กลุ่มตัวอย่าง:
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร และมีสิทธิ์เลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีสุ่ม 2 ขั้นตอน (Two-stage sampling) โดยจัดชั้นภูมิเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร 50 เขต เป็นเขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก
ขั้นแรก สุ่มเขตปกครองในแต่ละชั้นภูมิที่จัดไว้ได้จำนวนเขตทั้งสิ้น 30 เขต คือ
บางซื่อ ดุสิต ราชเทวี สัมพันธวงศ์ ดอนเมือง สายไหม จตุจักร ลาดพร้าว บางกะปิ วังทองหลาง
มีนบุรี หนองจอก ประเวศ สวนหลวง คันนายาว ห้วยขวาง วัฒนา บางนา พระโขนง บางคอแหลม
บางขุนเทียน จอมทอง ราษฎร์บูรณะ ธนบุรี บางแค ตลิ่งชัน บางกอกน้อย บางกอกใหญ่ ภาษีเจริญ
หนองแขม
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มประชากรเป้าหมายโดยกำหนดโควต้าตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 2,375 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างในเรื่อง คนกรุงจะเลือกใครเป็นผู้ว่า กทม.โดยแบบสอบถามประกอบด้วย
ส่วนที่ 1 ถามด้านข้อมูลประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง
ส่วนที่ 2 ถามความคิดเห็นในหัวข้อที่ทำการสำรวจ
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
25 - 27 มิถุนายน 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. กลุ่มตัวอย่างเป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป และมีสิทธิ์เลือกผู้ว่า กทม.
เป็นเพศชายร้อยละ 50.4
เป็นเพศหญิงร้อยละ 49.6
มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีร้อยละ 66.5
ปริญญาตรีหรือสูงกว่าร้อยละ 31.4
ประกอบอาชีพหลากหลาย เช่น รับราชการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัทเอกชน
เจ้าของกิจการ
รับจ้างทั่วไป
ค้าขาย
แม่บ้าน
นักศึกษา เป็นต้น
2. เมื่อสอบถามว่าจะไปใช้สิทธิ์เลือกผู้ว่า กทม. หรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 87.7 ตั้งใจจะไปเลือกตั้ง
ร้อยละ 2.2 ตอบว่าไม่ไป
ร้อยละ 10.1 ยังไม่แน่ใจ
3. สำหรับนโยบายและแนวคิดของผู้สมัครที่กลุ่มตัวอย่างชอบมากที่สุด
ร้อยละ 45.9 เป็นของนายสมัคร สุนทรเวช
ร้อยละ 20.3 เป็นของนางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์
ร้อยละ 14.8 เป็นของนางปวีณา หงสกุล และ
ร้อยละ 11.7 เป็นของนายธวัชชัย สัจจกุล
4. เมื่อถามถึงจะเลือกใครเป็นผู้ว่า กทม. คนต่อไป
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 46.4 จะเลือกนายสมัคร สุนทรเวช
ร้อยละ 19.6 นางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์
ร้อยละ 14.9 นางปวีณา หงสกุล
ร้อยละ 12.2 นายธวัชชัย สัจจกุล
ร้อยละ 1.9 คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช และ
ร้อยละ 1.5 พ.อ.วินัย สมพงษ์
เมื่อเทียบกับผลการสำรวจรอบที่ 1 เมื่อวันที่ 9 - 12 มิถุนายน 2543
ความนิยมของนายสมัคร สุนทรเวช เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.7 (จากร้อยละ 35.7)
นางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์ ความนิยม เท่าเดิม (ร้อยละ 19.6)
ส่วนนางปวีณา หงสกุล และนายธวัชชัย สัจจกุล ความนิยมลดลงเล็กน้อย (ร้อยละ 16.9 และ 18.4 ตามลำดับ)
5. ความนิยมต่อผู้สมัครผู้ว่า กทม. เมื่อจำแนกตามกลุ่มอายุของผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง พบว่า
นายสมัคร สุนทรเวช ได้รับความนิยมในทุกกลุ่มอายุ
โดยเฉพาะกลุ่มอายุ 36-45 ปี ร้อยละ 53.1
และกลุ่มอายุ 45 ปีขึ้นไป ร้อยละ 53.0
ส่วนนางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์ ได้รับความนิยม
ในกลุ่ม อายุ 18-25 ปี ร้อยละ 23.4
แต่ก็ยังเป็นรองนายสมัคร สุนทรเวช ซึ่งได้รับความนิยมจากกลุ่มนี้ ร้อยละ 36.9
6. ความนิยมต่อผู้สมัครผู้ว่า กทม. เมื่อจำแนกตามกลุ่มอาชีพของผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
นายสมัคร สุนทรเวช ยังได้รับความนิยมสูงในทุกกลุ่มอาชีพ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากข้าราชการ ร้อยละ 54.7
ผู้รับจ้างทั่วไป ร้อยละ 51.0
เจ้าของกิจการ ร้อยละ 50.8
กลุ่มนักศึกษานิยมนายสมัคร สุนทรเวชน้อยที่สุด ร้อยละ 36.1 ซึ่งยังสูงกว่าความนิยมที่มีต่อนางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์ (ร้อยละ 24.3) ส่วนนางปวีณา หงสกุล ได้รับความนิยมมากจากกลุ่มแม่บ้าน ร้อยละ 24.6
7. สำหรับเหตุผลที่สำคัญที่กลุ่มตัวอย่างเลือกนายสมัคร สุนทรเวช(ร้อยละ 28.5)
และนางปวีณา หงสกุล(ร้อยละ 34.8) คือ ยอมรับผลงานที่ผ่านมา
ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่เลือกนางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์(ร้อยละ 29.0)
และนายธวัชชัย สัจจกุล(ร้อยละ 21.7) เพราะเห็นความตั้งใจจริงที่จะแก้ปัญหาต่าง ๆ ของ กทม.
8. เมื่อถามถึงวันเลือกตั้งจริงจะเปลี่ยนใจไปเลือกคนอื่นหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างที่จะเลือกนายธวัชชัย สัจจกุล อาจจะเปลี่ยนใจได้มากที่สุด ร้อยละ 31.0
ผู้ที่จะเลือกนางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์ อาจจะเปลี่ยนใจ ร้อยละ 23.8
ผู้ที่จะเลือกนางปวีณา หงสกุล อาจจะเปลี่ยนใจ ร้อยละ 19.8
ส่วนผู้ที่จะเลือกนายสมัคร สุนทรเวช อาจจะเปลี่ยนใจ ร้อยละ 12.1
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร และมีสิทธิ์เลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีสุ่ม 2 ขั้นตอน (Two-stage sampling) โดยจัดชั้นภูมิเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร 50 เขต เป็นเขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก
ขั้นแรก สุ่มเขตปกครองในแต่ละชั้นภูมิที่จัดไว้ได้จำนวนเขตทั้งสิ้น 30 เขต คือ
บางซื่อ ดุสิต ราชเทวี สัมพันธวงศ์ ดอนเมือง สายไหม จตุจักร ลาดพร้าว บางกะปิ วังทองหลาง
มีนบุรี หนองจอก ประเวศ สวนหลวง คันนายาว ห้วยขวาง วัฒนา บางนา พระโขนง บางคอแหลม
บางขุนเทียน จอมทอง ราษฎร์บูรณะ ธนบุรี บางแค ตลิ่งชัน บางกอกน้อย บางกอกใหญ่ ภาษีเจริญ
หนองแขม
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มประชากรเป้าหมายโดยกำหนดโควต้าตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 2,375 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างในเรื่อง คนกรุงจะเลือกใครเป็นผู้ว่า กทม.โดยแบบสอบถามประกอบด้วย
ส่วนที่ 1 ถามด้านข้อมูลประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง
ส่วนที่ 2 ถามความคิดเห็นในหัวข้อที่ทำการสำรวจ
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
25 - 27 มิถุนายน 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. กลุ่มตัวอย่างเป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป และมีสิทธิ์เลือกผู้ว่า กทม.
เป็นเพศชายร้อยละ 50.4
เป็นเพศหญิงร้อยละ 49.6
มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีร้อยละ 66.5
ปริญญาตรีหรือสูงกว่าร้อยละ 31.4
ประกอบอาชีพหลากหลาย เช่น รับราชการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัทเอกชน
เจ้าของกิจการ
รับจ้างทั่วไป
ค้าขาย
แม่บ้าน
นักศึกษา เป็นต้น
2. เมื่อสอบถามว่าจะไปใช้สิทธิ์เลือกผู้ว่า กทม. หรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 87.7 ตั้งใจจะไปเลือกตั้ง
ร้อยละ 2.2 ตอบว่าไม่ไป
ร้อยละ 10.1 ยังไม่แน่ใจ
3. สำหรับนโยบายและแนวคิดของผู้สมัครที่กลุ่มตัวอย่างชอบมากที่สุด
ร้อยละ 45.9 เป็นของนายสมัคร สุนทรเวช
ร้อยละ 20.3 เป็นของนางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์
ร้อยละ 14.8 เป็นของนางปวีณา หงสกุล และ
ร้อยละ 11.7 เป็นของนายธวัชชัย สัจจกุล
4. เมื่อถามถึงจะเลือกใครเป็นผู้ว่า กทม. คนต่อไป
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 46.4 จะเลือกนายสมัคร สุนทรเวช
ร้อยละ 19.6 นางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์
ร้อยละ 14.9 นางปวีณา หงสกุล
ร้อยละ 12.2 นายธวัชชัย สัจจกุล
ร้อยละ 1.9 คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช และ
ร้อยละ 1.5 พ.อ.วินัย สมพงษ์
เมื่อเทียบกับผลการสำรวจรอบที่ 1 เมื่อวันที่ 9 - 12 มิถุนายน 2543
ความนิยมของนายสมัคร สุนทรเวช เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.7 (จากร้อยละ 35.7)
นางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์ ความนิยม เท่าเดิม (ร้อยละ 19.6)
ส่วนนางปวีณา หงสกุล และนายธวัชชัย สัจจกุล ความนิยมลดลงเล็กน้อย (ร้อยละ 16.9 และ 18.4 ตามลำดับ)
5. ความนิยมต่อผู้สมัครผู้ว่า กทม. เมื่อจำแนกตามกลุ่มอายุของผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง พบว่า
นายสมัคร สุนทรเวช ได้รับความนิยมในทุกกลุ่มอายุ
โดยเฉพาะกลุ่มอายุ 36-45 ปี ร้อยละ 53.1
และกลุ่มอายุ 45 ปีขึ้นไป ร้อยละ 53.0
ส่วนนางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์ ได้รับความนิยม
ในกลุ่ม อายุ 18-25 ปี ร้อยละ 23.4
แต่ก็ยังเป็นรองนายสมัคร สุนทรเวช ซึ่งได้รับความนิยมจากกลุ่มนี้ ร้อยละ 36.9
6. ความนิยมต่อผู้สมัครผู้ว่า กทม. เมื่อจำแนกตามกลุ่มอาชีพของผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
นายสมัคร สุนทรเวช ยังได้รับความนิยมสูงในทุกกลุ่มอาชีพ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากข้าราชการ ร้อยละ 54.7
ผู้รับจ้างทั่วไป ร้อยละ 51.0
เจ้าของกิจการ ร้อยละ 50.8
กลุ่มนักศึกษานิยมนายสมัคร สุนทรเวชน้อยที่สุด ร้อยละ 36.1 ซึ่งยังสูงกว่าความนิยมที่มีต่อนางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์ (ร้อยละ 24.3) ส่วนนางปวีณา หงสกุล ได้รับความนิยมมากจากกลุ่มแม่บ้าน ร้อยละ 24.6
7. สำหรับเหตุผลที่สำคัญที่กลุ่มตัวอย่างเลือกนายสมัคร สุนทรเวช(ร้อยละ 28.5)
และนางปวีณา หงสกุล(ร้อยละ 34.8) คือ ยอมรับผลงานที่ผ่านมา
ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่เลือกนางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์(ร้อยละ 29.0)
และนายธวัชชัย สัจจกุล(ร้อยละ 21.7) เพราะเห็นความตั้งใจจริงที่จะแก้ปัญหาต่าง ๆ ของ กทม.
8. เมื่อถามถึงวันเลือกตั้งจริงจะเปลี่ยนใจไปเลือกคนอื่นหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างที่จะเลือกนายธวัชชัย สัจจกุล อาจจะเปลี่ยนใจได้มากที่สุด ร้อยละ 31.0
ผู้ที่จะเลือกนางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์ อาจจะเปลี่ยนใจ ร้อยละ 23.8
ผู้ที่จะเลือกนางปวีณา หงสกุล อาจจะเปลี่ยนใจ ร้อยละ 19.8
ส่วนผู้ที่จะเลือกนายสมัคร สุนทรเวช อาจจะเปลี่ยนใจ ร้อยละ 12.1
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--