิงร้อยละ 48.9
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 21.1 มีอายุระหว่าง 18 - 25 ปี
ร้อยละ 33.5 มีอายุระหว่าง 26 - 35 ปี
ร้อยละ 35.7 มีอายุระหว่าง 36 - 45 ปี
และร้อยละ 9.6 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
สำหรับระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 64.3 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 35.0 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพ รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัทเอกชน เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย นักศึกษา และแม่บ้าน
2. เมื่อถามว่า เห็นด้วยหรือไม่ว่า รัฐบาลควรมีมาตรการการเข้มงวดเรื่องประหยัดพลังงานอย่างจริงจัง
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 81.9 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 4.9 ไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 13.2 ไม่มีความเห็น
3. สำหรับความร่วมมือในการประหยัดพลังงานนั้น
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 92.1 ระบุว่าจะให้ความร่วมมือ
ร้อยละ 2.0 ไม่ให้ความร่วมมือ
และร้อยละ 5.9 ไม่มีความเห็น
4. ส่วนคำถามว่าในฐานะประชาชนคนไทย ได้มีส่วนร่วมในการประหยัดพลังงานด้านใดบ้าง
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 77.0 ระบุว่าประหยัดไฟฟ้า
ร้อยละ 50.8 ประหยัดน้ำมันเชื่อเพลิง
ร้อยละ 46.5 ประหยัดน้ำ
และร้อยละ 23.5 ประหยัดก๊าซหุงต้ม
5. เมื่อสอบถามว่าเห็นด้วยหรือไม่ กับมาตรการต่างๆ ในประหยัดพลังงาน กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็นดังนี้
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความเห็น
- การขับรถยนต์ความเร็วไม่เกิน 90 กม./ชม. 59.4% 21.7% 18.9%
- การปิดไฟป้ายโฆษณาและไฟส่องอาคารหลังเวลา 24.00 น. 50.5% 34.0% 15.5%
- การปิดไฟถนนที่ไม่มีรถคับคั่งตลอดสาย
และเปิดไฟถนนเฉพาะทางแยก 23.7% 60.4% 15.9%
- ห้างสรรพสินค้าที่เปิดให้บริการ 24 ชม.
ให้ปิดบริการ 22.00 - 05.00 น. 61.4% 24.3% 14.3%
- การปิดปั๊มน้ำมันหลังเวลา 24.00 น. 49.2% 37.7% 13.1%
- การตั้งอุณภูมิในห้องปรับอากาศที่ 25 - 26 องศาเซลเซียส 69.1% 13.9% 17.0%
6. สำหรับความเห็น ต่อการที่รัฐมนตรีสวมเสื้อเชิ้ตผูกเนกไท โดยไม่ใส่สูทเวลาประชุมคณะรัฐมนตรีนั้น
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 44.7 ระบุว่าเป็นการแต่งกายเหมาะสมกับสภาพอากาศของประเทศไทย
ร้อยละ 39.5เป็นตัวอย่างที่ดีในการประหยัดพลังงาน
ร้อยละ 35.4 เป็นการจูงใจให้ประชาชนและส่วนราชการร่วมประหยัดพลังงาน
และร้อยละ 27.7 แสดงให้เห็นถึงการเอาจริงเอาจังในการแก้ปัญหาการใช้พลังงานเกินความจำเป็น
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 694 51.1
หญิง 663 48.9
อายุ :
18 - 25 ปี 287 21.1
26 - 35 ปี 455 33.5
36 - 45 ปี 485 35.7
มากกว่า 45 ปี 130 9.6
การศึกษา :
ประถมศึกษา 88 6.5
มัธยมศึกษา 236 17.4
ปวช. 302 22.3
ปวส./อนุปริญญา 246 18.1
ปริญญาตรี 398 29.3
สูงกว่าปริญญาตรี 78 5.7
ไม่ระบุ 9 0.7
อาชีพ :
รับราชการ 86 6.3
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 97 7.1
พนักงานเอกชน 499 36.8
เจ้าของกิจการ 53 3.9
รับจ้างทั่วไป 164 12.1
ค้าขาย 165 12.2
นักศึกษา 128 9.4
แม่บ้าน 115 8.5
อาชีพอื่น ๆ 46 3.4
ไม่ระบุ 4 0.3
ตารางที่ 2 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ว่า รัฐบาลควรมีมาตรการเข้มงวดเรื่องประหยัดพลังงานอย่างจริงจัง
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 1,112 81.9
ไม่เห็นด้วย 66 4.9
ไม่มีความเห็น 179 13.2
ตารางที่ 3 ท่านคิดว่าจะให้ความร่วมมือในการประหยัดพลังงานหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ให้ความร่วมมือ 1,250 92.1
ไม่ให้ความร่วมมือ 27 2
ไม่มีความเห็น 80 5.9
ตารางที่ 4 ในฐานะประชาชนคนไทย ท่านได้มีส่วนร่วมในการประหยัดพลังงานด้านใดบ้าง
ร้อยละ
ประหยัดไฟฟ้า 77
ประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง 50.8
ประหยัดน้ำ 46.5
ประหยัดก๊าซหุงต้ม 23.5
อื่น ๆ 1.8
ตารางที่ 5 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ กับมาตรการประหยัดพลังงานในเรื่องต่อไปนี้
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความเห็น
การขับรถยนต์ความเร็วไม่เกิน 90 กม./ชม. 59.4 21.7 18.9
การปิดไฟป้ายโฆษณาและไฟส่องอาคารหลังเวลา 24.00 น. 50.5 34 15.5
การปิดไฟถนนที่ไม่มีรถคับคั่งตลอดสายและเปิดไฟถนนเฉพาะทางแยก 23.7 60.4 15.9
ห้างสรรพสินค้าที่เปิดให้บริการ 24 ชม. ให้ปิดบริการ 22.00 - 05.00 น. 61.4 24.3 14.3
การปิดปั๊มน้ำมันหลังเวลา 24.00 น. 49.2 37.7 13.1
การตั้งอุณภูมิในห้องปรับอากาศที่ 25 - 26 องศาเซลเซียส 69.1 13.9 17
ตารางที่ 6 ท่านมีความเห็นอย่างไร ต่อการที่รัฐมนตรีสวมเสื้อเชิ้ตผูกเนกไท โดยไม่ใส่สูทเวลาประชุมคณะรัฐมนตรี
ร้อยละ
เป็นการแต่งกายเหมาะสมกับสภาพอากาศของประเทศไทย 44.7
เป็นตัวอย่างที่ดีในการประหยัดพลังงาน 39.5
เป็นการจูงใจให้ประชาชนและส่วนราชการร่วมประหยัดพลังงาน 35.4
แสดงให้เห็นถึงการเอาจริงเอาจังในการแก้ไขปัญหาการใช้พลังงานเกินความจำเป็นงาน 27.7
อื่น ๆ 2.8
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--