กลุ่มตัวอย่าง:
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตที่สุ่มได้ และมีสิทธิ์ลงคะแนน
เลือกตั้งในเขตนั้น
การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling)โดยแบ่งกรุงเทพมหานครออกเป็น
37 เขตเลือกตั้ง ในแต่ละเขตจะสุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัยโดยวิธีสุ่มแบบเป็นระบบ (Systematic Sampling) ได้
จำนวนทั้งหมด 2,124 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชาชนเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง
“ ความคาดหวังของคนกรุงต่อการจัดตั้งรัฐบาล ”
ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นในหัวข้อที่สำรวจ
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
3 - 5 มกราคม 2544
สรุปผลการสำรวจ
1. การสำรวจความเห็นครั้งนี้ ใช้วิธีสำรวจภาคสนาม โดยสอบถามกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป
เป็นชายร้อยละ 47.3
เป็นหญิงร้อยละ 52.7
เมื่อจำแนกตามกลุ่มอายุ
พบว่าเป็นผู้ที่มีอายุ 18 - 25 ปี ร้อยละ 18.7
อายุ 26 - 35 ปี ร้อยละ 27.4
อายุ 36 - 45 ปี ร้อยละ 35.1
อายุมากกว่า 45 ปีขึ้นไปร้อยละ 18.6
2. เมื่อสอบถามถึงความต้องการที่ให้พรรคการเมืองใดเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 48 .5 ต้องการพรรคไทยรักไทย
ร้อยละ 22.4 ต้องการพรรคประชาธิปัตย์
ร้อยละ 8.6 ต้องการพรรคชาติพัฒนา
ร้อยละ 5.9 ต้องการพรรคประชากรไทย
ร้อยละ 5.1 ต้องการพรรคถิ่นไทย
ร้อยละ 2.8 ต้องการพรรคความหวังใหม่
และร้อยละ 2.4 ต้องการพรรคชาติไทย
3. สำหรับความต้องการอยากให้ใครเป็นผู้นำฝ่ายค้านนั้น
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 38.8 ต้องการนายชวน หลีกภัย
ร้อยละ 21.1 ต้องการ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร
ร้อยละ 14.5 ต้องการ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ
ร้อยละ 6.2 ต้องการนายกร ทัพพะรังสี
ร้อยละ 6.1 ต้องการนายบรรหาร ศิลปอาชา
และร้อยละ 2.8 ต้องการ ดร.พิจิตต รัตตกุล
4. บุคคลที่ต้องการให้เป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 47.0 ต้องการ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร
ร้อยละ 23.2 ต้องการนายชวน หลีกภัย
ร้อยละ 9.1 ต้องการนายกร ทัพพะรังสี
ร้อยละ 6.6 ต้องการ ดร.พิจิตต รัตตกุล
ร้อยละ 3.0 ต้องการ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ
และร้อยละ 2.9 ต้องการนายบรรหาร ศิลปอาชา
5. เมื่อถามถึงพรรคการเมืองใดบ้างที่ควรร่วมมือจัดตั้งรัฐบาล
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 17.8 ต้องการให้พรรคไทยรักไทยร่วมกับพรรคประชาธิปัตย์
ร้อยละ 14.8 ต้องการให้พรรคไทยรักไทยร่วมกับพรรคชาติไทย
ร้อยละ 11.1 ต้องการให้พรรคไทยรักไทยร่วมกับพรรคชาติพัฒนา
ร้อยละ 7.4 ต้องการให้พรรคไทยรักไทยร่วมกับพรรคชาติไทยและพรรคชาติพัฒนา
ร้อยละ 7.3 ต้องการให้พรรคไทยรักไทยร่วมกับพรรคชาติไทยและพรรคความหวังใหม่
ร้อยละ 6.6 ต้องการให้พรรคประชาธิปัตย์ร่วมกับพรรคชาติพัฒนาและพรรคถิ่นไทย
ร้อยละ 4.7 ต้องการให้พรรคประชาธิปัตย์ร่วมกับพรรคชาติไทยและพรรคชาติพัฒนา
และร้อยละ 30.1 เสนอพรรคร่วมรัฐบาลในรูปแบบที่หลากหลาย
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 1,005 47.3
หญิง 1,119 52.7
อายุ :
18 - 25 397 18.7
26 - 35 581 27.4
36 - 45 746 35.1
มากกว่า 45 ปี 396 18.6
ไม่ระบุ 4 0.2
การศึกษา :
ประถมศึกษา 331 15.6
มัธยมศึกษา 440 20.7
ปวช. 340 16
ปวส./อนุปริญญา 380 17.9
ปริญญาตรี 544 25.6
สูงกว่าปริญญาตรี 74 3.5
ไม่ระบุ 15 0.7
อาชีพ :
รับราชการ 176 8.3
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 101 4.8
พนักงานเอกชน 354 16.7
เจ้าของกิจการ 137 6.5
รับจ้างทั่วไป 377 17.7
ค้าขาย 374 17.6
นักศึกษา 303 14.3
แม่บ้าน 227 10.7
อาชีพอื่น ๆ 72 3.4
ไม่ระบุ 3 0.1
ตารางที่ 2 ท่านต้องการให้พรรคการเมืองใดเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล
จำนวน ร้อยละ
ไทยรักไทย 1,031 48.5
ประชาธิปัตย์ 475 22.4
ชาติพัฒนา 183 8.6
ประชากรไทย 126 5.9
ถิ่นไทย 109 5.1
ความหวังใหม่ 59 2.8
ชาติไทย 50 2.4
ไม่มีความเห็น 80 3.8
ตารางที่ 3 ท่านต้องการให้ใครเป็นผู้นำฝ่ายค้าน
จำนวน ร้อยละ
นายชวน หลีกภัย 824 38.8
พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร 449 21.1
พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ 307 14.5
นายกร ทัพพะรังสี 132 6.2
นายบรรหาร ศิลปอาชา 130 6.1
ดร.พิจิตต รัตตกุล 59 2.8
ไม่มีความเห็น 223 10.5
ตารางที่ 4 ท่านต้องการให้ใครเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป
จำนวน ร้อยละ
พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร 998 47
นายชวน หลีกภัย 492 23.2
นายกร ทัพพะรังสี 193 9.1
ดร.พิจิตต รัตตกุล 140 6.6
พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ 64 3
นายบรรหาร ศิลปอาชา 61 2.9
ไม่มีความเห็น 176 8.3
ตารางที่ 5 พรรคการเมืองใดบ้างที่ควรร่วมมือกันจัดตั้งรัฐบาล
จำนวน ร้อยละ
ไทยรักไทย + ประชาธิปัตย์ 379 17.8
ไทยรักไทย + ชาติไทย 315 14.8
ไทยรักไทย + ชาติพัฒนา 236 11.1
ไทยรักไทย + ชาติไทย + ชาติพัฒนา 158 7.4
ไทยรักไทย + ชาติไทย + ความหวังใหม่ 156 7.3
ประชาธิปัตย์ + ชาติพัฒนา + ถิ่นไทย 141 6.6
ประชาธิปัตย์ + ชาติไทย + ชาติพัฒนา 100 4.7
อื่น ๆ 639 30.1
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตที่สุ่มได้ และมีสิทธิ์ลงคะแนน
เลือกตั้งในเขตนั้น
การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling)โดยแบ่งกรุงเทพมหานครออกเป็น
37 เขตเลือกตั้ง ในแต่ละเขตจะสุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัยโดยวิธีสุ่มแบบเป็นระบบ (Systematic Sampling) ได้
จำนวนทั้งหมด 2,124 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชาชนเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง
“ ความคาดหวังของคนกรุงต่อการจัดตั้งรัฐบาล ”
ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นในหัวข้อที่สำรวจ
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
3 - 5 มกราคม 2544
สรุปผลการสำรวจ
1. การสำรวจความเห็นครั้งนี้ ใช้วิธีสำรวจภาคสนาม โดยสอบถามกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป
เป็นชายร้อยละ 47.3
เป็นหญิงร้อยละ 52.7
เมื่อจำแนกตามกลุ่มอายุ
พบว่าเป็นผู้ที่มีอายุ 18 - 25 ปี ร้อยละ 18.7
อายุ 26 - 35 ปี ร้อยละ 27.4
อายุ 36 - 45 ปี ร้อยละ 35.1
อายุมากกว่า 45 ปีขึ้นไปร้อยละ 18.6
2. เมื่อสอบถามถึงความต้องการที่ให้พรรคการเมืองใดเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 48 .5 ต้องการพรรคไทยรักไทย
ร้อยละ 22.4 ต้องการพรรคประชาธิปัตย์
ร้อยละ 8.6 ต้องการพรรคชาติพัฒนา
ร้อยละ 5.9 ต้องการพรรคประชากรไทย
ร้อยละ 5.1 ต้องการพรรคถิ่นไทย
ร้อยละ 2.8 ต้องการพรรคความหวังใหม่
และร้อยละ 2.4 ต้องการพรรคชาติไทย
3. สำหรับความต้องการอยากให้ใครเป็นผู้นำฝ่ายค้านนั้น
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 38.8 ต้องการนายชวน หลีกภัย
ร้อยละ 21.1 ต้องการ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร
ร้อยละ 14.5 ต้องการ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ
ร้อยละ 6.2 ต้องการนายกร ทัพพะรังสี
ร้อยละ 6.1 ต้องการนายบรรหาร ศิลปอาชา
และร้อยละ 2.8 ต้องการ ดร.พิจิตต รัตตกุล
4. บุคคลที่ต้องการให้เป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 47.0 ต้องการ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร
ร้อยละ 23.2 ต้องการนายชวน หลีกภัย
ร้อยละ 9.1 ต้องการนายกร ทัพพะรังสี
ร้อยละ 6.6 ต้องการ ดร.พิจิตต รัตตกุล
ร้อยละ 3.0 ต้องการ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ
และร้อยละ 2.9 ต้องการนายบรรหาร ศิลปอาชา
5. เมื่อถามถึงพรรคการเมืองใดบ้างที่ควรร่วมมือจัดตั้งรัฐบาล
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 17.8 ต้องการให้พรรคไทยรักไทยร่วมกับพรรคประชาธิปัตย์
ร้อยละ 14.8 ต้องการให้พรรคไทยรักไทยร่วมกับพรรคชาติไทย
ร้อยละ 11.1 ต้องการให้พรรคไทยรักไทยร่วมกับพรรคชาติพัฒนา
ร้อยละ 7.4 ต้องการให้พรรคไทยรักไทยร่วมกับพรรคชาติไทยและพรรคชาติพัฒนา
ร้อยละ 7.3 ต้องการให้พรรคไทยรักไทยร่วมกับพรรคชาติไทยและพรรคความหวังใหม่
ร้อยละ 6.6 ต้องการให้พรรคประชาธิปัตย์ร่วมกับพรรคชาติพัฒนาและพรรคถิ่นไทย
ร้อยละ 4.7 ต้องการให้พรรคประชาธิปัตย์ร่วมกับพรรคชาติไทยและพรรคชาติพัฒนา
และร้อยละ 30.1 เสนอพรรคร่วมรัฐบาลในรูปแบบที่หลากหลาย
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 1,005 47.3
หญิง 1,119 52.7
อายุ :
18 - 25 397 18.7
26 - 35 581 27.4
36 - 45 746 35.1
มากกว่า 45 ปี 396 18.6
ไม่ระบุ 4 0.2
การศึกษา :
ประถมศึกษา 331 15.6
มัธยมศึกษา 440 20.7
ปวช. 340 16
ปวส./อนุปริญญา 380 17.9
ปริญญาตรี 544 25.6
สูงกว่าปริญญาตรี 74 3.5
ไม่ระบุ 15 0.7
อาชีพ :
รับราชการ 176 8.3
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 101 4.8
พนักงานเอกชน 354 16.7
เจ้าของกิจการ 137 6.5
รับจ้างทั่วไป 377 17.7
ค้าขาย 374 17.6
นักศึกษา 303 14.3
แม่บ้าน 227 10.7
อาชีพอื่น ๆ 72 3.4
ไม่ระบุ 3 0.1
ตารางที่ 2 ท่านต้องการให้พรรคการเมืองใดเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล
จำนวน ร้อยละ
ไทยรักไทย 1,031 48.5
ประชาธิปัตย์ 475 22.4
ชาติพัฒนา 183 8.6
ประชากรไทย 126 5.9
ถิ่นไทย 109 5.1
ความหวังใหม่ 59 2.8
ชาติไทย 50 2.4
ไม่มีความเห็น 80 3.8
ตารางที่ 3 ท่านต้องการให้ใครเป็นผู้นำฝ่ายค้าน
จำนวน ร้อยละ
นายชวน หลีกภัย 824 38.8
พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร 449 21.1
พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ 307 14.5
นายกร ทัพพะรังสี 132 6.2
นายบรรหาร ศิลปอาชา 130 6.1
ดร.พิจิตต รัตตกุล 59 2.8
ไม่มีความเห็น 223 10.5
ตารางที่ 4 ท่านต้องการให้ใครเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป
จำนวน ร้อยละ
พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร 998 47
นายชวน หลีกภัย 492 23.2
นายกร ทัพพะรังสี 193 9.1
ดร.พิจิตต รัตตกุล 140 6.6
พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ 64 3
นายบรรหาร ศิลปอาชา 61 2.9
ไม่มีความเห็น 176 8.3
ตารางที่ 5 พรรคการเมืองใดบ้างที่ควรร่วมมือกันจัดตั้งรัฐบาล
จำนวน ร้อยละ
ไทยรักไทย + ประชาธิปัตย์ 379 17.8
ไทยรักไทย + ชาติไทย 315 14.8
ไทยรักไทย + ชาติพัฒนา 236 11.1
ไทยรักไทย + ชาติไทย + ชาติพัฒนา 158 7.4
ไทยรักไทย + ชาติไทย + ความหวังใหม่ 156 7.3
ประชาธิปัตย์ + ชาติพัฒนา + ถิ่นไทย 141 6.6
ประชาธิปัตย์ + ชาติไทย + ชาติพัฒนา 100 4.7
อื่น ๆ 639 30.1
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--