วัตถุประสงค์ของการสำรวจ :
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับการ
ก่อวินาศกรรมประเทศอเมริกา ในประเด็นการทราบข่าวการก่อวินาศกรรม การโจมตีตอบโต้ผู้ก่อการร้าย ผลกระทบ
จากเหตุการณ์ต่อประเทศไทย และความต้องการที่จะให้รัฐบาลไทยดำเนินการเร่งด่วนจากบทเรียนการก่อวินาศกรรม
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก สุ่มเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร จำนวน 33 เขต ดังนี้
คลองเตย คลองสาน คันนายาว จตุจักร ดินแดง ดุสิต ธนบุรี บางกอกน้อย บางกอกใหญ่ บางกะปิ
บางเขน บางคอแหลม บางซื่อ บางนา บางพลัด บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ ป้อมปราบฯ พญาไท
พระโขนง พระนคร ยานนาวา ราชเทวี ลาดพร้าว วังทองหลาง วัฒนา สวนหลวง สัมพันธวงศ์ สาทร หลักสี่
ห้วยขวาง
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้ตัวอย่าง
ทั้งสิ้นจำนวน 1,297 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ประชาชนคิด
อย่างไรกับการก่อวินาศกรรมที่ประเทศสหรัฐอเมริกา"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
12-13 กันยายน 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
13 กันยายน 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป
อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,297 คน
เป็นชายร้อยละ 51.6 เป็นหญิงร้อยละ 48.4
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 72.0 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 27.9 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไปประกอบอาชีพ รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัทเอกชน เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย นักศึกษา และแม่บ้าน เป็นต้น
2. เมื่อสอบถามว่าทราบข่าวเกี่ยวกับการก่อวินาศกรรมที่นครนิวยอร์ค และวอชิงตัน ดี ซี ประเทศสหรัฐอเมริ
กาหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 98.8 ระบุว่าทราบข่าว
มีเพียงร้อยละ 1.2 ที่ไม่ทราบข่าว
3. สำหรับคำถามว่าสหรัฐอเมริกาจะโจมตีตอบโต้ผู้ก่อการร้ายหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 52.9 ระบุว่าโจมตีแน่นอน
ร้อยละ 18.1 ระบุว่าไม่โจมตี
และร้อยละ 29.0 ไม่มีความเห็น
4. ส่วนคำถามว่า ฉนวนเหตุของการก่อวินาศกรรมครั้งนี้ มีโอกาสทำให้เกิดสงครามโลกขึ้นหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างที่เห็นว่าน่าจะเกิดสงครามโลก และไม่น่าจะเกิดสงครามใกล้เคียงกัน กล่าวคือ
ร้อยละ 42.4 ระบุว่ามีโอกาสทำให้เกิดสงคราม
ร้อยละ 41.9 ระบุว่าไม่น่าจะเกิดสงคราม
และร้อยละ 15.7 ไม่มีความเห็น
5. เมื่อถามว่า สิ่งที่รัฐบาลไทยควรทำต่อกรณีการก่อวินาศกรรมครั้งนี้อย่างไร
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 65.8 ระบุว่าควรแสดงความเสียใจต่อรัฐบาลสหรัฐอเมริกา
ร้อยละ 35.2 ระบุว่าควรประณามผู้ก่อการร้าย
ร้อยละ 29.8 ระบุว่าควรวางตัวเป็นกลาง
และร้อยละ 16.4 ระบุว่าควรสนับสนุนสหรัฐอเมริกาโต้ตอบผู้ก่อการร้าย
6. สำหรับคำถามว่า ประเทศไทยจะได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ก่อวินาศกรรมครั้งนี้ด้านใดบ้าง
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 78.6 ระบุว่ามีผลด้านเศรษฐกิจ
ร้อยละ 69.2 ระบุว่าราคาน้ำมันจะแพงขึ้น
ร้อยละ 35.1 ระบุว่ากระทบการลงทุน
ร้อยละ 30.5 ระบุว่ากระทบการท่องเที่ยว
มีเพียงร้อยละ 2.5 ที่ระบุว่าไม่มีผลกระทบใด ๆ
7. เมื่อถามว่าการก่อวินาศกรรมคล้ายกับที่เกิดในสหรัฐอเมริกา มีโอกาสจะเกิดขึ้นในประเทศอื่นอีกหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 56.4 ระบุว่ามีโอกาสเกิดขึ้นได้
ร้อยละ 33.8 ระบุว่าไม่น่าจะเกิดขึ้น
และร้อยละ 9.7 ไม่มีความเห็น
8. สำหรับคำถามว่า การก่อวินาศกรรมครั้งนี้ อยากให้รัฐบาลไทยดำเนินการเร่งด่วนในด้านใดบ้าง
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 63.8 ระบุว่าให้เข้มงวดคนต่างด้าวเข้าเมือง
ร้อยละ 49.3 ระบุว่าการข่าวกรองต้องมีประสิทธิภาพ
ร้อยละ 47.6 ระบุว่าให้รักษาความปลอดภัยในสถานที่สำคัญ
และร้อยละ 30.2 ระบุว่าควรรับมือกับการก่อวินาศกรรม
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 669 51.6
หญิง 628 48.4
อายุ :
18 - 25 ปี 201 15.5
26 - 35 ปี 459 35.4
36 - 45 ปี 505 38.9
มากกว่า 45 ปี 132 10.2
การศึกษา :
ประถมศึกษา 54 4.2
มัธยมศึกษา 216 16.7
ปวช. 364 28.1
ปวส./อนุปริญญา 298 23
ปริญญาตรี 318 24.5
สูงกว่าปริญญาตรี 44 3.4
ไม่ระบุ 3 0.2
อาชีพ :
รับราชการ 68 5.2
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 80 6.2
พนักงานเอกชน 481 37.1
เจ้าของกิจการ 100 7.7
รับจ้างทั่วไป 132 10.2
ค้าขาย 180 13.9
นักศึกษา 126 9.7
แม่บ้าน 101 7.8
อาชีพอื่น ๆ 29 2.2
ตารางที่ 2 ท่านทราบข่าวเกี่ยวกับการก่อวินาศกรรมที่นครนิวยอร์ค และวอชิงตัน ดี ซี หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ทราบข่าว 1,282 98.8
ไม่ทราบข่าว 15 1.2
ตารางที่ 3 ท่านคิดว่าสหรัฐอเมริกาจะโจมตีตอบโต้ผู้ก่อการร้ายหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
โจมตีแน่นอน 686 52.9
ไม่โจมตี 235 18.1
ไม่มีความเห็น 376 29
ตารางที่ 4 ท่านคิดว่าฉนวนเหตุของการก่อวินาศกรรมครั้งนี้ มีโอกาสทำให้เกิดสงครามโลกขึ้นหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มีโอกาสทำให้เกิดสงคราม 550 42.4
ไม่น่าจะเกิดสงคราม 543 41.9
ไม่มีความเห็น 204 15.7
ตารางที่ 5 ท่านคิดว่าสิ่งที่รัฐบาลไทยควรทำต่อกรณีการก่อวินาศกรรมครั้งนี้อย่างไร
ร้อยละ
แสดงความเสียใจต่อรัฐบาลสหรัฐอเมริกา 65.8
ประณามผู้ก่อการร้าย 35.2
วางตัวเป็นกลาง 29.8
สนับสนุนสหรัฐอเมริกาโต้ตอบผู้ก่อการร้าย 16.4
อื่น ๆ 0.3
ตารางที่ 6 ท่านคิดว่าประเทศไทยจะได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ก่อวินาศกรรมครั้งนี้ด้านใดบ้าง
ร้อยละ
ด้านเศรษฐกิจ 78.6
ราคาน้ำมันจะแพงขึ้น 69.2
ด้านการลงทุน 35.1
ด้านการท่องเที่ยว 30.5
ไม่มีผลกระทบใด ๆ 2.5
อื่น ๆ 1.2
ตารางที่ 7 ท่านคิดว่าการก่อวินาศกรรมคล้ายกับที่เกิดในสหรัฐอเมริกา มีโอกาสจะเกิดขึ้นในประเทศอื่นอีก
หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มีโอกาสเกิดขึ้นได้ 732 56.4
ไม่น่าจะเกิดขึ้นอีก 439 33.8
ไม่มีความเห็น 126 9.7
ตารางที่ 8 บทเรียนจากการก่อวินาศกรรมครั้งนี้ ท่านอยากให้รัฐบาลไทยดำเนินการเร่งด่วนในด้านใดบ้าง
ร้อยละ
การเข้มงวดคนต่างด้าวเข้าเมือง 63.8
การข่าวกรองต้องมีประสิทธิภาพ 49.3
การรักษาความปลอดภัยในสถานที่สำคัญ 47.6
การรับมือกับการก่อวินาศกรรม 30.2
อื่น ๆ 1.7
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับการ
ก่อวินาศกรรมประเทศอเมริกา ในประเด็นการทราบข่าวการก่อวินาศกรรม การโจมตีตอบโต้ผู้ก่อการร้าย ผลกระทบ
จากเหตุการณ์ต่อประเทศไทย และความต้องการที่จะให้รัฐบาลไทยดำเนินการเร่งด่วนจากบทเรียนการก่อวินาศกรรม
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก สุ่มเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร จำนวน 33 เขต ดังนี้
คลองเตย คลองสาน คันนายาว จตุจักร ดินแดง ดุสิต ธนบุรี บางกอกน้อย บางกอกใหญ่ บางกะปิ
บางเขน บางคอแหลม บางซื่อ บางนา บางพลัด บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ ป้อมปราบฯ พญาไท
พระโขนง พระนคร ยานนาวา ราชเทวี ลาดพร้าว วังทองหลาง วัฒนา สวนหลวง สัมพันธวงศ์ สาทร หลักสี่
ห้วยขวาง
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้ตัวอย่าง
ทั้งสิ้นจำนวน 1,297 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ประชาชนคิด
อย่างไรกับการก่อวินาศกรรมที่ประเทศสหรัฐอเมริกา"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
12-13 กันยายน 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
13 กันยายน 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป
อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,297 คน
เป็นชายร้อยละ 51.6 เป็นหญิงร้อยละ 48.4
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 72.0 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 27.9 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไปประกอบอาชีพ รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัทเอกชน เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย นักศึกษา และแม่บ้าน เป็นต้น
2. เมื่อสอบถามว่าทราบข่าวเกี่ยวกับการก่อวินาศกรรมที่นครนิวยอร์ค และวอชิงตัน ดี ซี ประเทศสหรัฐอเมริ
กาหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 98.8 ระบุว่าทราบข่าว
มีเพียงร้อยละ 1.2 ที่ไม่ทราบข่าว
3. สำหรับคำถามว่าสหรัฐอเมริกาจะโจมตีตอบโต้ผู้ก่อการร้ายหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 52.9 ระบุว่าโจมตีแน่นอน
ร้อยละ 18.1 ระบุว่าไม่โจมตี
และร้อยละ 29.0 ไม่มีความเห็น
4. ส่วนคำถามว่า ฉนวนเหตุของการก่อวินาศกรรมครั้งนี้ มีโอกาสทำให้เกิดสงครามโลกขึ้นหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างที่เห็นว่าน่าจะเกิดสงครามโลก และไม่น่าจะเกิดสงครามใกล้เคียงกัน กล่าวคือ
ร้อยละ 42.4 ระบุว่ามีโอกาสทำให้เกิดสงคราม
ร้อยละ 41.9 ระบุว่าไม่น่าจะเกิดสงคราม
และร้อยละ 15.7 ไม่มีความเห็น
5. เมื่อถามว่า สิ่งที่รัฐบาลไทยควรทำต่อกรณีการก่อวินาศกรรมครั้งนี้อย่างไร
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 65.8 ระบุว่าควรแสดงความเสียใจต่อรัฐบาลสหรัฐอเมริกา
ร้อยละ 35.2 ระบุว่าควรประณามผู้ก่อการร้าย
ร้อยละ 29.8 ระบุว่าควรวางตัวเป็นกลาง
และร้อยละ 16.4 ระบุว่าควรสนับสนุนสหรัฐอเมริกาโต้ตอบผู้ก่อการร้าย
6. สำหรับคำถามว่า ประเทศไทยจะได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ก่อวินาศกรรมครั้งนี้ด้านใดบ้าง
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 78.6 ระบุว่ามีผลด้านเศรษฐกิจ
ร้อยละ 69.2 ระบุว่าราคาน้ำมันจะแพงขึ้น
ร้อยละ 35.1 ระบุว่ากระทบการลงทุน
ร้อยละ 30.5 ระบุว่ากระทบการท่องเที่ยว
มีเพียงร้อยละ 2.5 ที่ระบุว่าไม่มีผลกระทบใด ๆ
7. เมื่อถามว่าการก่อวินาศกรรมคล้ายกับที่เกิดในสหรัฐอเมริกา มีโอกาสจะเกิดขึ้นในประเทศอื่นอีกหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 56.4 ระบุว่ามีโอกาสเกิดขึ้นได้
ร้อยละ 33.8 ระบุว่าไม่น่าจะเกิดขึ้น
และร้อยละ 9.7 ไม่มีความเห็น
8. สำหรับคำถามว่า การก่อวินาศกรรมครั้งนี้ อยากให้รัฐบาลไทยดำเนินการเร่งด่วนในด้านใดบ้าง
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 63.8 ระบุว่าให้เข้มงวดคนต่างด้าวเข้าเมือง
ร้อยละ 49.3 ระบุว่าการข่าวกรองต้องมีประสิทธิภาพ
ร้อยละ 47.6 ระบุว่าให้รักษาความปลอดภัยในสถานที่สำคัญ
และร้อยละ 30.2 ระบุว่าควรรับมือกับการก่อวินาศกรรม
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 669 51.6
หญิง 628 48.4
อายุ :
18 - 25 ปี 201 15.5
26 - 35 ปี 459 35.4
36 - 45 ปี 505 38.9
มากกว่า 45 ปี 132 10.2
การศึกษา :
ประถมศึกษา 54 4.2
มัธยมศึกษา 216 16.7
ปวช. 364 28.1
ปวส./อนุปริญญา 298 23
ปริญญาตรี 318 24.5
สูงกว่าปริญญาตรี 44 3.4
ไม่ระบุ 3 0.2
อาชีพ :
รับราชการ 68 5.2
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 80 6.2
พนักงานเอกชน 481 37.1
เจ้าของกิจการ 100 7.7
รับจ้างทั่วไป 132 10.2
ค้าขาย 180 13.9
นักศึกษา 126 9.7
แม่บ้าน 101 7.8
อาชีพอื่น ๆ 29 2.2
ตารางที่ 2 ท่านทราบข่าวเกี่ยวกับการก่อวินาศกรรมที่นครนิวยอร์ค และวอชิงตัน ดี ซี หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ทราบข่าว 1,282 98.8
ไม่ทราบข่าว 15 1.2
ตารางที่ 3 ท่านคิดว่าสหรัฐอเมริกาจะโจมตีตอบโต้ผู้ก่อการร้ายหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
โจมตีแน่นอน 686 52.9
ไม่โจมตี 235 18.1
ไม่มีความเห็น 376 29
ตารางที่ 4 ท่านคิดว่าฉนวนเหตุของการก่อวินาศกรรมครั้งนี้ มีโอกาสทำให้เกิดสงครามโลกขึ้นหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มีโอกาสทำให้เกิดสงคราม 550 42.4
ไม่น่าจะเกิดสงคราม 543 41.9
ไม่มีความเห็น 204 15.7
ตารางที่ 5 ท่านคิดว่าสิ่งที่รัฐบาลไทยควรทำต่อกรณีการก่อวินาศกรรมครั้งนี้อย่างไร
ร้อยละ
แสดงความเสียใจต่อรัฐบาลสหรัฐอเมริกา 65.8
ประณามผู้ก่อการร้าย 35.2
วางตัวเป็นกลาง 29.8
สนับสนุนสหรัฐอเมริกาโต้ตอบผู้ก่อการร้าย 16.4
อื่น ๆ 0.3
ตารางที่ 6 ท่านคิดว่าประเทศไทยจะได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ก่อวินาศกรรมครั้งนี้ด้านใดบ้าง
ร้อยละ
ด้านเศรษฐกิจ 78.6
ราคาน้ำมันจะแพงขึ้น 69.2
ด้านการลงทุน 35.1
ด้านการท่องเที่ยว 30.5
ไม่มีผลกระทบใด ๆ 2.5
อื่น ๆ 1.2
ตารางที่ 7 ท่านคิดว่าการก่อวินาศกรรมคล้ายกับที่เกิดในสหรัฐอเมริกา มีโอกาสจะเกิดขึ้นในประเทศอื่นอีก
หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มีโอกาสเกิดขึ้นได้ 732 56.4
ไม่น่าจะเกิดขึ้นอีก 439 33.8
ไม่มีความเห็น 126 9.7
ตารางที่ 8 บทเรียนจากการก่อวินาศกรรมครั้งนี้ ท่านอยากให้รัฐบาลไทยดำเนินการเร่งด่วนในด้านใดบ้าง
ร้อยละ
การเข้มงวดคนต่างด้าวเข้าเมือง 63.8
การข่าวกรองต้องมีประสิทธิภาพ 49.3
การรักษาความปลอดภัยในสถานที่สำคัญ 47.6
การรับมือกับการก่อวินาศกรรม 30.2
อื่น ๆ 1.7
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--