วัตถุประสงค์ของการสำรวจ :
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับเรื่อง
ความคิดเห็นการปรับคณะรัฐมนตรีของรัฐบาลทักษิณ การเข้าร่วมรัฐบาลของพรรคชาติพัฒนา และความคาดหวังที่มีต่อคณะ
รัฐมนตรีชุดใหม่
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขต
ปกครองในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 30 เขต ดังนี้
คลองเตย คลองสาน คันนายาว จอมทอง ดอนเมือง ดุสิต ธนบุรี บางกอกใหญ่ บางเขน บางแค
บางซื่อ บางนา บางบอน บางพลัด บางรัก บึงกุ่ม ประเวศ ป้อมปราบฯ พญาไท มีนบุรี ราชเทวี
ราษฎร์บูรณะ ลาดกระบัง ลาดพร้าว วัฒนา สวนหลวง สะพานสูง สาทร หลักสี่ ห้วยขวาง
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้ตัวอย่าง
ทั้งสิ้นจำนวน 1,349 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ประชาชนคิด
อย่างไร ถ้าพรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาล"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
11-12 ธันวาคม 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
13 ธันวาคม 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป
อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,349 คน เป็นชายร้อยละ 52.2 เป็นหญิงร้อยละ 47.8
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 18.2 มีอายุระหว่าง 18 - 25 ปี
ร้อยละ 34.1 มีอายุระหว่าง 26 - 35 ปี
ร้อยละ 37.7 มีอายุระหว่าง 36 - 45 ปี
และร้อยละ 9.9 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
สำหรับระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 73.8 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 26.1 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพ รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัทเอกชน เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย นักศึกษา แม่บ้าน และอื่น ๆ
2. เมื่อถามว่าถึงเวลาที่รัฐบาลควรปรับคณะรัฐมนตรีหรือยัง
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 46.3 คิดว่าควรปรับคณะรัฐมนตรีได้แล้ว
ขณะที่ร้อยละ 40.8 คิดว่ายังไม่ควรปรับ
และร้อยละ 12.9 ไม่มีความเห็น
3. สำหรับคำถามว่าเห็นด้วยหรือไม่ ถ้าพรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาลทักษิณ
ความเห็นของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในสภาพที่ลังเล คือกลุ่มที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยใกล้เคียงกัน
ร้อยละ 43.2 เห็นด้วย
ขณะที่ร้อยละ 42.7 ไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 14.1 ไม่มีความเห็น
4. สำหรับเหตุผลของกลุ่มตัวอย่างที่เห็นด้วยที่จะนำพรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาล คือ
ร้อยละ 81.8 เป็นการนำคนที่มีความรู้ความสามารถมาเป็นรัฐมนตรี
ร้อยละ 40.7 เป็นการสยบการเรียกร้องของกลุ่มต่าง ๆ ในพรรคไทยรักไทย
ร้อยละ 23.8 ทำให้รัฐบาลมั่นคง
และร้อยละ 18.2 เป็นการโดเดี่ยวพรรคแกนนำฝ่ายค้าน
5. ส่วนเหตุผลของกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เห็นด้วย ที่จะให้พรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาล คือ
ร้อยละ 58.7 คิดว่าทำให้เกิดเผด็จการรัฐสภา
ร้อยละ 55.8 คิดว่าทำให้เสียงฝ่ายค้านมีน้อยเกินไป
ร้อยละ 39.2 คิดว่ารัฐบาลมีเสียงสนับสนุนมากเกินความจำเป็น
และร้อยละ 31.5 คิดว่าจะทำให้เกิดการแก่งแย่งตำแหน่งรัฐมนตรีในรัฐบาล
6. เมื่อถามว่าเห็นด้วยหรือไม่ว่า การดึงพรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาล เป็นการหนีการอภิปรายไม่ไว้วางใจ
จากพรรคฝ่ายค้าน
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 74.7 ระบุว่าเห็นด้วย
มีเพียงร้อยละ 13.6 ระบุว่าไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 11.6 ไม่มีความเห็น
7. สำหรับคำถามว่า คณะรัฐมนตรีที่มีพรรคชาติพัฒนาร่วมรัฐบาลจะเป็นเช่นไร เมื่อเปรียบเทียบกับคณะรัฐมนตรี
ชุดปัจจุบัน
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 50.0 คิดว่าคงไม่แตกต่างจากชุดปัจจุบัน
ร้อยละ 23.1 คิดว่าน่าจะดีกว่าชุดปัจจุบัน
ร้อยละ 17.8 คิดว่าน่าจะแย่กว่าชุดปัจจุบัน
และร้อยละ 9.1 ไม่มีความเห็น
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 704 52.2
หญิง 645 47.8
อายุ :
18 - 25 ปี 246 18.2
26 - 35 ปี 460 34.1
36 - 45 ปี 509 37.7
มากกว่า 45 ปี 134 9.9
การศึกษา :
ประถมศึกษา 99 7.3
มัธยมศึกษา 278 20.6
ปวช. 342 25.4
ปวส./อนุปริญญา 277 20.5
ปริญญาตรี 300 22.2
สูงกว่าปริญญาตรี 53 3.9
อาชีพ :
รับราชการ 33 2.4
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 46 3.4
พนักงานเอกชน 491 36.4
เจ้าของกิจการ 111 8.2
รับจ้างทั่วไป 129 9.6
ค้าขาย 282 20.9
นักศึกษา 134 9.9
แม่บ้าน 80 5.9
อาชีพอื่น ๆ 43 3.2
ตารางที่ 2 ท่านคิดว่าถึงเวลาที่รัฐบาลควรปรับคณะรัฐมนตรีหรือยัง
จำนวน ร้อยละ
ควรปรับได้แล้ว 625 46.3
ยังไม่ควรปรับ 550 40.8
ไม่มีความเห็น 174 12.9
ตารางที่ 3 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ ถ้าพรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาลทักษิณ
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 583 43.2
ไม่เห็นด้วย 576 42.7
ไม่มีความเห็น 190 14.1
ตารางที่ 4 เหตุผลที่เห็นด้วย ถ้าพรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาลทักษิณ
เหตุผลที่เห็นด้วย ร้อยละ
นำคนที่มีความสามารถมาเป็นรัฐมนตรี 81.8
สยบการเรียกร้องของกลุ่มต่าง ๆ ในพรรคไทยรักไทย 40.7
ทำให้รัฐบาลมั่นคง 23.8
โดดเดี่ยวพรรคแกนนำฝ่ายค้าน 18.2
อื่น ๆ 6
ตารางที่ 5 เหตุผลที่ไม่เห็นด้วย ถ้าพรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาลทักษิณ
ร้อยละ
ทำให้เกิดเผด็จการรัฐสภา 58.7
เสียงฝ่ายค้านน้อยเกินไป 55.8
รัฐบาลมีเสียงสนับสนุนมากเกินความจำเป็น 39.2
จะเกิดการแก่งแย่งตำแหน่งรัฐมนตรีในรัฐบาล 31.5
อื่น ๆ 1
ตารางที่ 6 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ว่า การดึงพรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาล เป็นการหนีการอภิปราย ไม่วาง
ใจจากพรรคฝ่ายค้าน
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 1,008 74.7
ไม่เห็นด้วย 184 13.6
ไม่มีความเห็น 157 11.6
ตารางที่ 7 ท่านคิดว่า คณะรัฐมนตรีที่มีพรรคชาติพัฒนาร่วมรัฐบาลจะเป็นเช่นไร เมื่อเปรียบเทียบกับ
จำนวน ร้อยละ
น่าจะดีกว่าชุดปัจจุบัน 312 23.1
ไม่แตกต่างจากชุดปัจจุบัน 674 50
น่าจะแย่กว่าชุดปัจจุบัน 240 17.8
ไม่มีความเห็น 123 9.1
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับเรื่อง
ความคิดเห็นการปรับคณะรัฐมนตรีของรัฐบาลทักษิณ การเข้าร่วมรัฐบาลของพรรคชาติพัฒนา และความคาดหวังที่มีต่อคณะ
รัฐมนตรีชุดใหม่
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขต
ปกครองในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 30 เขต ดังนี้
คลองเตย คลองสาน คันนายาว จอมทอง ดอนเมือง ดุสิต ธนบุรี บางกอกใหญ่ บางเขน บางแค
บางซื่อ บางนา บางบอน บางพลัด บางรัก บึงกุ่ม ประเวศ ป้อมปราบฯ พญาไท มีนบุรี ราชเทวี
ราษฎร์บูรณะ ลาดกระบัง ลาดพร้าว วัฒนา สวนหลวง สะพานสูง สาทร หลักสี่ ห้วยขวาง
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้ตัวอย่าง
ทั้งสิ้นจำนวน 1,349 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ประชาชนคิด
อย่างไร ถ้าพรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาล"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
11-12 ธันวาคม 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
13 ธันวาคม 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป
อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,349 คน เป็นชายร้อยละ 52.2 เป็นหญิงร้อยละ 47.8
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 18.2 มีอายุระหว่าง 18 - 25 ปี
ร้อยละ 34.1 มีอายุระหว่าง 26 - 35 ปี
ร้อยละ 37.7 มีอายุระหว่าง 36 - 45 ปี
และร้อยละ 9.9 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
สำหรับระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 73.8 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 26.1 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพ รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัทเอกชน เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย นักศึกษา แม่บ้าน และอื่น ๆ
2. เมื่อถามว่าถึงเวลาที่รัฐบาลควรปรับคณะรัฐมนตรีหรือยัง
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 46.3 คิดว่าควรปรับคณะรัฐมนตรีได้แล้ว
ขณะที่ร้อยละ 40.8 คิดว่ายังไม่ควรปรับ
และร้อยละ 12.9 ไม่มีความเห็น
3. สำหรับคำถามว่าเห็นด้วยหรือไม่ ถ้าพรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาลทักษิณ
ความเห็นของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในสภาพที่ลังเล คือกลุ่มที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยใกล้เคียงกัน
ร้อยละ 43.2 เห็นด้วย
ขณะที่ร้อยละ 42.7 ไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 14.1 ไม่มีความเห็น
4. สำหรับเหตุผลของกลุ่มตัวอย่างที่เห็นด้วยที่จะนำพรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาล คือ
ร้อยละ 81.8 เป็นการนำคนที่มีความรู้ความสามารถมาเป็นรัฐมนตรี
ร้อยละ 40.7 เป็นการสยบการเรียกร้องของกลุ่มต่าง ๆ ในพรรคไทยรักไทย
ร้อยละ 23.8 ทำให้รัฐบาลมั่นคง
และร้อยละ 18.2 เป็นการโดเดี่ยวพรรคแกนนำฝ่ายค้าน
5. ส่วนเหตุผลของกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เห็นด้วย ที่จะให้พรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาล คือ
ร้อยละ 58.7 คิดว่าทำให้เกิดเผด็จการรัฐสภา
ร้อยละ 55.8 คิดว่าทำให้เสียงฝ่ายค้านมีน้อยเกินไป
ร้อยละ 39.2 คิดว่ารัฐบาลมีเสียงสนับสนุนมากเกินความจำเป็น
และร้อยละ 31.5 คิดว่าจะทำให้เกิดการแก่งแย่งตำแหน่งรัฐมนตรีในรัฐบาล
6. เมื่อถามว่าเห็นด้วยหรือไม่ว่า การดึงพรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาล เป็นการหนีการอภิปรายไม่ไว้วางใจ
จากพรรคฝ่ายค้าน
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 74.7 ระบุว่าเห็นด้วย
มีเพียงร้อยละ 13.6 ระบุว่าไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 11.6 ไม่มีความเห็น
7. สำหรับคำถามว่า คณะรัฐมนตรีที่มีพรรคชาติพัฒนาร่วมรัฐบาลจะเป็นเช่นไร เมื่อเปรียบเทียบกับคณะรัฐมนตรี
ชุดปัจจุบัน
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 50.0 คิดว่าคงไม่แตกต่างจากชุดปัจจุบัน
ร้อยละ 23.1 คิดว่าน่าจะดีกว่าชุดปัจจุบัน
ร้อยละ 17.8 คิดว่าน่าจะแย่กว่าชุดปัจจุบัน
และร้อยละ 9.1 ไม่มีความเห็น
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 704 52.2
หญิง 645 47.8
อายุ :
18 - 25 ปี 246 18.2
26 - 35 ปี 460 34.1
36 - 45 ปี 509 37.7
มากกว่า 45 ปี 134 9.9
การศึกษา :
ประถมศึกษา 99 7.3
มัธยมศึกษา 278 20.6
ปวช. 342 25.4
ปวส./อนุปริญญา 277 20.5
ปริญญาตรี 300 22.2
สูงกว่าปริญญาตรี 53 3.9
อาชีพ :
รับราชการ 33 2.4
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 46 3.4
พนักงานเอกชน 491 36.4
เจ้าของกิจการ 111 8.2
รับจ้างทั่วไป 129 9.6
ค้าขาย 282 20.9
นักศึกษา 134 9.9
แม่บ้าน 80 5.9
อาชีพอื่น ๆ 43 3.2
ตารางที่ 2 ท่านคิดว่าถึงเวลาที่รัฐบาลควรปรับคณะรัฐมนตรีหรือยัง
จำนวน ร้อยละ
ควรปรับได้แล้ว 625 46.3
ยังไม่ควรปรับ 550 40.8
ไม่มีความเห็น 174 12.9
ตารางที่ 3 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ ถ้าพรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาลทักษิณ
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 583 43.2
ไม่เห็นด้วย 576 42.7
ไม่มีความเห็น 190 14.1
ตารางที่ 4 เหตุผลที่เห็นด้วย ถ้าพรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาลทักษิณ
เหตุผลที่เห็นด้วย ร้อยละ
นำคนที่มีความสามารถมาเป็นรัฐมนตรี 81.8
สยบการเรียกร้องของกลุ่มต่าง ๆ ในพรรคไทยรักไทย 40.7
ทำให้รัฐบาลมั่นคง 23.8
โดดเดี่ยวพรรคแกนนำฝ่ายค้าน 18.2
อื่น ๆ 6
ตารางที่ 5 เหตุผลที่ไม่เห็นด้วย ถ้าพรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาลทักษิณ
ร้อยละ
ทำให้เกิดเผด็จการรัฐสภา 58.7
เสียงฝ่ายค้านน้อยเกินไป 55.8
รัฐบาลมีเสียงสนับสนุนมากเกินความจำเป็น 39.2
จะเกิดการแก่งแย่งตำแหน่งรัฐมนตรีในรัฐบาล 31.5
อื่น ๆ 1
ตารางที่ 6 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ว่า การดึงพรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาล เป็นการหนีการอภิปราย ไม่วาง
ใจจากพรรคฝ่ายค้าน
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 1,008 74.7
ไม่เห็นด้วย 184 13.6
ไม่มีความเห็น 157 11.6
ตารางที่ 7 ท่านคิดว่า คณะรัฐมนตรีที่มีพรรคชาติพัฒนาร่วมรัฐบาลจะเป็นเช่นไร เมื่อเปรียบเทียบกับ
จำนวน ร้อยละ
น่าจะดีกว่าชุดปัจจุบัน 312 23.1
ไม่แตกต่างจากชุดปัจจุบัน 674 50
น่าจะแย่กว่าชุดปัจจุบัน 240 17.8
ไม่มีความเห็น 123 9.1
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--