วัตถุประสงค์ของการสำรวจ :
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับภาพลักษณ์
และความมั่นใจในการทำงานของนายกรัฐมนตรี ตลอดจนผลกระทบกรณีความขัดแย้งของพรรคไทยรักไทยต่อความเชื่อมั่นของ
รัฐบาล
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครอง
ในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 34 เขต ดังนี้
คลองเตย คลองสามวา จตุจักร ดอนเมือง ดินแดง ดุสิต ธนบุรี บางกอกน้อย บางกะปิ บางขุนเทียน
บางเขน บางคอแหลม บางซื่อ บางนา บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ พญาไท พระโขนง พระนคร ภาษีเจริญ
มีนบุรี ยานนาวา ราษฎร์บูรณะ ลาดกระบัง ลาดพร้าว วังทองหลาง วัฒนา สวนหลวง สัมพันธวงศ์ สาทร
หนองแขม ห้วยขวาง
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้ตัวอย่างทั้ง
สิ้นจำนวน 1,353 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ภาพลักษณ์
นายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ในสายตามประชาชน"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
1 - 3 กันยายน 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
4 กันยายน 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป
อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,353 คน
เป็นชายร้อยละ 48.5 เป็นหญิงร้อยละ 51.5
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 70.8 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 29.2 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพ รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัทเอกชน เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย นักศึกษา และแม่บ้าน เป็นต้น
2. เมื่อสอบถามความมั่นใจต่อนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ในเรื่องต่าง ๆ กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็น
ดังนี้
ความสามารถในการเป็นผู้นำประเทศ
ร้อยละ 90.2 ระบุว่ามั่นใจ
ร้อยละ 7.2 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 2.6 ไม่มีความเห็น
ความสามารถในการฟื้นฟูเศรษฐกิจ
ร้อยละ 67.6 ระบุว่ามั่นใจ
ร้อยละ 28.2 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 4.3 ไม่มีความเห็น
การไม่ปกป้องผลประโยชน์ของตนเองและพวกพ้อง
ร้อยละ48.3 ระบุว่าไม่มั่นใจ
ร้อยละ 33.3 มั่นใจ
และร้อยละ 18.4 ไม่มีความเห็น
การไม่แสวงหาผลประโยชน์จากโครงการต่าง ๆ
ร้อยละ 38.1 ระบุว่าไม่มั่นใจ
ร้อยละ 35.1 มั่นใจ
และร้อยละ 26.8 ไม่มีความเห็น
ความสามารถในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง
ร้อยละ 48.0 ระบุว่าไม่มั่นใจ
ร้อยละ 38.0 มั่นใจ
และร้อยละ 14.0 ไม่มีความเห็น
ความสามารถในการบริหารประเทศ
ร้อยละ 85.1 ระบุว่ามั่นใจ
ร้อยละ 9.2 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 5.6 ไม่มีความเห็น
ความจริงจังในการทำงานเพื่อประชาชน
ร้อยละ 79.7 ระบุว่ามั่นใจ
ร้อยละ 12.6 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 7.7 ไม่มีความเห็น
การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
ร้อยละ 77.6 ระบุว่ามั่นใจ
ร้อยละ 10.3 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 12.0 ไม่มีความเห็น
3. สำหรับคำถามว่า การทำงานของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จะเป็นเช่นไร หลังศาลรัฐธรรมนูญตัดสินให้หลุดพ้น
คดีปกปิดการถือครองหุ้น
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 53.5 ระบุว่าขยันเหมือนเดิม
ร้อยละ 35.8 ระบุว่าขยันมากขึ้น
ร้อยละ 4.6 ระบุว่าขยันน้อยลง
และร้อยละ 6.1 ไม่มีความเห็น
4. เมื่อถามถึงความขัดแย้งในพรรคไทยรักไทยมีผลกระทบต่อความเชื่อมั่นรัฐบาลทักษิณหรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 53.4 ระบุว่ามีผล
ร้อยละ 30.0 ระบุว่าไม่มีผล
และร้อยละ 16.6 ไม่มีความเห็น
5. ส่วนความมั่นใจ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อยู่เป็นนายกรัฐมนตรี ครบวาระ 4 ปี หรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 47.0 ระบุว่ามั่นใจ
ร้อยละ 42.9 ระบุว่าไม่มั่นใจ
และร้อยละ 10.1 ไม่มีความเห็น
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 656 48.5
หญิง 697 51.5
อายุ :
18 - 25 ปี 236 17.4
26 - 35 ปี 419 31
36 - 45 ปี 528 39
มากกว่า 45 ปี 170 12.6
การศึกษา :
ประถมศึกษา 114 8.4
มัธยมศึกษา 259 19.1
ปวช. 392 29
ปวส./อนุปริญญา 194 14.3
ปริญญาตรี 350 25.9
สูงกว่าปริญญาตรี 44 3.3
อาชีพ :
รับราชการ 66 4.9
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 87 6.4
พนักงานเอกชน 373 27.6
เจ้าของกิจการ 95 7
รับจ้างทั่วไป 217 16
ค้าขาย 212 15.7
นักศึกษา 141 10.4
แม่บ้าน 119 8.8
อาชีพอื่น ๆ 43 3.2
ตารางที่ 2 ความมั่นใจต่อนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ในเรื่องต่าง ๆ
มั่นใจ ไม่มั่นใจ ไม่มีความเห็น
ความสามารถในการเป็นผู้นำประเทศ 90.2 7.2 2.6
ความสามารถในการฟื้นฟูเศรษฐกิจ 67.6 28.2 4.3
ไม่ปกป้องผลประโยชน์ของตนเองและพวกพ้อง 33.3 48.3 18.4
ไม่แสวงหาผลประโยชน์จากโครงการต่าง ๆ 35.1 38.1 26.8
ความสามารถในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง 38 48 14
ความสามารถในการบริหารประเทศ 85.1 9.2 5.6
ความจริงจังในการทำงานเพื่อประชาชน 79.7 12.6 7.7
การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน 77.6 10.3 12
ตารางที่ 3 ท่านคิดว่า การทำงานของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จะเป็นเช่นไร หลังศาลรัฐธรรมนูญตัดสินให้หลุด
พ้นคดีปกปิดการถือครองหุ้น
จำนวน ร้อยละ
ขยันน้อยลง 62 4.6
ขยันเหมือนเดิม 724 53.5
ขยันมากขึ้น 484 35.8
ไม่มีความเห็น 83 6.1
ตารางที่ 4 ความขัดแย้งในพรรคไทยรักไทยมีผลกระทบต่อความเชื่อมั่นรัฐบาลทักษิณหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มีผล 723 53.4
ไม่มีผล 406 30
ไม่มีความเห็น 224 16.6
ตารางที่ 5 ท่านมั่นใจว่า พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อยู่เป็นนายกรัฐมนตรี ครบวาระ 4 ปี หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 636 47
ไม่มั่นใจ 580 42.9
ไม่มีความเห็น 137 10.1
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับภาพลักษณ์
และความมั่นใจในการทำงานของนายกรัฐมนตรี ตลอดจนผลกระทบกรณีความขัดแย้งของพรรคไทยรักไทยต่อความเชื่อมั่นของ
รัฐบาล
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครอง
ในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 34 เขต ดังนี้
คลองเตย คลองสามวา จตุจักร ดอนเมือง ดินแดง ดุสิต ธนบุรี บางกอกน้อย บางกะปิ บางขุนเทียน
บางเขน บางคอแหลม บางซื่อ บางนา บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ พญาไท พระโขนง พระนคร ภาษีเจริญ
มีนบุรี ยานนาวา ราษฎร์บูรณะ ลาดกระบัง ลาดพร้าว วังทองหลาง วัฒนา สวนหลวง สัมพันธวงศ์ สาทร
หนองแขม ห้วยขวาง
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้ตัวอย่างทั้ง
สิ้นจำนวน 1,353 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ภาพลักษณ์
นายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ในสายตามประชาชน"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
1 - 3 กันยายน 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
4 กันยายน 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป
อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,353 คน
เป็นชายร้อยละ 48.5 เป็นหญิงร้อยละ 51.5
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 70.8 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 29.2 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพ รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัทเอกชน เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย นักศึกษา และแม่บ้าน เป็นต้น
2. เมื่อสอบถามความมั่นใจต่อนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ในเรื่องต่าง ๆ กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็น
ดังนี้
ความสามารถในการเป็นผู้นำประเทศ
ร้อยละ 90.2 ระบุว่ามั่นใจ
ร้อยละ 7.2 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 2.6 ไม่มีความเห็น
ความสามารถในการฟื้นฟูเศรษฐกิจ
ร้อยละ 67.6 ระบุว่ามั่นใจ
ร้อยละ 28.2 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 4.3 ไม่มีความเห็น
การไม่ปกป้องผลประโยชน์ของตนเองและพวกพ้อง
ร้อยละ48.3 ระบุว่าไม่มั่นใจ
ร้อยละ 33.3 มั่นใจ
และร้อยละ 18.4 ไม่มีความเห็น
การไม่แสวงหาผลประโยชน์จากโครงการต่าง ๆ
ร้อยละ 38.1 ระบุว่าไม่มั่นใจ
ร้อยละ 35.1 มั่นใจ
และร้อยละ 26.8 ไม่มีความเห็น
ความสามารถในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง
ร้อยละ 48.0 ระบุว่าไม่มั่นใจ
ร้อยละ 38.0 มั่นใจ
และร้อยละ 14.0 ไม่มีความเห็น
ความสามารถในการบริหารประเทศ
ร้อยละ 85.1 ระบุว่ามั่นใจ
ร้อยละ 9.2 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 5.6 ไม่มีความเห็น
ความจริงจังในการทำงานเพื่อประชาชน
ร้อยละ 79.7 ระบุว่ามั่นใจ
ร้อยละ 12.6 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 7.7 ไม่มีความเห็น
การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
ร้อยละ 77.6 ระบุว่ามั่นใจ
ร้อยละ 10.3 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 12.0 ไม่มีความเห็น
3. สำหรับคำถามว่า การทำงานของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จะเป็นเช่นไร หลังศาลรัฐธรรมนูญตัดสินให้หลุดพ้น
คดีปกปิดการถือครองหุ้น
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 53.5 ระบุว่าขยันเหมือนเดิม
ร้อยละ 35.8 ระบุว่าขยันมากขึ้น
ร้อยละ 4.6 ระบุว่าขยันน้อยลง
และร้อยละ 6.1 ไม่มีความเห็น
4. เมื่อถามถึงความขัดแย้งในพรรคไทยรักไทยมีผลกระทบต่อความเชื่อมั่นรัฐบาลทักษิณหรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 53.4 ระบุว่ามีผล
ร้อยละ 30.0 ระบุว่าไม่มีผล
และร้อยละ 16.6 ไม่มีความเห็น
5. ส่วนความมั่นใจ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อยู่เป็นนายกรัฐมนตรี ครบวาระ 4 ปี หรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 47.0 ระบุว่ามั่นใจ
ร้อยละ 42.9 ระบุว่าไม่มั่นใจ
และร้อยละ 10.1 ไม่มีความเห็น
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 656 48.5
หญิง 697 51.5
อายุ :
18 - 25 ปี 236 17.4
26 - 35 ปี 419 31
36 - 45 ปี 528 39
มากกว่า 45 ปี 170 12.6
การศึกษา :
ประถมศึกษา 114 8.4
มัธยมศึกษา 259 19.1
ปวช. 392 29
ปวส./อนุปริญญา 194 14.3
ปริญญาตรี 350 25.9
สูงกว่าปริญญาตรี 44 3.3
อาชีพ :
รับราชการ 66 4.9
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 87 6.4
พนักงานเอกชน 373 27.6
เจ้าของกิจการ 95 7
รับจ้างทั่วไป 217 16
ค้าขาย 212 15.7
นักศึกษา 141 10.4
แม่บ้าน 119 8.8
อาชีพอื่น ๆ 43 3.2
ตารางที่ 2 ความมั่นใจต่อนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ในเรื่องต่าง ๆ
มั่นใจ ไม่มั่นใจ ไม่มีความเห็น
ความสามารถในการเป็นผู้นำประเทศ 90.2 7.2 2.6
ความสามารถในการฟื้นฟูเศรษฐกิจ 67.6 28.2 4.3
ไม่ปกป้องผลประโยชน์ของตนเองและพวกพ้อง 33.3 48.3 18.4
ไม่แสวงหาผลประโยชน์จากโครงการต่าง ๆ 35.1 38.1 26.8
ความสามารถในการแก้ปัญหาความขัดแย้ง 38 48 14
ความสามารถในการบริหารประเทศ 85.1 9.2 5.6
ความจริงจังในการทำงานเพื่อประชาชน 79.7 12.6 7.7
การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน 77.6 10.3 12
ตารางที่ 3 ท่านคิดว่า การทำงานของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จะเป็นเช่นไร หลังศาลรัฐธรรมนูญตัดสินให้หลุด
พ้นคดีปกปิดการถือครองหุ้น
จำนวน ร้อยละ
ขยันน้อยลง 62 4.6
ขยันเหมือนเดิม 724 53.5
ขยันมากขึ้น 484 35.8
ไม่มีความเห็น 83 6.1
ตารางที่ 4 ความขัดแย้งในพรรคไทยรักไทยมีผลกระทบต่อความเชื่อมั่นรัฐบาลทักษิณหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มีผล 723 53.4
ไม่มีผล 406 30
ไม่มีความเห็น 224 16.6
ตารางที่ 5 ท่านมั่นใจว่า พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อยู่เป็นนายกรัฐมนตรี ครบวาระ 4 ปี หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 636 47
ไม่มั่นใจ 580 42.9
ไม่มีความเห็น 137 10.1
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--