วัตถุประสงค์ของการสำรวจ :
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับประเด็น
ที่สหรัฐอเมริกาจะโจมตีกลุ่มก่อการร้ายในประเทศอัฟกานิสถาน ความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยและสหรัฐอเมริกาในการต่อ
ต้านผู้ก่อการร้ายระหว่างประเทศ ตลอดจนความมั่นใจในการป้องกันการก่อการร้ายจากต่างประเทศ
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครอง
ในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 33 เขต ดังนี้
คลองเตย คลองสามวา จตุจักร จอมทอง ดอนเมือง ดินแดง ดุสิต ทุ่งครุ ธนบุรี บางกอกน้อย
บางกะปิ บางเขน บางคอแหลม บางแค บางนา บางพลัด บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ ป้อมปราบฯ
พญาไท พระโขนง ภาษีเจริญ มีนบุรี ราษฎร์บูรณะ วังทองหลาง วัฒนา สวนหลวง สัมพันธวงศ์ สาทร หลักสี่
ห้วยขวาง
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้ตัวอย่างทั้ง
สิ้นจำนวน 1,319 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ประชาชนคิด
อย่างไรกับการโจมตีกลุ่มก่อการร้ายในประเทศอัฟกานิสถาน"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
18-19 กันยายน 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
20 กันยายน 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพ
มหานคร จำนวน 1,319 คน
เป็นชายร้อยละ 53.1 เป็นหญิงร้อยละ 46.9
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 17.1 มีอายุระหว่าง 18 - 25 ปี
ร้อยละ 36.9 มีอายุระหว่าง 26 - 35 ปี
ร้อยละ 37.1 มีอายุระหว่าง 36 - 45 ปี
และร้อยละ 8.8 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
สำหรับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 63.9 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 36.0 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพ รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัทเอกชน เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย นักศึกษา และแม่บ้าน
2. เมื่อสอบถามว่าเห็นด้วยหรือไม่ ที่สหรัฐอเมริกาจะโจมตีกลุ่มก่อการร้ายที่ประเทศอัฟกานิสถานถ้ารัฐบาล
อัฟกานิสถานไม่ส่งผู้ต้องสงสัยให้สหรัฐอเมริกา
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 63.8 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 26.9 ไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 9.3 ไม่มีความเห็น
3. สำหรับคำถามว่าเห็นด้วยหรือไม่ ที่รัฐบาลไทยให้ความร่วมมือสหรัฐอเมริกา ต่อต้านผู้ก่อการร้ายระหว่าง
ประเทศ
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 68.1 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 24.0 ไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 8.0 ไม่มีความเห็น
4. ส่วนคำถามว่าเห็นด้วยหรือไม่ ถ้ารัฐบาลไทยให้สหรัฐอเมริกาใช้สนามบินในประเทศไทยเป็นฐานในการส่ง
กำลังบำรุง โจมตีกลุ่มก่อการร้ายในประเทศอัฟกานิสถาน
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 40.3 ระบุว่าไม่เห็นด้วย
ร้อยละ 38.5 เห็นด้วย
และร้อยละ 21.2 ไม่มีความเห็น
5. เมื่อถามว่ามั่นใจหรือไม่ว่า สหรัฐอเมริกาสามารถจะจัดการกับกลุ่มก่อการร้ายในอัฟกานิสถานให้หมดไปได้
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 54.7 ระบุว่ามั่นใจ
ร้อยละ 35.3 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 10.1 ไม่มีความเห็น
6. สำหรับคำถามว่ามั่นใจหรือไม่ว่า จะไม่มีผู้ก่อการร้ายระหว่างประเทศเข้ามาแอบแฝงตัวอยู่ในประเทศไทย
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 59.6 ระบุว่าไม่มั่นใจ
ร้อยละ 23.0 มั่นใจ
และร้อยละ 17.4 ไม่มีความเห็น
7. เมื่อถามว่ามั่นใจหรือไม่ว่า รัฐบาลไทยสามารถป้องกันการก่อการร้ายจากต่างประเทศได้
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 54.1 ระบุว่าไม่มั่นใจ
ร้อยละ 31.2 มั่นใจ
และร้อยละ 14.7 ไม่มีความเห็น
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 701 53.1
หญิง 618 46.9
อายุ :
18 - 25 ปี 226 17.1
26 - 35 ปี 487 36.9
36 - 45 ปี 490 37.1
มากกว่า 45 ปี 116 8.8
การศึกษา :
ประถมศึกษา 56 4.2
มัธยมศึกษา 209 15.8
ปวช. 313 23.7
ปวส./อนุปริญญา 266 20.2
ปริญญาตรี 428 32.4
สูงกว่าปริญญาตรี 47 3.6
อาชีพ :
รับราชการ 71 5.4
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 99 7.5
พนักงานเอกชน 454 34.4
เจ้าของกิจการ 91 6.9
รับจ้างทั่วไป 146 11.1
ค้าขาย 205 15.5
นักศึกษา 126 9.6
แม่บ้าน 91 6.9
อาชีพอื่น ๆ 36 2.7
ตารางที่ 2 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ ที่สหรัฐอเมริกาจะโจมตีกลุ่มก่อการร้ายที่ประเทศอัฟกานิสถาน ถ้ารัฐบาลอัฟกา
นิสถานไม่ส่งผู้ต้องสงสัยให้สหรัฐอเมริกา
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 841 63.8
ไม่เห็นด้วย 355 26.9
ไม่มีความเห็น 123 9.3
ตารางที่ 3 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ ที่รัฐบาลไทยให้ความร่วมมือสหรัฐอเมริกา ต่อต้านผู้ก่อการร้ายระหว่างประเทศ
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 898 68.1
ไม่เห็นด้วย 316 24
ไม่มีความเห็น 105 8
ตารางที่ 4 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ ถ้ารัฐบาลไทยให้สหรัฐอเมริกาใช้สนามบินในประเทศไทยเป็นฐานในการส่งกำ
ลังบำรุงโจมตีกลุ่มก่อการร้ายในประเทศอัฟกานิสถาน
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 508 38.5
ไม่เห็นด้วย 532 40.3
ไม่มีความเห็น 279 21.2
ตารางที่ 5 ท่านมั่นใจหรือไม่ว่า สหรัฐอเมริกาสามารถจะจัดการกับกลุ่มก่อการร้ายในอัฟกานิสถานให้หมดไปได้
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 721 54.7
ไม่มั่นใจ 465 35.3
ไม่มีความเห็น 133 10.1
ตารางที่ 6 ท่านมั่นใจหรือไม่ว่า จะไม่มีผู้ก่อการร้ายระหว่างประเทศเข้ามาแอบแฝงตัวอยู่ในประเทศไทย
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 303 23
ไม่มั่นใจ 786 59.6
ไม่มีความเห็น 230 17.4
ตารางที่ 7 ท่านมั่นใจหรือไม่ว่า รัฐบาลไทยสามารถป้องกันการก่อการร้ายจากต่างประเทศได้
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 412 31.2
ไม่มั่นใจ 713 54.1
ไม่มีความเห็น 194 14.7
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับประเด็น
ที่สหรัฐอเมริกาจะโจมตีกลุ่มก่อการร้ายในประเทศอัฟกานิสถาน ความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยและสหรัฐอเมริกาในการต่อ
ต้านผู้ก่อการร้ายระหว่างประเทศ ตลอดจนความมั่นใจในการป้องกันการก่อการร้ายจากต่างประเทศ
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครอง
ในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 33 เขต ดังนี้
คลองเตย คลองสามวา จตุจักร จอมทอง ดอนเมือง ดินแดง ดุสิต ทุ่งครุ ธนบุรี บางกอกน้อย
บางกะปิ บางเขน บางคอแหลม บางแค บางนา บางพลัด บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ ป้อมปราบฯ
พญาไท พระโขนง ภาษีเจริญ มีนบุรี ราษฎร์บูรณะ วังทองหลาง วัฒนา สวนหลวง สัมพันธวงศ์ สาทร หลักสี่
ห้วยขวาง
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้ตัวอย่างทั้ง
สิ้นจำนวน 1,319 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ประชาชนคิด
อย่างไรกับการโจมตีกลุ่มก่อการร้ายในประเทศอัฟกานิสถาน"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
18-19 กันยายน 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
20 กันยายน 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพ
มหานคร จำนวน 1,319 คน
เป็นชายร้อยละ 53.1 เป็นหญิงร้อยละ 46.9
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 17.1 มีอายุระหว่าง 18 - 25 ปี
ร้อยละ 36.9 มีอายุระหว่าง 26 - 35 ปี
ร้อยละ 37.1 มีอายุระหว่าง 36 - 45 ปี
และร้อยละ 8.8 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
สำหรับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 63.9 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 36.0 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพ รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัทเอกชน เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย นักศึกษา และแม่บ้าน
2. เมื่อสอบถามว่าเห็นด้วยหรือไม่ ที่สหรัฐอเมริกาจะโจมตีกลุ่มก่อการร้ายที่ประเทศอัฟกานิสถานถ้ารัฐบาล
อัฟกานิสถานไม่ส่งผู้ต้องสงสัยให้สหรัฐอเมริกา
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 63.8 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 26.9 ไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 9.3 ไม่มีความเห็น
3. สำหรับคำถามว่าเห็นด้วยหรือไม่ ที่รัฐบาลไทยให้ความร่วมมือสหรัฐอเมริกา ต่อต้านผู้ก่อการร้ายระหว่าง
ประเทศ
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 68.1 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 24.0 ไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 8.0 ไม่มีความเห็น
4. ส่วนคำถามว่าเห็นด้วยหรือไม่ ถ้ารัฐบาลไทยให้สหรัฐอเมริกาใช้สนามบินในประเทศไทยเป็นฐานในการส่ง
กำลังบำรุง โจมตีกลุ่มก่อการร้ายในประเทศอัฟกานิสถาน
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 40.3 ระบุว่าไม่เห็นด้วย
ร้อยละ 38.5 เห็นด้วย
และร้อยละ 21.2 ไม่มีความเห็น
5. เมื่อถามว่ามั่นใจหรือไม่ว่า สหรัฐอเมริกาสามารถจะจัดการกับกลุ่มก่อการร้ายในอัฟกานิสถานให้หมดไปได้
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 54.7 ระบุว่ามั่นใจ
ร้อยละ 35.3 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 10.1 ไม่มีความเห็น
6. สำหรับคำถามว่ามั่นใจหรือไม่ว่า จะไม่มีผู้ก่อการร้ายระหว่างประเทศเข้ามาแอบแฝงตัวอยู่ในประเทศไทย
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 59.6 ระบุว่าไม่มั่นใจ
ร้อยละ 23.0 มั่นใจ
และร้อยละ 17.4 ไม่มีความเห็น
7. เมื่อถามว่ามั่นใจหรือไม่ว่า รัฐบาลไทยสามารถป้องกันการก่อการร้ายจากต่างประเทศได้
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 54.1 ระบุว่าไม่มั่นใจ
ร้อยละ 31.2 มั่นใจ
และร้อยละ 14.7 ไม่มีความเห็น
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 701 53.1
หญิง 618 46.9
อายุ :
18 - 25 ปี 226 17.1
26 - 35 ปี 487 36.9
36 - 45 ปี 490 37.1
มากกว่า 45 ปี 116 8.8
การศึกษา :
ประถมศึกษา 56 4.2
มัธยมศึกษา 209 15.8
ปวช. 313 23.7
ปวส./อนุปริญญา 266 20.2
ปริญญาตรี 428 32.4
สูงกว่าปริญญาตรี 47 3.6
อาชีพ :
รับราชการ 71 5.4
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 99 7.5
พนักงานเอกชน 454 34.4
เจ้าของกิจการ 91 6.9
รับจ้างทั่วไป 146 11.1
ค้าขาย 205 15.5
นักศึกษา 126 9.6
แม่บ้าน 91 6.9
อาชีพอื่น ๆ 36 2.7
ตารางที่ 2 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ ที่สหรัฐอเมริกาจะโจมตีกลุ่มก่อการร้ายที่ประเทศอัฟกานิสถาน ถ้ารัฐบาลอัฟกา
นิสถานไม่ส่งผู้ต้องสงสัยให้สหรัฐอเมริกา
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 841 63.8
ไม่เห็นด้วย 355 26.9
ไม่มีความเห็น 123 9.3
ตารางที่ 3 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ ที่รัฐบาลไทยให้ความร่วมมือสหรัฐอเมริกา ต่อต้านผู้ก่อการร้ายระหว่างประเทศ
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 898 68.1
ไม่เห็นด้วย 316 24
ไม่มีความเห็น 105 8
ตารางที่ 4 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ ถ้ารัฐบาลไทยให้สหรัฐอเมริกาใช้สนามบินในประเทศไทยเป็นฐานในการส่งกำ
ลังบำรุงโจมตีกลุ่มก่อการร้ายในประเทศอัฟกานิสถาน
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 508 38.5
ไม่เห็นด้วย 532 40.3
ไม่มีความเห็น 279 21.2
ตารางที่ 5 ท่านมั่นใจหรือไม่ว่า สหรัฐอเมริกาสามารถจะจัดการกับกลุ่มก่อการร้ายในอัฟกานิสถานให้หมดไปได้
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 721 54.7
ไม่มั่นใจ 465 35.3
ไม่มีความเห็น 133 10.1
ตารางที่ 6 ท่านมั่นใจหรือไม่ว่า จะไม่มีผู้ก่อการร้ายระหว่างประเทศเข้ามาแอบแฝงตัวอยู่ในประเทศไทย
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 303 23
ไม่มั่นใจ 786 59.6
ไม่มีความเห็น 230 17.4
ตารางที่ 7 ท่านมั่นใจหรือไม่ว่า รัฐบาลไทยสามารถป้องกันการก่อการร้ายจากต่างประเทศได้
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 412 31.2
ไม่มั่นใจ 713 54.1
ไม่มีความเห็น 194 14.7
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--