วัตถุประสงค์ของการสำรวจ :
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการจัดตั้งรัฐบาลของ พ.ต.ท.ดร.
ทักษิณ ชินวัตร ในประเด็น เสียงสนับสนุนในการจัดตั้งรัฐบาล การยอมรับบุคคลที่จะมาเป็นรัฐมนตรี การปฏิบัติตามนโยบาย
การปกป้องและแสวงหาผลประโยชน์ และการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ
วิธีสำรวจ :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือขั้นแรก แบ่งเขตปกครอง
กรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่ม เขตปกครองในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 32
เขต ดังนี้ พระโขนง คลองเตย บึงกุ่ม มีนบุรี ตลิ่งชัน ธนบุรี สาทร ลาดพร้าว ดินแดง ดอนเมือง ราชเทวี พระนคร ป้อม
ปราบฯ บางรัก สะพานสูง ประเวศ คันนายาว บางกะปิ สวนหลวง บางนา วัฒนา ปทุมวัน บางพลัด บางกอกน้อย พญาไท
บางแค บางบอน บางขุนเทียน ราษฎร์บูรณะ วังทองหลาง สายไหม ลาดกระบัง
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามเพศ กลุ่มอายุและอาชีพ ได้ตัวอย่างทั้ง
สิ้นจำนวน 1,598 คน
ความคลาดเคลื่อน : ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน + 3 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล : การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
ในเรื่อง "ความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการจัดตั้งรัฐบาลทักษิณ"
ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นในหัวข้อที่สำรวจ
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
16 - 17 มกราคม 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
19 มกราคม 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม
ผู้ตอบแบบสอบถามมีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร
เป็นชายร้อยละ 44.7
เป็นหญิงร้อยละ 55.3
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 67.2 เป็นผู้มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 32.1 มีการศึกษาตั้งแต่ระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพหลากหลาย เช่น
รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานบริษัทเอกชน เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย นักศึกษา แม่บ้าน เป็นต้น
2. ความเห็นเกี่ยวกับเสียงสนับสนุนในการจัดตั้งรัฐบาล ว่าควรมีเสียง ส.ส. สนับสนุนมากกว่า 300 เสียง
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 48.2 เห็นด้วย
ร้อยละ 27.5 ไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 24.2 ไม่มีความเห็น
3. สำหรับความมั่นใจว่าจะไม่มีการแก่งแย่งเก้าอี้รัฐมนตรีในการจัดตั้งรัฐบาลนั้น
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 8.1 มั่นใจ
ร้อยละ 18.6 ค่อนข้างมั่นใจ ร้อยละ 38.0 ไม่ค่อยมั่นใจ
ร้อยละ 30.5 ไม่มั่นใจ และร้อยละ 4.7 ไม่มีความเห็น
4. ความมั่นใจของกลุ่มตัวอย่างว่ารัฐบาลทักษิณจะทำตามนโยบายที่หาเสียงไว้หรือไม่
ร้อยละ 9.3 มั่นใจ
ร้อยละ 28.7 ค่อนข้างมั่นใจ
ร้อยละ 40.2 ไม่ค่อยมั่นใจ
ร้อยละ 17.5 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 4.2 ไม่มีความเห็น
5. สำหรับความมั่นใจต่อคณะรัฐมนตรีของรัฐบาลชุดใหม่จะไม่มีคนที่ประชาชนไม่ยอมรับ(ยี้)
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 6.4 มั่นใจ
ร้อยละ 11.9 ค่อนข้างมั่นใจ
ร้อยละ 42.1 ไม่ค่อยมั่นใจ
ร้อยละ 24.8 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 14.8 ไม่มีความเห็น
6. เมื่อถามถึงความมั่นใจว่าคณะรัฐมนตรีชุดใหม่จะไม่เข้ามาพิทักษ์ผลประโยชน์ทางธุรกิจของตนเอง
และพวกพ้อง กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 6.5 มั่นใจ
ร้อยละ 14.9 ค่อนข้างมั่นใจ
ร้อยละ 34.9 ไม่ค่อยมั่นใจ
ร้อยละ 30.0 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 13.7 ไม่มีความเห็น
7. สำหรับความมั่นใจว่ารัฐบาลชุดใหม่สามารถแก้ปัญหาเศรษฐกิจให้ดีขึ้นได้หรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 18.2 มั่นใจ
ร้อยละ 28.7 ค่อนข้างมั่นใจ
ร้อยละ 35.1 ไม่ค่อยมั่นใจ
ร้อยละ 11.2 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 6.8 ไม่มีความเห็น
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 715 44.7
หญิง 883 55.3
อายุ :
18 - 25 326 20.4
26 - 35 432 27
36 - 45 550 34.4
มากกว่า 45 ปี 285 17.8
ไม่ระบุ 5 0.3
การศึกษา :
ประถมศึกษา 255 16
มัธยมศึกษา 286 17.9
ปวช. 261 16.3
ปวส./อนุปริญญา 272 17
ปริญญาตรี 442 27.7
สูงกว่าปริญญาตรี 70 4.4
ไม่ระบุ 12 0.8
อาชีพ :
รับราชการ 111 9.6
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 76 4.8
พนักงานเอกชน 265 16.6
เจ้าของกิจการ 82 5.1
รับจ้างทั่วไป 215 13.5
ค้าขาย 318 19.9
นักศึกษา 264 16.5
แม่บ้าน 160 10
อาชีพอื่น ๆ 107 6.7
ตารางที่ 2 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ว่า การจัดตั้งรัฐบาลควรมีเสียง ส.ส. สนับสนุนมากกว่า 300 เสียง
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 771 48.2
ไม่เห็นด้วย 440 27.5
ไม่มีความเห็น 387 24.2
ตารางที่ 3 ท่านมั่นใจหรือไม่ว่า การจัดตั้งรัฐบาลชุดใหม่จะไม่มีการแก่งแย่งเก้าอี้รัฐมนตรี
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 130 8.1
ค่อนข้างมั่นใจ 298 18.6
ไม่ค่อยมั่นใจ 608 38
ไม่มั่นใจ 487 30.5
ไม่มีความเห็น 75 4.7
ตารางที่ 4 ท่านมั่นใจหรือไม่ว่า รัฐบาลชุดใหม่จะทำตามนโยบายที่หาเสียงไว้
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 149 9.3
ค่อนข้างมั่นใจ 459 28.7
ไม่ค่อยมั่นใจ 643 40.2
ไม่มั่นใจ 280 17.5
ไม่มีความเห็น 67 4.2
ตารางที่ 5 ท่านมั่นใจหรือไม่ว่า คณะรัฐมนตรีชุดใหม่จะไม่มีคนที่ประชาชนไม่ยอมรับ(ยี้)
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 102 6.4
ค่อนข้างมั่นใจ 190 11.9
ไม่ค่อยมั่นใจ 673 42.1
ไม่มั่นใจ 396 24.8
ไม่มีความเห็น 237 14.8
ตารางที่ 6 ท่านมั่นใจหรือไม่ว่า คณะรัฐมนตรีชุดใหม่จะไม่เข้ามาพิทักษ์ผลประโยชน์ทางธุรกิจของตนเองและพวกพ้อง
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 104 6.5
ค่อนข้างมั่นใจ 238 14.9
ไม่ค่อยมั่นใจ 558 34.9
ไม่มั่นใจ 479 30
ไม่มีความเห็น 219 13.7
ตารางที่ 7 ท่านมั่นใจหรือไม่ว่า รัฐบาลชุดใหม่สามารถแก้ปัญหาเศรษฐกิจให้ดีขึ้น
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 291 18.2
ค่อนข้างมั่นใจ 459 28.7
ไม่ค่อยมั่นใจ 561 35.1
ไม่มั่นใจ 179 11.2
ไม่มีความเห็น 108 6.8
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการจัดตั้งรัฐบาลของ พ.ต.ท.ดร.
ทักษิณ ชินวัตร ในประเด็น เสียงสนับสนุนในการจัดตั้งรัฐบาล การยอมรับบุคคลที่จะมาเป็นรัฐมนตรี การปฏิบัติตามนโยบาย
การปกป้องและแสวงหาผลประโยชน์ และการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ
วิธีสำรวจ :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือขั้นแรก แบ่งเขตปกครอง
กรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่ม เขตปกครองในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 32
เขต ดังนี้ พระโขนง คลองเตย บึงกุ่ม มีนบุรี ตลิ่งชัน ธนบุรี สาทร ลาดพร้าว ดินแดง ดอนเมือง ราชเทวี พระนคร ป้อม
ปราบฯ บางรัก สะพานสูง ประเวศ คันนายาว บางกะปิ สวนหลวง บางนา วัฒนา ปทุมวัน บางพลัด บางกอกน้อย พญาไท
บางแค บางบอน บางขุนเทียน ราษฎร์บูรณะ วังทองหลาง สายไหม ลาดกระบัง
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามเพศ กลุ่มอายุและอาชีพ ได้ตัวอย่างทั้ง
สิ้นจำนวน 1,598 คน
ความคลาดเคลื่อน : ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน + 3 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล : การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
ในเรื่อง "ความเชื่อมั่นของประชาชนต่อการจัดตั้งรัฐบาลทักษิณ"
ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นในหัวข้อที่สำรวจ
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
16 - 17 มกราคม 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
19 มกราคม 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม
ผู้ตอบแบบสอบถามมีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร
เป็นชายร้อยละ 44.7
เป็นหญิงร้อยละ 55.3
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 67.2 เป็นผู้มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 32.1 มีการศึกษาตั้งแต่ระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพหลากหลาย เช่น
รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานบริษัทเอกชน เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย นักศึกษา แม่บ้าน เป็นต้น
2. ความเห็นเกี่ยวกับเสียงสนับสนุนในการจัดตั้งรัฐบาล ว่าควรมีเสียง ส.ส. สนับสนุนมากกว่า 300 เสียง
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 48.2 เห็นด้วย
ร้อยละ 27.5 ไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 24.2 ไม่มีความเห็น
3. สำหรับความมั่นใจว่าจะไม่มีการแก่งแย่งเก้าอี้รัฐมนตรีในการจัดตั้งรัฐบาลนั้น
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 8.1 มั่นใจ
ร้อยละ 18.6 ค่อนข้างมั่นใจ ร้อยละ 38.0 ไม่ค่อยมั่นใจ
ร้อยละ 30.5 ไม่มั่นใจ และร้อยละ 4.7 ไม่มีความเห็น
4. ความมั่นใจของกลุ่มตัวอย่างว่ารัฐบาลทักษิณจะทำตามนโยบายที่หาเสียงไว้หรือไม่
ร้อยละ 9.3 มั่นใจ
ร้อยละ 28.7 ค่อนข้างมั่นใจ
ร้อยละ 40.2 ไม่ค่อยมั่นใจ
ร้อยละ 17.5 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 4.2 ไม่มีความเห็น
5. สำหรับความมั่นใจต่อคณะรัฐมนตรีของรัฐบาลชุดใหม่จะไม่มีคนที่ประชาชนไม่ยอมรับ(ยี้)
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 6.4 มั่นใจ
ร้อยละ 11.9 ค่อนข้างมั่นใจ
ร้อยละ 42.1 ไม่ค่อยมั่นใจ
ร้อยละ 24.8 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 14.8 ไม่มีความเห็น
6. เมื่อถามถึงความมั่นใจว่าคณะรัฐมนตรีชุดใหม่จะไม่เข้ามาพิทักษ์ผลประโยชน์ทางธุรกิจของตนเอง
และพวกพ้อง กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 6.5 มั่นใจ
ร้อยละ 14.9 ค่อนข้างมั่นใจ
ร้อยละ 34.9 ไม่ค่อยมั่นใจ
ร้อยละ 30.0 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 13.7 ไม่มีความเห็น
7. สำหรับความมั่นใจว่ารัฐบาลชุดใหม่สามารถแก้ปัญหาเศรษฐกิจให้ดีขึ้นได้หรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 18.2 มั่นใจ
ร้อยละ 28.7 ค่อนข้างมั่นใจ
ร้อยละ 35.1 ไม่ค่อยมั่นใจ
ร้อยละ 11.2 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 6.8 ไม่มีความเห็น
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 715 44.7
หญิง 883 55.3
อายุ :
18 - 25 326 20.4
26 - 35 432 27
36 - 45 550 34.4
มากกว่า 45 ปี 285 17.8
ไม่ระบุ 5 0.3
การศึกษา :
ประถมศึกษา 255 16
มัธยมศึกษา 286 17.9
ปวช. 261 16.3
ปวส./อนุปริญญา 272 17
ปริญญาตรี 442 27.7
สูงกว่าปริญญาตรี 70 4.4
ไม่ระบุ 12 0.8
อาชีพ :
รับราชการ 111 9.6
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 76 4.8
พนักงานเอกชน 265 16.6
เจ้าของกิจการ 82 5.1
รับจ้างทั่วไป 215 13.5
ค้าขาย 318 19.9
นักศึกษา 264 16.5
แม่บ้าน 160 10
อาชีพอื่น ๆ 107 6.7
ตารางที่ 2 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ว่า การจัดตั้งรัฐบาลควรมีเสียง ส.ส. สนับสนุนมากกว่า 300 เสียง
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 771 48.2
ไม่เห็นด้วย 440 27.5
ไม่มีความเห็น 387 24.2
ตารางที่ 3 ท่านมั่นใจหรือไม่ว่า การจัดตั้งรัฐบาลชุดใหม่จะไม่มีการแก่งแย่งเก้าอี้รัฐมนตรี
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 130 8.1
ค่อนข้างมั่นใจ 298 18.6
ไม่ค่อยมั่นใจ 608 38
ไม่มั่นใจ 487 30.5
ไม่มีความเห็น 75 4.7
ตารางที่ 4 ท่านมั่นใจหรือไม่ว่า รัฐบาลชุดใหม่จะทำตามนโยบายที่หาเสียงไว้
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 149 9.3
ค่อนข้างมั่นใจ 459 28.7
ไม่ค่อยมั่นใจ 643 40.2
ไม่มั่นใจ 280 17.5
ไม่มีความเห็น 67 4.2
ตารางที่ 5 ท่านมั่นใจหรือไม่ว่า คณะรัฐมนตรีชุดใหม่จะไม่มีคนที่ประชาชนไม่ยอมรับ(ยี้)
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 102 6.4
ค่อนข้างมั่นใจ 190 11.9
ไม่ค่อยมั่นใจ 673 42.1
ไม่มั่นใจ 396 24.8
ไม่มีความเห็น 237 14.8
ตารางที่ 6 ท่านมั่นใจหรือไม่ว่า คณะรัฐมนตรีชุดใหม่จะไม่เข้ามาพิทักษ์ผลประโยชน์ทางธุรกิจของตนเองและพวกพ้อง
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 104 6.5
ค่อนข้างมั่นใจ 238 14.9
ไม่ค่อยมั่นใจ 558 34.9
ไม่มั่นใจ 479 30
ไม่มีความเห็น 219 13.7
ตารางที่ 7 ท่านมั่นใจหรือไม่ว่า รัฐบาลชุดใหม่สามารถแก้ปัญหาเศรษฐกิจให้ดีขึ้น
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 291 18.2
ค่อนข้างมั่นใจ 459 28.7
ไม่ค่อยมั่นใจ 561 35.1
ไม่มั่นใจ 179 11.2
ไม่มีความเห็น 108 6.8
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--