กลุ่มตัวอย่าง:
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร และมีสิทธิ์เลือกตั้งผู้ว่า
ราชการกรุงเทพมหานคร
การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีสุ่ม 2 ขั้นตอน (Two-stage sampling) คือ
ขั้นแรก สุ่มเขตปกครองจำนวน 30 เขตจากทั้งหมด 50 เขต ได้แก่เขตต่าง ๆ คือ
บางซื่อ ดุสิต ราชเทวี สัมพันธวงศ์ ดอนเมือง สายไหม จตุจักร ลาดพร้าว บางกะปิ
วังทองหลาง มีนบุรี หนองจอก ประเวศ สวนหลวง คันนายาว ห้วยขวาง วัฒนา บางนา
พระโขนง บางคอแหลม บางขุนเทียน จอมทอง ราษฎร์บูรณะ ธนบุรี บางแค ตลิ่งชัน
บางกอกน้อย บางกอกใหญ่ ภาษีเจริญ หนองแขม
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มประชากรเป้าหมายโดยกำหนดโควต้าตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้
กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 2,346
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างในเรื่อง คนกรุงจะเลือกใครเป็นผู้ว่า กทม.
โดยแบบสอบถามประกอบด้วย
ส่วนที่ 1 ถามด้านข้อมูลประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง
ส่วนที่ 2 ถามความคิดเห็นในหัวข้อที่ทำการสำรวจ
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
9 - 11 กรกฎาคม 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. กลุ่มตัวอย่างเป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป และมีสิทธิ์เลือกผู้ว่า กทม.
เป็นชายร้อยละ 46.9
เป็นหญิงร้อยละ 53.1
มีการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรี ร้อยละ 64.2
ปริญญาตรีหรือสูงกว่า ร้อยละ 34.8
มีอาชีพ เช่น รับราชการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัทเอกชน
รับจ้างทั่วไป
เจ้าของกิจการ
ค้าขาย นักศึกษา
แม่บ้าน เป็นต้น
2. เมื่อสอบถามว่าวันที่ 23 กรกฎาคม 2543 นี้จะเลือกใครเป็นผู้ว่า กทม.
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 42.5 เลือกนายสมัคร สุนทรเวช
ร้อยละ 25.4 เลือกนางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์
ร้อยละ 13.0 เลือกนายธวัชชัย สัจจกุล
ร้อยละ 11.3 เลือกนางปวีณา หงสกุล
ร้อยละ 2.6 เลือกคุณหญิงกัลยา โสภณพนิช
และร้อยละ 2.0 เลือก พ.อ.วินัย สมพงษ์
3. เมื่อเปรียบเทียบคะแนนความนิยม(ค่าร้อยละ) ของผู้สมัครที่เป็นตัวเก็งที่จะได้รับเลือกเป็นผู้ว่า กทม. จาก
การสำรวจ 3 ครั้ง ตั้งแต่กลางเดือนมิถุนายนเป็นต้นมา เป็นดังนี้
(ครั้งที่ 1 : 9-12 มิ.ย.) (ครั้งที่ 2 : 25-27 มิ.ย.) (ครั้งที่ 3 : 9-11 ก.ค.)
นายสมัคร สุนทรเวช 35.7 46.4 42.5
นางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์ 19.6 19.6 25.4
นายธวัชชัย สัจจกุล 18.4 12.2 13.0
นางปวีณา หงสกุล 16.9 14.9 11.3
พ.อ.วินัย สมพงษ์ 1.9 1.5 2.0
คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช 1.3 1.9 2.6
จะเห็นได้ว่าแนวโน้มคะแนนนิยมของนายสมัคร สุนทรเวช จากการสำรวจครั้งที่ 3 ลดลงเล็กน้อยขณะที่คะแนนนิยมของ
นางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์ เริ่มดีขึ้นกว่าการสำรวจ 2 ครั้งที่ผ่านมา
4. เมื่อสอบถามถึงการสำรวจความคิดเห็นของโพลล์สำนักต่าง ๆ มีส่วนชี้นำให้เลือกผู้สมัครหรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 69.1 ตอบว่าไม่มีผล
ร้อยละ 30.8 ตอบว่ามีผล
5. เมื่อสอบถามถึงผู้ที่ได้เป็นผู้ว่า กทม. จะทำตามนโยบายที่หาเสียงไว้หรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 52.9 เชื่อว่าทำตามที่หาเสียงไว้
ร้อยละ 36.1 ไม่แน่ใจ
ร้อยละ 10.7 ไม่เชื่อว่าจะทำตามที่หาเสียงไว้
6. กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 46.8 เชื่อว่าผู้สมัครที่ตนเลือกเมื่อเทียบกับ ดร.พิจิตต รัตตกุล แล้ว ดีพอ ๆ กัน
ร้อยละ 44.1 เชื่อว่าดีกว่า
มีเพียงร้อยละ 7.0 ที่คิดว่าด้อยกว่า
7. ปัญหาที่กลุ่มตัวอย่างต้องการให้ผู้ว่า กทม. คนใหม่ดำเนินการโดยเร่งด่วน คือ
ร้อยละ 46.2 การจราจร
ร้อยละ 14.7 การแก้ไขปัญหาอากาศเป็นพิษ
ร้อยละ 8.5 การแก้ปัญหาน้ำท่วม
ร้อยละ 5.4 การเก็บขยะ
ร้อยละ 4.9 การรักษาความสะอาด
และร้อยละ 4.7 การแก้ปัญหาน้ำเน่าเสีย
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร และมีสิทธิ์เลือกตั้งผู้ว่า
ราชการกรุงเทพมหานคร
การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีสุ่ม 2 ขั้นตอน (Two-stage sampling) คือ
ขั้นแรก สุ่มเขตปกครองจำนวน 30 เขตจากทั้งหมด 50 เขต ได้แก่เขตต่าง ๆ คือ
บางซื่อ ดุสิต ราชเทวี สัมพันธวงศ์ ดอนเมือง สายไหม จตุจักร ลาดพร้าว บางกะปิ
วังทองหลาง มีนบุรี หนองจอก ประเวศ สวนหลวง คันนายาว ห้วยขวาง วัฒนา บางนา
พระโขนง บางคอแหลม บางขุนเทียน จอมทอง ราษฎร์บูรณะ ธนบุรี บางแค ตลิ่งชัน
บางกอกน้อย บางกอกใหญ่ ภาษีเจริญ หนองแขม
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มประชากรเป้าหมายโดยกำหนดโควต้าตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้
กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 2,346
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างในเรื่อง คนกรุงจะเลือกใครเป็นผู้ว่า กทม.
โดยแบบสอบถามประกอบด้วย
ส่วนที่ 1 ถามด้านข้อมูลประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง
ส่วนที่ 2 ถามความคิดเห็นในหัวข้อที่ทำการสำรวจ
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
9 - 11 กรกฎาคม 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. กลุ่มตัวอย่างเป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป และมีสิทธิ์เลือกผู้ว่า กทม.
เป็นชายร้อยละ 46.9
เป็นหญิงร้อยละ 53.1
มีการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรี ร้อยละ 64.2
ปริญญาตรีหรือสูงกว่า ร้อยละ 34.8
มีอาชีพ เช่น รับราชการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัทเอกชน
รับจ้างทั่วไป
เจ้าของกิจการ
ค้าขาย นักศึกษา
แม่บ้าน เป็นต้น
2. เมื่อสอบถามว่าวันที่ 23 กรกฎาคม 2543 นี้จะเลือกใครเป็นผู้ว่า กทม.
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 42.5 เลือกนายสมัคร สุนทรเวช
ร้อยละ 25.4 เลือกนางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์
ร้อยละ 13.0 เลือกนายธวัชชัย สัจจกุล
ร้อยละ 11.3 เลือกนางปวีณา หงสกุล
ร้อยละ 2.6 เลือกคุณหญิงกัลยา โสภณพนิช
และร้อยละ 2.0 เลือก พ.อ.วินัย สมพงษ์
3. เมื่อเปรียบเทียบคะแนนความนิยม(ค่าร้อยละ) ของผู้สมัครที่เป็นตัวเก็งที่จะได้รับเลือกเป็นผู้ว่า กทม. จาก
การสำรวจ 3 ครั้ง ตั้งแต่กลางเดือนมิถุนายนเป็นต้นมา เป็นดังนี้
(ครั้งที่ 1 : 9-12 มิ.ย.) (ครั้งที่ 2 : 25-27 มิ.ย.) (ครั้งที่ 3 : 9-11 ก.ค.)
นายสมัคร สุนทรเวช 35.7 46.4 42.5
นางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์ 19.6 19.6 25.4
นายธวัชชัย สัจจกุล 18.4 12.2 13.0
นางปวีณา หงสกุล 16.9 14.9 11.3
พ.อ.วินัย สมพงษ์ 1.9 1.5 2.0
คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช 1.3 1.9 2.6
จะเห็นได้ว่าแนวโน้มคะแนนนิยมของนายสมัคร สุนทรเวช จากการสำรวจครั้งที่ 3 ลดลงเล็กน้อยขณะที่คะแนนนิยมของ
นางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์ เริ่มดีขึ้นกว่าการสำรวจ 2 ครั้งที่ผ่านมา
4. เมื่อสอบถามถึงการสำรวจความคิดเห็นของโพลล์สำนักต่าง ๆ มีส่วนชี้นำให้เลือกผู้สมัครหรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 69.1 ตอบว่าไม่มีผล
ร้อยละ 30.8 ตอบว่ามีผล
5. เมื่อสอบถามถึงผู้ที่ได้เป็นผู้ว่า กทม. จะทำตามนโยบายที่หาเสียงไว้หรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 52.9 เชื่อว่าทำตามที่หาเสียงไว้
ร้อยละ 36.1 ไม่แน่ใจ
ร้อยละ 10.7 ไม่เชื่อว่าจะทำตามที่หาเสียงไว้
6. กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 46.8 เชื่อว่าผู้สมัครที่ตนเลือกเมื่อเทียบกับ ดร.พิจิตต รัตตกุล แล้ว ดีพอ ๆ กัน
ร้อยละ 44.1 เชื่อว่าดีกว่า
มีเพียงร้อยละ 7.0 ที่คิดว่าด้อยกว่า
7. ปัญหาที่กลุ่มตัวอย่างต้องการให้ผู้ว่า กทม. คนใหม่ดำเนินการโดยเร่งด่วน คือ
ร้อยละ 46.2 การจราจร
ร้อยละ 14.7 การแก้ไขปัญหาอากาศเป็นพิษ
ร้อยละ 8.5 การแก้ปัญหาน้ำท่วม
ร้อยละ 5.4 การเก็บขยะ
ร้อยละ 4.9 การรักษาความสะอาด
และร้อยละ 4.7 การแก้ปัญหาน้ำเน่าเสีย
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--