วัตถุประสงค์ของการสำรวจ :
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับการ
ประชุมคณะรัฐมนตรีบนรถไฟ ว่าประชาชนมีเหตุผลที่เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยต่อการประชุมคณะรัฐมนตรีในครั้งนี้อย่างไร
และความเห็นในการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจรภาคอื่น ๆ ในอนาคต
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครอง
ในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 30 เขต ดังนี้
คลองเตย คลองสามวา คันนายาว จตุจักร ดอนเมือง ดินแดง ดุสิต ตลิ่งชัน ทวีวัฒนา ทุ่งครุ ธนบุรี
บางกะปิ บางขุนเทียน บางเขน บางแค บางนา บางพลัด ปทุมวัน ประเวศ พญาไท พระนคร มีนบุรี ยานนาวา
ลาดกระบัง ลาดพร้าว วังทองหลาง สวนหลวง สะพานสูง สัมพันธวงศ์ สาทร
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้ตัวอย่าง
ทั้งสิ้นจำนวน 1,199 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ประชาชนคิด
อย่างไรกับการประชุมคณะรัฐมนตรีบนรถไฟ"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
10 - 11 พฤศจิกายน 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
12 พฤศจิกายน 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป
อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,199 คน
เป็นชายร้อยละ 52.8 เป็นหญิงร้อยละ 47.2
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 17.0 มีอายุระหว่าง 18 - 25 ปี
ร้อยละ 33.7 มีอายุระหว่าง 26 - 35 ปี
ร้อยละ 37.4 มีอายุระหว่าง 36 - 45 ปี
และร้อยละ 11.9 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
สำหรับระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 72.0 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 28.0 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพ รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนัก
งานบริษัทเอกชน
เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย นักศึกษา และแม่บ้าน
2. เมื่อถามถึงความเห็นการประชุมคณะรัฐมนตรีบนรถไฟ
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 60.1 ไม่เห็นด้วย
ร้อยละ 33.8 ระบุว่าเห็นด้วย
และร้อยละ 6.2 ไม่มีความเห็น
3. เหตุผลสำคัญของผู้ไม่เห็นด้วยกับประชุมคณะรัฐมนตรีบนรถไฟ คือ
ร้อยละ 63.3 ระบุว่าเป็นการสิ้นเปลือง ผลที่ได้ไม่คุ้มเสีย
ร้อยละ 47.1 ระบุว่าทำแค่เพียงการประชาสัมพันธ์ สร้างภาพ
ร้อยละ 37.8 ระบุว่ายากแก่การรักษาความปลอดภัย
ร้อยละ 27.4 ระบุว่าสถานที่ไม่เหมาะสมกับการประชุม คับแคบ โคลงเคลง
ร้อยละ 13.8 ระบุว่าเสียงดังรบกวน
4. ส่วนเหตุผลสำคัญที่กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยกับประชุมคณะรัฐมนตรีบนรถไฟ คือ
ร้อยละ 66.2 ระบุว่าทำให้เห็นสภาพความเป็นอยู่ที่แท้จริงของประชาชน
ร้อยละ 50.9 ระบุว่าสามารถรับรู้ปัญหาต่าง ๆ ได้ตรงกับข้อเท็จจริง
ร้อยละ 33.6 ระบุว่ามีโอกาสได้ตรวจงานในโครงการต่าง ๆ
ร้อยละ 19.3 ระบุว่าได้เปลี่ยนบรรยากาศ
ร้อยละ 17.8 ระบุว่าเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยว
5. สำหรับส่วนคำถามว่าเห็นด้วยหรือไม่ ถ้ามีการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจรในภาคอื่น ๆ อีก
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 32.9 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 44.8 ระบุไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 22.4 ไม่มีความเห็น
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 633 52.8
หญิง 566 47.2
อายุ :
18 - 25 ปี 204 17
26 - 35 ปี 404 33.7
36 - 45 ปี 448 37.4
มากกว่า 45 ปี 143 11.9
การศึกษา :
ประถมศึกษา 74 6.2
มัธยมศึกษา 234 19.5
ปวช. 303 25.3
ปวส./อนุปริญญา 252 21
ปริญญาตรี 300 25
สูงกว่าปริญญาตรี 36 3
อาชีพ :
รับราชการ 53 4.4
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 40 3.3
พนักงานเอกชน 511 42.6
เจ้าของกิจการ 80 6.7
รับจ้างทั่วไป 122 10.2
ค้าขาย 192 16
นักศึกษา 93 7.8
แม่บ้าน 68 5.7
อาชีพอื่น ๆ 40 3.3
ตารางที่ 2 ท่านมีความเห็นอย่างไรกับการประชุมคณะรัฐมนตรีบนรถไฟ
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 405 33.8
ไม่เห็นด้วย 720 60.1
ไม่มีความเห็น 74 6.2
ตารางที่ 3 เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยกับว่าการประชุมคณะรัฐมนตรีบนรถไฟ
ร้อยละ
เป็นการสิ้นเปลือง ผลที่ได้ไม่คุ้มเสีย 63.3
ทำแค่เพียงการประชาสัมพันธ์ สร้างภาพ 47.1
ยากแก่การรักษาความปลอดภัย 37.8
สถานที่ไม่เหมาะสมกับการประชุม คับแคบ โคลงเคลง 27.4
เสียงดังรบกวน 13.8
อื่น ๆ 0.7
ตารางที่ 4 เหตุผลที่เห็นด้วยกับการประชุมคณะรัฐมนตรีบนรถไฟ
เหตุผล ร้อยละ
ทำให้เห็นสภาพความเป็นอยู่ที่แท้จริงของประชาชน 66.2
สามารถรับรู้ปัญหาต่าง ๆ ได้ตรงกับข้อเท็จจริง 50.9
มีโอกาสได้ตรวจงานในโครงการต่าง ๆ 33.6
เปลี่ยนบรรยากาศ 19.3
ส่งเสริมการท่องเที่ยว 17.8
อื่น ๆ 4
ตารางที่ 5 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ ถ้ามีการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจรในภาคอื่น ๆ อีก (ประชุมต่างจังหวัด)
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 394 32.9
ไม่เห็นด้วย 537 44.8
ไม่มีความเห็น 268 22.4
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับการ
ประชุมคณะรัฐมนตรีบนรถไฟ ว่าประชาชนมีเหตุผลที่เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยต่อการประชุมคณะรัฐมนตรีในครั้งนี้อย่างไร
และความเห็นในการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจรภาคอื่น ๆ ในอนาคต
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครอง
ในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 30 เขต ดังนี้
คลองเตย คลองสามวา คันนายาว จตุจักร ดอนเมือง ดินแดง ดุสิต ตลิ่งชัน ทวีวัฒนา ทุ่งครุ ธนบุรี
บางกะปิ บางขุนเทียน บางเขน บางแค บางนา บางพลัด ปทุมวัน ประเวศ พญาไท พระนคร มีนบุรี ยานนาวา
ลาดกระบัง ลาดพร้าว วังทองหลาง สวนหลวง สะพานสูง สัมพันธวงศ์ สาทร
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้ตัวอย่าง
ทั้งสิ้นจำนวน 1,199 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ประชาชนคิด
อย่างไรกับการประชุมคณะรัฐมนตรีบนรถไฟ"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
10 - 11 พฤศจิกายน 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
12 พฤศจิกายน 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป
อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,199 คน
เป็นชายร้อยละ 52.8 เป็นหญิงร้อยละ 47.2
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 17.0 มีอายุระหว่าง 18 - 25 ปี
ร้อยละ 33.7 มีอายุระหว่าง 26 - 35 ปี
ร้อยละ 37.4 มีอายุระหว่าง 36 - 45 ปี
และร้อยละ 11.9 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
สำหรับระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 72.0 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 28.0 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพ รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนัก
งานบริษัทเอกชน
เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย นักศึกษา และแม่บ้าน
2. เมื่อถามถึงความเห็นการประชุมคณะรัฐมนตรีบนรถไฟ
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 60.1 ไม่เห็นด้วย
ร้อยละ 33.8 ระบุว่าเห็นด้วย
และร้อยละ 6.2 ไม่มีความเห็น
3. เหตุผลสำคัญของผู้ไม่เห็นด้วยกับประชุมคณะรัฐมนตรีบนรถไฟ คือ
ร้อยละ 63.3 ระบุว่าเป็นการสิ้นเปลือง ผลที่ได้ไม่คุ้มเสีย
ร้อยละ 47.1 ระบุว่าทำแค่เพียงการประชาสัมพันธ์ สร้างภาพ
ร้อยละ 37.8 ระบุว่ายากแก่การรักษาความปลอดภัย
ร้อยละ 27.4 ระบุว่าสถานที่ไม่เหมาะสมกับการประชุม คับแคบ โคลงเคลง
ร้อยละ 13.8 ระบุว่าเสียงดังรบกวน
4. ส่วนเหตุผลสำคัญที่กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยกับประชุมคณะรัฐมนตรีบนรถไฟ คือ
ร้อยละ 66.2 ระบุว่าทำให้เห็นสภาพความเป็นอยู่ที่แท้จริงของประชาชน
ร้อยละ 50.9 ระบุว่าสามารถรับรู้ปัญหาต่าง ๆ ได้ตรงกับข้อเท็จจริง
ร้อยละ 33.6 ระบุว่ามีโอกาสได้ตรวจงานในโครงการต่าง ๆ
ร้อยละ 19.3 ระบุว่าได้เปลี่ยนบรรยากาศ
ร้อยละ 17.8 ระบุว่าเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยว
5. สำหรับส่วนคำถามว่าเห็นด้วยหรือไม่ ถ้ามีการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจรในภาคอื่น ๆ อีก
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 32.9 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 44.8 ระบุไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 22.4 ไม่มีความเห็น
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 633 52.8
หญิง 566 47.2
อายุ :
18 - 25 ปี 204 17
26 - 35 ปี 404 33.7
36 - 45 ปี 448 37.4
มากกว่า 45 ปี 143 11.9
การศึกษา :
ประถมศึกษา 74 6.2
มัธยมศึกษา 234 19.5
ปวช. 303 25.3
ปวส./อนุปริญญา 252 21
ปริญญาตรี 300 25
สูงกว่าปริญญาตรี 36 3
อาชีพ :
รับราชการ 53 4.4
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 40 3.3
พนักงานเอกชน 511 42.6
เจ้าของกิจการ 80 6.7
รับจ้างทั่วไป 122 10.2
ค้าขาย 192 16
นักศึกษา 93 7.8
แม่บ้าน 68 5.7
อาชีพอื่น ๆ 40 3.3
ตารางที่ 2 ท่านมีความเห็นอย่างไรกับการประชุมคณะรัฐมนตรีบนรถไฟ
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 405 33.8
ไม่เห็นด้วย 720 60.1
ไม่มีความเห็น 74 6.2
ตารางที่ 3 เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยกับว่าการประชุมคณะรัฐมนตรีบนรถไฟ
ร้อยละ
เป็นการสิ้นเปลือง ผลที่ได้ไม่คุ้มเสีย 63.3
ทำแค่เพียงการประชาสัมพันธ์ สร้างภาพ 47.1
ยากแก่การรักษาความปลอดภัย 37.8
สถานที่ไม่เหมาะสมกับการประชุม คับแคบ โคลงเคลง 27.4
เสียงดังรบกวน 13.8
อื่น ๆ 0.7
ตารางที่ 4 เหตุผลที่เห็นด้วยกับการประชุมคณะรัฐมนตรีบนรถไฟ
เหตุผล ร้อยละ
ทำให้เห็นสภาพความเป็นอยู่ที่แท้จริงของประชาชน 66.2
สามารถรับรู้ปัญหาต่าง ๆ ได้ตรงกับข้อเท็จจริง 50.9
มีโอกาสได้ตรวจงานในโครงการต่าง ๆ 33.6
เปลี่ยนบรรยากาศ 19.3
ส่งเสริมการท่องเที่ยว 17.8
อื่น ๆ 4
ตารางที่ 5 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ ถ้ามีการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจรในภาคอื่น ๆ อีก (ประชุมต่างจังหวัด)
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 394 32.9
ไม่เห็นด้วย 537 44.8
ไม่มีความเห็น 268 22.4
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--