วัตถุประสงค์ของการสำรวจ :
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของคนกทม. ว่าคิดอย่างไรต่อ การเยือนประเทศ
พม่าของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ความคิดเห็นเกี่ยวกับการแก้ปัญหาแนวเขตแดน ปัญหาการขนยาเสพย์ติดเข้าประเทศไทย
และสาเหตุที่ทำให้เกิดความขัดแย้งระหว่างประเทศ
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครอง
ในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 32 เขต ดังนี้
คลองเตย คันนายาว ดุสิต ตลิ่งชัน ทุ่งครุ บางกอกใหญ่ บางกะปิ บางเขน บางคอแหลม บางแค บางซื่อ
บางนา บางบอน บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ พญาไท พระโขนง ราชเทวี ราษฎร์บูรณะ ลาดกระบัง ลาดพร้าว
วังทองหลาง วัฒนา สวนหลวง สะพานสูง สัมพันธวงศ์ สาทร สายไหม หลักสี่ ห้วยขวาง
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามเพศ และอาชีพ ได้ตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน
1,297 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "คิดอย่างไรกับ
การเยือนประเทศพม่าของนายกรัฐมนตรี"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
18 มิถุนายน 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
19 มิถุนายน 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพ
มหานคร เป็นชายร้อยละ 52.4 เป็นหญิงร้อยละ 47.6 กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 73.7 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ที่เหลือ
ร้อยละ 26.0 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพ รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานบริษัทเอกชน
เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย นักศึกษา และแม่บ้าน เป็นต้น
2. เมื่อถามว่าเห็นด้วยหรือไม่ที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เดินทางไปกระชับ ความสัมพันธ์กับประ
เทศพม่า
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 72.6 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 17.0 ระบุว่าไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 10.4 ไม่มีความเห็น
3. สำหรับคำถามเห็นด้วยหรือไม่ว่า การขัดแย้งระหว่างไทยกับพม่าเกิดจากความหวาดระแวงสงสัย และไม่
จริงใจต่อกัน
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 57.6 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 25.8 ระบุว่าไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 16.6 ไม่มีความเห็น
4. เมื่อถามว่า มั่นใจหรือไม่ว่าการไปเยือนประเทศพม่าของนายกรัฐมนตรี จะแก้ไขปัญหาแนวชายแดนได้
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 38.1 มั่นใจ
ร้อยละ 48.7 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 13.2 ไม่มีความเห็น
5. ส่วนคำถามมั่นใจหรือไม่ว่า การไปเยือนประเทศพม่าของนายกรัฐมนตรี จะช่วยขจัดปัญหาการขนยาเสพย์ติด
เข้าประเทศไทยได้
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 28.3 มั่นใจ
ร้อยละ 57.7 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 14.0 ไม่มีความเห็น
6. เมื่อถามว่า ความขัดแย้งระหว่างไทยกับพม่าเกิดมาจากสาเหตุใดนั้น กลุ่มตัวอย่างระบุเหตุผลดังนี้
- ร้อยละ 36.5 เกิดจากสาเหตุ ปัญหาเรื่องยาเสพย์ติด
- ร้อยละ 31.8 เกิดจากสาเหตุ ปัญหาชนกลุ่มน้อยตามแนวชายแดน
- ร้อยละ 14.1 เกิดจากสาเหตุ ปัญหาเขตแดนไม่ชัดเจน
- ร้อยละ 6.4 เกิดจากสาเหตุ ปัญหาการค้าตามแนวชายแดน
- ร้อยละ 5.0 เกิดจากสาเหตุ ประวัติศาสตร์ในอดีต
7. สำหรับคำถามว่า ท่านคิดว่าการไปเยือนประเทศพม่าของนายกรัฐมนตรีจะทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ไทยกับพม่าเป็นเช่นไร
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 57.1 ระบุว่าดีขึ้น เพราะจะได้มีการเจรจาแก้ปัญหาต่าง ๆ เกิดขึ้น
และเพื่อเป็นการลดความตรึงเครียดระหว่างประเทศ
ร้อยละ 33.0 ระบุว่าเหมือนเดิม เพราะขาดความจริงใจในการร่วมกันแก้ปัญหา
และปัญหาต่าง ๆที่เกิดขึ้นคงต้องใช้เวลาในการแก้ไข
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 680 52.4
หญิง 617 47.6
อายุ :
18 - 25 ปี 230 17.7
26 - 35 ปี 449 34.6
36 - 45 ปี 478 36.9
มากกว่า 45 ปี 136 10.5
ไม่ระบุ 4 0.3
การศึกษา :
ประถมศึกษา 137 10.6
มัธยมศึกษา 208 16
ปวช. 308 23.7
ปวส./อนุปริญญา 303 23.4
ปริญญาตรี 300 23.1
สูงกว่าปริญญาตรี 37 2.9
ไม่ระบุ 4 0.3
อาชีพ :
รับราชการ 93 7.2
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 75 5.8
พนักงานเอกชน 320 24.7
เจ้าของกิจการ 119 9.2
รับจ้างทั่วไป 228 17.6
ค้าขาย 188 14.5
นักศึกษา 153 11.8
แม่บ้าน 90 6.9
อาชีพอื่น ๆ 31 2.4
ตารางที่ 2 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ ที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เดินทางไปกระชับ
ความสัมพันธ์กับประเทศพม่า ในวันที่ 19 - 20 มิถุนายนนี้
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 942 72.6
ไม่เห็นด้วย 220 17
ไม่มีความเห็น 135 10.4
ตารางที่ 3 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ว่า การขัดแย้งระหว่างไทยกับพม่าเกิดจากการหวาดระแวงสงสัย และไม่จริง
ใจต่อกัน
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 747 57.6
ไม่เห็นด้วย 335 25.8
ไม่มีความเห็น 215 16.6
ตารางที่ 4 ท่านมั่นใจหรือไม่ว่า การไปเยือนประเทศพม่าของนายกรัฐมนตรี จะแก้ไขปัญหาแนวเขตแดนได้
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 494 38.1
ไม่มั่นใจ 631 48.7
ไม่มีความเห็น 172 13.2
ตารางที่ 5 ท่านมั่นใจหรือไม่ว่า การไปเยือนประเทศพม่าของนายกรัฐมนตรี จะช่วยขจัดปัญหาการขนยาเสพย์ติด
เข้าประเทศไทยได้
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 367 28.3
ไม่มั่นใจ 749 57.7
ไม่มีความเห็น 181 14
ตารางที่ 6 ความขัดแย้งระหว่างไทยกับพม่าเกิดจากสาเหตุใดมากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
ปัญหาเรื่องยาเสพย์ติด 474 36.5
ปัญหาชนกลุ่มน้อยตามแนวชายแดน 413 31.8
ปัญหาเขตแดนไม่ชัดเจน 183 14.1
ปัญหาการการค้าตามแนวชายแดน 83 6.4
ประวัติศาสตร์ในอดีต 65 5
รูปแบบการปกครองที่แตกต่างกัน 56 4.3
อื่น ๆ 23 1.8
ตารางที่ 7 ท่านคิดว่าการไปเยือนประเทศพม่าของนายกรัฐมนตรีจะทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับพม่าเป็น
เช่นไร
จำนวน ร้อยละ
ดีขึ้น 741 57.1
เหมือนเดิม 428 33
อื่น ๆ 128 9.9
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของคนกทม. ว่าคิดอย่างไรต่อ การเยือนประเทศ
พม่าของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ความคิดเห็นเกี่ยวกับการแก้ปัญหาแนวเขตแดน ปัญหาการขนยาเสพย์ติดเข้าประเทศไทย
และสาเหตุที่ทำให้เกิดความขัดแย้งระหว่างประเทศ
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครอง
ในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 32 เขต ดังนี้
คลองเตย คันนายาว ดุสิต ตลิ่งชัน ทุ่งครุ บางกอกใหญ่ บางกะปิ บางเขน บางคอแหลม บางแค บางซื่อ
บางนา บางบอน บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ พญาไท พระโขนง ราชเทวี ราษฎร์บูรณะ ลาดกระบัง ลาดพร้าว
วังทองหลาง วัฒนา สวนหลวง สะพานสูง สัมพันธวงศ์ สาทร สายไหม หลักสี่ ห้วยขวาง
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามเพศ และอาชีพ ได้ตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน
1,297 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "คิดอย่างไรกับ
การเยือนประเทศพม่าของนายกรัฐมนตรี"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
18 มิถุนายน 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
19 มิถุนายน 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพ
มหานคร เป็นชายร้อยละ 52.4 เป็นหญิงร้อยละ 47.6 กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 73.7 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ที่เหลือ
ร้อยละ 26.0 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพ รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานบริษัทเอกชน
เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย นักศึกษา และแม่บ้าน เป็นต้น
2. เมื่อถามว่าเห็นด้วยหรือไม่ที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เดินทางไปกระชับ ความสัมพันธ์กับประ
เทศพม่า
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 72.6 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 17.0 ระบุว่าไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 10.4 ไม่มีความเห็น
3. สำหรับคำถามเห็นด้วยหรือไม่ว่า การขัดแย้งระหว่างไทยกับพม่าเกิดจากความหวาดระแวงสงสัย และไม่
จริงใจต่อกัน
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 57.6 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 25.8 ระบุว่าไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 16.6 ไม่มีความเห็น
4. เมื่อถามว่า มั่นใจหรือไม่ว่าการไปเยือนประเทศพม่าของนายกรัฐมนตรี จะแก้ไขปัญหาแนวชายแดนได้
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 38.1 มั่นใจ
ร้อยละ 48.7 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 13.2 ไม่มีความเห็น
5. ส่วนคำถามมั่นใจหรือไม่ว่า การไปเยือนประเทศพม่าของนายกรัฐมนตรี จะช่วยขจัดปัญหาการขนยาเสพย์ติด
เข้าประเทศไทยได้
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 28.3 มั่นใจ
ร้อยละ 57.7 ไม่มั่นใจ
และร้อยละ 14.0 ไม่มีความเห็น
6. เมื่อถามว่า ความขัดแย้งระหว่างไทยกับพม่าเกิดมาจากสาเหตุใดนั้น กลุ่มตัวอย่างระบุเหตุผลดังนี้
- ร้อยละ 36.5 เกิดจากสาเหตุ ปัญหาเรื่องยาเสพย์ติด
- ร้อยละ 31.8 เกิดจากสาเหตุ ปัญหาชนกลุ่มน้อยตามแนวชายแดน
- ร้อยละ 14.1 เกิดจากสาเหตุ ปัญหาเขตแดนไม่ชัดเจน
- ร้อยละ 6.4 เกิดจากสาเหตุ ปัญหาการค้าตามแนวชายแดน
- ร้อยละ 5.0 เกิดจากสาเหตุ ประวัติศาสตร์ในอดีต
7. สำหรับคำถามว่า ท่านคิดว่าการไปเยือนประเทศพม่าของนายกรัฐมนตรีจะทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ไทยกับพม่าเป็นเช่นไร
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 57.1 ระบุว่าดีขึ้น เพราะจะได้มีการเจรจาแก้ปัญหาต่าง ๆ เกิดขึ้น
และเพื่อเป็นการลดความตรึงเครียดระหว่างประเทศ
ร้อยละ 33.0 ระบุว่าเหมือนเดิม เพราะขาดความจริงใจในการร่วมกันแก้ปัญหา
และปัญหาต่าง ๆที่เกิดขึ้นคงต้องใช้เวลาในการแก้ไข
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 680 52.4
หญิง 617 47.6
อายุ :
18 - 25 ปี 230 17.7
26 - 35 ปี 449 34.6
36 - 45 ปี 478 36.9
มากกว่า 45 ปี 136 10.5
ไม่ระบุ 4 0.3
การศึกษา :
ประถมศึกษา 137 10.6
มัธยมศึกษา 208 16
ปวช. 308 23.7
ปวส./อนุปริญญา 303 23.4
ปริญญาตรี 300 23.1
สูงกว่าปริญญาตรี 37 2.9
ไม่ระบุ 4 0.3
อาชีพ :
รับราชการ 93 7.2
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 75 5.8
พนักงานเอกชน 320 24.7
เจ้าของกิจการ 119 9.2
รับจ้างทั่วไป 228 17.6
ค้าขาย 188 14.5
นักศึกษา 153 11.8
แม่บ้าน 90 6.9
อาชีพอื่น ๆ 31 2.4
ตารางที่ 2 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ ที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เดินทางไปกระชับ
ความสัมพันธ์กับประเทศพม่า ในวันที่ 19 - 20 มิถุนายนนี้
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 942 72.6
ไม่เห็นด้วย 220 17
ไม่มีความเห็น 135 10.4
ตารางที่ 3 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ว่า การขัดแย้งระหว่างไทยกับพม่าเกิดจากการหวาดระแวงสงสัย และไม่จริง
ใจต่อกัน
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 747 57.6
ไม่เห็นด้วย 335 25.8
ไม่มีความเห็น 215 16.6
ตารางที่ 4 ท่านมั่นใจหรือไม่ว่า การไปเยือนประเทศพม่าของนายกรัฐมนตรี จะแก้ไขปัญหาแนวเขตแดนได้
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 494 38.1
ไม่มั่นใจ 631 48.7
ไม่มีความเห็น 172 13.2
ตารางที่ 5 ท่านมั่นใจหรือไม่ว่า การไปเยือนประเทศพม่าของนายกรัฐมนตรี จะช่วยขจัดปัญหาการขนยาเสพย์ติด
เข้าประเทศไทยได้
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 367 28.3
ไม่มั่นใจ 749 57.7
ไม่มีความเห็น 181 14
ตารางที่ 6 ความขัดแย้งระหว่างไทยกับพม่าเกิดจากสาเหตุใดมากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
ปัญหาเรื่องยาเสพย์ติด 474 36.5
ปัญหาชนกลุ่มน้อยตามแนวชายแดน 413 31.8
ปัญหาเขตแดนไม่ชัดเจน 183 14.1
ปัญหาการการค้าตามแนวชายแดน 83 6.4
ประวัติศาสตร์ในอดีต 65 5
รูปแบบการปกครองที่แตกต่างกัน 56 4.3
อื่น ๆ 23 1.8
ตารางที่ 7 ท่านคิดว่าการไปเยือนประเทศพม่าของนายกรัฐมนตรีจะทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับพม่าเป็น
เช่นไร
จำนวน ร้อยละ
ดีขึ้น 741 57.1
เหมือนเดิม 428 33
อื่น ๆ 128 9.9
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--