กลุ่มตัวอย่าง:
สุ่มตัวอย่างจากกลุ่มผู้ใช้แรงงานที่ทำงานอยู่ในย่านรังสิต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบังและจังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 1,235 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
เพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครที่มีต่อข้าราชการไทย
การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามและสัมภาษณ์ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างในเรื่อง ปัญหาและความคาดหวังของผู้ใช้แรงงาน
โดยแบบสอบถามประกอบด้วย
ส่วนที่ 1 ถามด้านข้อมูลประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง
ส่วนที่ 2 ถามความคิดเห็นในหัวข้อที่ทำการสำรวจ
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
23 - 24 เมษายน 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. กลุ่มตัวอย่าง
เป็นเพศชายร้อยละ 56.5
เพศหญิงร้อยละ 41.9
ส่วนใหญ่อายุระหว่าง 21-30 ปี
สถานภาพของกลุ่มตัวอย่าง
โสดร้อยละ 49.7
สมรสร้อยละ 42.8
หย่าร้างร้อยละ 4.3
และม่ายร้อยละ 2.6
ลักษณะงานของกลุ่มตัวอย่าง คือ
คนงานในโรงงานร้อยละ 54.6
กรรมกรร้อยละ 16.5
และรับจ้างทั่วไปร้อยละ 28.0
2. ปัญหาในปัจจุบันที่กลุ่มตัวอย่างมีความวิตกกังวลมากที่สุด คือ
ปัญหารายได้ไม่พอกับรายจ่ายร้อยละ 60.5
รองลงมา คือ ปัญหาหนี้สินร้อยละ 30.5
ปัญหาถูกกดขี่ค่าแรงร้อยละ 25.7
ปัญหาที่อยู่อาศัยร้อยละ 21.2
ปัญหาถูกออกจากงานหรือเลิกจ้างร้อยละ 21.1
และปัญหาเลี้ยงดู พ่อ แม่ พี่ น้อง ร้อยละ 20.7 ตามลำดับ
นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างยังมีความวิตกกังวลในเรื่อง
ปัญหาการส่งลูกเรียนหนังสือ
ปัญหาความไม่ปลอดภัยในการทำงาน
ปัญหาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ปัญหาการดูแลลูก
ปัญหาสุขภาพของตนเอง
ปัญหายาเสพติด
ปัญหากับเพื่อนร่วมงาน และปัญหาคู่สมรส
3. เมื่อสอบถามถึงความต้องการที่จะให้รัฐบาลช่วยเหลือแรงงานในเรื่องต่าง ๆ
กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นดังนี้
ต้องการให้เพิ่มค่าแรงขั้นต่ำร้อยละ 64.5
มีการประกันการว่างงานร้อยละ 40.0
ให้รับการรักษาพยาบาลฟรีร้อยละ 37.3
มีกองทุนให้คนงานได้กู้ยืมร้อยละ 36.9
แก้ปัญหาเศรษฐกิจให้ฟื้นตัวโดยเร็วร้อยละ 36.1
และบริการหางานให้ผู้ตกงานร้อยละ 31.8 ตามลำดับ
นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างยังต้องการให้รัฐบาลช่วยเหลือ
ในด้านให้ลูกได้เรียนฟรี
สร้างที่อยู่อาศัยราคาถูก
มีสถานที่จำหน่ายสินค้าราคาถูก
และพัฒนาคุณภาพและฝีมือแรงงาน
4. ถ้าเกิดปัญหาการว่างงานขึ้น บุคคลหรือหน่วยงานที่กลุ่มตัวอย่างหวังพึ่งพามากที่สุด คือ
ร้อยละ 43.6 หวังพึ่งตนเอง
รองลงมา คือ กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงานฯ ร้อยละ 21.5
พึ่งพ่อแม่ ญาติ พี่น้อง ร้อยละ 11.6
กรมประชาสงเคราะห์ร้อยละ 7.9
เพื่อนสนิทร้อยละ 7.4
คู่สมรสร้อยละ 4.1
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
สุ่มตัวอย่างจากกลุ่มผู้ใช้แรงงานที่ทำงานอยู่ในย่านรังสิต มีนบุรี หนองจอก ลาดกระบังและจังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 1,235 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
เพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครที่มีต่อข้าราชการไทย
การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามและสัมภาษณ์ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างในเรื่อง ปัญหาและความคาดหวังของผู้ใช้แรงงาน
โดยแบบสอบถามประกอบด้วย
ส่วนที่ 1 ถามด้านข้อมูลประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง
ส่วนที่ 2 ถามความคิดเห็นในหัวข้อที่ทำการสำรวจ
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
23 - 24 เมษายน 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. กลุ่มตัวอย่าง
เป็นเพศชายร้อยละ 56.5
เพศหญิงร้อยละ 41.9
ส่วนใหญ่อายุระหว่าง 21-30 ปี
สถานภาพของกลุ่มตัวอย่าง
โสดร้อยละ 49.7
สมรสร้อยละ 42.8
หย่าร้างร้อยละ 4.3
และม่ายร้อยละ 2.6
ลักษณะงานของกลุ่มตัวอย่าง คือ
คนงานในโรงงานร้อยละ 54.6
กรรมกรร้อยละ 16.5
และรับจ้างทั่วไปร้อยละ 28.0
2. ปัญหาในปัจจุบันที่กลุ่มตัวอย่างมีความวิตกกังวลมากที่สุด คือ
ปัญหารายได้ไม่พอกับรายจ่ายร้อยละ 60.5
รองลงมา คือ ปัญหาหนี้สินร้อยละ 30.5
ปัญหาถูกกดขี่ค่าแรงร้อยละ 25.7
ปัญหาที่อยู่อาศัยร้อยละ 21.2
ปัญหาถูกออกจากงานหรือเลิกจ้างร้อยละ 21.1
และปัญหาเลี้ยงดู พ่อ แม่ พี่ น้อง ร้อยละ 20.7 ตามลำดับ
นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างยังมีความวิตกกังวลในเรื่อง
ปัญหาการส่งลูกเรียนหนังสือ
ปัญหาความไม่ปลอดภัยในการทำงาน
ปัญหาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ปัญหาการดูแลลูก
ปัญหาสุขภาพของตนเอง
ปัญหายาเสพติด
ปัญหากับเพื่อนร่วมงาน และปัญหาคู่สมรส
3. เมื่อสอบถามถึงความต้องการที่จะให้รัฐบาลช่วยเหลือแรงงานในเรื่องต่าง ๆ
กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นดังนี้
ต้องการให้เพิ่มค่าแรงขั้นต่ำร้อยละ 64.5
มีการประกันการว่างงานร้อยละ 40.0
ให้รับการรักษาพยาบาลฟรีร้อยละ 37.3
มีกองทุนให้คนงานได้กู้ยืมร้อยละ 36.9
แก้ปัญหาเศรษฐกิจให้ฟื้นตัวโดยเร็วร้อยละ 36.1
และบริการหางานให้ผู้ตกงานร้อยละ 31.8 ตามลำดับ
นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างยังต้องการให้รัฐบาลช่วยเหลือ
ในด้านให้ลูกได้เรียนฟรี
สร้างที่อยู่อาศัยราคาถูก
มีสถานที่จำหน่ายสินค้าราคาถูก
และพัฒนาคุณภาพและฝีมือแรงงาน
4. ถ้าเกิดปัญหาการว่างงานขึ้น บุคคลหรือหน่วยงานที่กลุ่มตัวอย่างหวังพึ่งพามากที่สุด คือ
ร้อยละ 43.6 หวังพึ่งตนเอง
รองลงมา คือ กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงานฯ ร้อยละ 21.5
พึ่งพ่อแม่ ญาติ พี่น้อง ร้อยละ 11.6
กรมประชาสงเคราะห์ร้อยละ 7.9
เพื่อนสนิทร้อยละ 7.4
คู่สมรสร้อยละ 4.1
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--