วัตถุประสงค์ของการสำรวจ :
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนใน กทม. ว่าคิดอย่างไรกับ
การรวมพรรคความหวังใหม่เข้ากับพรรคไทยรักไทย ในประเด็นปัญหาที่จะเกิดภายหลังจากการรวมพรรค และความ
เห็นเกี่ยวกับผู้ที่เหมาะสมจะเป็นเลขาธิการพรรค ตลอดจนความศรัทธราของประชาชนต่อพรรคไทยรักไทยภายหลัง
การรวมพรรคแล้ว
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครอง
ในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 33 เขต ดังนี้
คลองเตย คลองสามวา คันนายาว จตุจักร ตลิ่งชัน ทุ่งครุ ธนบุรี บางกะปิ บางเขน บางแค
บางซื่อ บางนา บางพลัด บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ พญาไท พระนคร มีนบุรี ราชเทวี ราษฎร์บูรณะ ลาดกระบัง
วังทองหลาง วัฒนา สวนหลวง สะพานสูง สัมพันธวงศ์ สาทร สายไหม หนองแขม หนองจอก หลักสี่ ห้วยขวาง
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้ตัวอย่าง
ทั้งสิ้นจำนวน 1,319 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ประชาชนคิด
อย่างไรกับการรวมพรรคความหวังใหม่เข้ากับพรรคไทยรักไทย"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
3 - 4 กรกฎาคม 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
5 กรกฎาคม 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพ
มหานคร
เป็นชายร้อยละ 55.3 เป็นหญิงร้อยละ 44.7
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 73.0 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 26.5 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพ
รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานบริษัทเอกชน เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย นักศึกษา
และแม่บ้าน เป็นต้น
2. เมื่อถามว่า เห็นด้วยหรือไม่ที่พรรคความหวังใหม่จะรวมเข้ากับพรรคไทยรักไทย
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 30.6 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 57.0 ระบุว่าไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 12.4 ไม่มีความเห็น
3. สำหรับคำถามว่า ถ้าพรรคความหวังใหม่สามารถรวมกับพรรคไทยรักไทยได้จริง คิดว่าจะเกิดปัญหาอะไรขึ้น
หลังจากการรวมพรรคแล้ว กลุ่มตัวอย่างระบุดังนี้
- ร้อยละ 47.8 มีความขัดแย้งระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ภายในพรรค
- ร้อยละ 42.2 มีการแย่งตำแหน่งภายในพรรค
- ร้อยละ 38.9 มีการแย่งตำแหน่งทางการเมือง
- ร้อยละ 25.5 ภาพลักษณ์ของพรรคจะเสื่อมลง
- ร้อยละ 12.8 ไม่มีปัญหาอะไร
4. เมื่อถามว่าเห็นด้วยหรือไม่ เมื่อรวมพรรคแล้วให้ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นประธานพรรคไทยรักไทย
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 12.1 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 69.5 ระบุว่าไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 18.4 ไม่มีความเห็น
5. ส่วนคำถามว่าเมื่อรวมพรรคแล้ว คิดว่าใครเหมาะสมที่จะเป็นเลขาธิการพรรคไทยรักไทย
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 31.3 ระบุนายวันมูหะมัดนอร์ มะทา
ร้อยละ 22.1 ระบุ ร.ต.อ.ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์
ร้อยละ 19.6 ระบุนางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์
ร้อยละ 10.8 ระบุนายแพทย์เปรมศักดิ์ เพียยุระ
ร้อยละ 8.0 ระบุนายเสนาะ เทียนทอง
ร้อยละ 5.8 ระบุนายชิงชัย มงคลธรรม
และร้อยละ 2.3 ระบุ ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง
6. เมื่อถามว่า ถ้ามีการรวมพรรคได้จริง คิดว่าความศรัทธาของประชาชนต่อพรรคไทยรักไทยจะเป็นเช่นไร
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 14.9 ระบุว่าดีขึ้น
ร้อยละ 33.9 ระบุว่าเหมือนเดิม
ร้อยละ 37.6 ระบุว่าลดลง
และร้อยละ 13.6 ไม่มีความเห็น
7. สำหรับคำถาม เมื่อรวมพรรคแล้ว คิดว่า พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จะควบคุมพรรคได้หรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 35.8 ระบุว่าควบคุมได้
ร้อยละ 38.4 ระบุว่าควบคุมไม่ได้
และร้อยละ 25.8 ไม่แน่ใจ
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายชวน หลีกภัย
ยอมรับผลงานที่ผ่านมา 6.8 29.6
มีวิสัยทัศน์กว้างไกล กล้าคิด กล้าตัดสินใจ 62.6 3.2
มีความซื่อสัตย์ สุจริต 12.4 31
มีความหนักแน่น อดทนต่อการกดดัน 10.4 21.1
ยึดหลักการความถูกต้อง 5.4 14.9
เหตุผลอื่น ๆ 2.3 0.2
ตารางที่ 2 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ที่พรรคความหวังใหม่จะรวมเข้ากับพรรคไทยรักไทย
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 404 30.6
ไม่เห็นด้วย 752 57
ไม่มีความเห็น 163 12.4
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 404 30.6
ไม่เห็นด้วย 752 57
ไม่มีความเห็น 163 12.4
ตารางที่ 3 ถ้าพรรคความหวังใหม่สามารถรวมกับพรรคไทยรักไทยได้จริง ท่านคิดว่าจะเกิดปัญหาอะไรขึ้นหลัง
จากการรวมพรรคแล้ว
จำนวน ร้อยละ
มีความขัดแย้งระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ภายในพรรค 631 47.8
มีการแย่งตำแหน่งภายในพรรค 557 42.2
มีการแย่งตำแหน่งทางการเมือง 513 38.9
ภาพลักษณ์ของพรรคจะเสื่อมลง 336 25.5
ไม่มีปัญหาอะไร 169 12.8
อื่น ๆ 37 2.8
ตารางที่ 4 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ เมื่อรวมพรรคแล้วให้ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นประธานพรรคไทยรักไทย
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 160 12.1
ไม่เห็นด้วย 917 69.5
ไม่มีความเห็น 242 18.4
ตารางที่ 5 เมื่อรวมพรรคแล้ว ท่านคิดว่าใครเหมาะสมที่จะเป็นเลขาธิการพรรคไทยรักไทย
จำนวน ร้อยละ
นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา 413 31.3
ร.ต.อ.ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ 292 22.1
นางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์ 258 19.6
นายแพทย์เปรมศักดิ์ เพียยุระ 143 10.8
นายเสนาะ เทียนทอง 106 8
นายชิงชัย มงคลธรรม 77 5.8
ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง 30 2.3
ตารางที่ 6 ถ้ามีการรวมพรรคได้จริง ท่านคิดว่าศรัทธาของประชาชนต่อพรรคไทยรักไทยจะเป็นเช่นไร
จำนวน ร้อยละ
ดีขึ้น 196 14.9
เหมือนเดิม 447 33.9
ลดลง 496 37.6
ไม่มีความเห็น 180 13.6
ตารางที่ 7 เมื่อรวมพรรคแล้ว ท่านคิดว่า พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จะควบคุมพรรคได้หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ควบคุมได้ 472 35.8
ควบคุมไม่ได้ 507 38.4
ไม่แน่ใจ 340 25.8
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชนใน กทม. ว่าคิดอย่างไรกับ
การรวมพรรคความหวังใหม่เข้ากับพรรคไทยรักไทย ในประเด็นปัญหาที่จะเกิดภายหลังจากการรวมพรรค และความ
เห็นเกี่ยวกับผู้ที่เหมาะสมจะเป็นเลขาธิการพรรค ตลอดจนความศรัทธราของประชาชนต่อพรรคไทยรักไทยภายหลัง
การรวมพรรคแล้ว
ระเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครอง
ในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 33 เขต ดังนี้
คลองเตย คลองสามวา คันนายาว จตุจักร ตลิ่งชัน ทุ่งครุ ธนบุรี บางกะปิ บางเขน บางแค
บางซื่อ บางนา บางพลัด บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ พญาไท พระนคร มีนบุรี ราชเทวี ราษฎร์บูรณะ ลาดกระบัง
วังทองหลาง วัฒนา สวนหลวง สะพานสูง สัมพันธวงศ์ สาทร สายไหม หนองแขม หนองจอก หลักสี่ ห้วยขวาง
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้ตัวอย่าง
ทั้งสิ้นจำนวน 1,319 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ประชาชนคิด
อย่างไรกับการรวมพรรคความหวังใหม่เข้ากับพรรคไทยรักไทย"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
3 - 4 กรกฎาคม 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
5 กรกฎาคม 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพ
มหานคร
เป็นชายร้อยละ 55.3 เป็นหญิงร้อยละ 44.7
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 73.0 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือร้อยละ 26.5 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพ
รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานบริษัทเอกชน เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย นักศึกษา
และแม่บ้าน เป็นต้น
2. เมื่อถามว่า เห็นด้วยหรือไม่ที่พรรคความหวังใหม่จะรวมเข้ากับพรรคไทยรักไทย
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 30.6 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 57.0 ระบุว่าไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 12.4 ไม่มีความเห็น
3. สำหรับคำถามว่า ถ้าพรรคความหวังใหม่สามารถรวมกับพรรคไทยรักไทยได้จริง คิดว่าจะเกิดปัญหาอะไรขึ้น
หลังจากการรวมพรรคแล้ว กลุ่มตัวอย่างระบุดังนี้
- ร้อยละ 47.8 มีความขัดแย้งระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ภายในพรรค
- ร้อยละ 42.2 มีการแย่งตำแหน่งภายในพรรค
- ร้อยละ 38.9 มีการแย่งตำแหน่งทางการเมือง
- ร้อยละ 25.5 ภาพลักษณ์ของพรรคจะเสื่อมลง
- ร้อยละ 12.8 ไม่มีปัญหาอะไร
4. เมื่อถามว่าเห็นด้วยหรือไม่ เมื่อรวมพรรคแล้วให้ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นประธานพรรคไทยรักไทย
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 12.1 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 69.5 ระบุว่าไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 18.4 ไม่มีความเห็น
5. ส่วนคำถามว่าเมื่อรวมพรรคแล้ว คิดว่าใครเหมาะสมที่จะเป็นเลขาธิการพรรคไทยรักไทย
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 31.3 ระบุนายวันมูหะมัดนอร์ มะทา
ร้อยละ 22.1 ระบุ ร.ต.อ.ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์
ร้อยละ 19.6 ระบุนางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์
ร้อยละ 10.8 ระบุนายแพทย์เปรมศักดิ์ เพียยุระ
ร้อยละ 8.0 ระบุนายเสนาะ เทียนทอง
ร้อยละ 5.8 ระบุนายชิงชัย มงคลธรรม
และร้อยละ 2.3 ระบุ ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง
6. เมื่อถามว่า ถ้ามีการรวมพรรคได้จริง คิดว่าความศรัทธาของประชาชนต่อพรรคไทยรักไทยจะเป็นเช่นไร
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 14.9 ระบุว่าดีขึ้น
ร้อยละ 33.9 ระบุว่าเหมือนเดิม
ร้อยละ 37.6 ระบุว่าลดลง
และร้อยละ 13.6 ไม่มีความเห็น
7. สำหรับคำถาม เมื่อรวมพรรคแล้ว คิดว่า พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จะควบคุมพรรคได้หรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 35.8 ระบุว่าควบคุมได้
ร้อยละ 38.4 ระบุว่าควบคุมไม่ได้
และร้อยละ 25.8 ไม่แน่ใจ
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายชวน หลีกภัย
ยอมรับผลงานที่ผ่านมา 6.8 29.6
มีวิสัยทัศน์กว้างไกล กล้าคิด กล้าตัดสินใจ 62.6 3.2
มีความซื่อสัตย์ สุจริต 12.4 31
มีความหนักแน่น อดทนต่อการกดดัน 10.4 21.1
ยึดหลักการความถูกต้อง 5.4 14.9
เหตุผลอื่น ๆ 2.3 0.2
ตารางที่ 2 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ที่พรรคความหวังใหม่จะรวมเข้ากับพรรคไทยรักไทย
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 404 30.6
ไม่เห็นด้วย 752 57
ไม่มีความเห็น 163 12.4
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 404 30.6
ไม่เห็นด้วย 752 57
ไม่มีความเห็น 163 12.4
ตารางที่ 3 ถ้าพรรคความหวังใหม่สามารถรวมกับพรรคไทยรักไทยได้จริง ท่านคิดว่าจะเกิดปัญหาอะไรขึ้นหลัง
จากการรวมพรรคแล้ว
จำนวน ร้อยละ
มีความขัดแย้งระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ภายในพรรค 631 47.8
มีการแย่งตำแหน่งภายในพรรค 557 42.2
มีการแย่งตำแหน่งทางการเมือง 513 38.9
ภาพลักษณ์ของพรรคจะเสื่อมลง 336 25.5
ไม่มีปัญหาอะไร 169 12.8
อื่น ๆ 37 2.8
ตารางที่ 4 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ เมื่อรวมพรรคแล้วให้ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ เป็นประธานพรรคไทยรักไทย
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 160 12.1
ไม่เห็นด้วย 917 69.5
ไม่มีความเห็น 242 18.4
ตารางที่ 5 เมื่อรวมพรรคแล้ว ท่านคิดว่าใครเหมาะสมที่จะเป็นเลขาธิการพรรคไทยรักไทย
จำนวน ร้อยละ
นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา 413 31.3
ร.ต.อ.ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ 292 22.1
นางสุดารัตน์ เกยุราพันธ์ 258 19.6
นายแพทย์เปรมศักดิ์ เพียยุระ 143 10.8
นายเสนาะ เทียนทอง 106 8
นายชิงชัย มงคลธรรม 77 5.8
ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง 30 2.3
ตารางที่ 6 ถ้ามีการรวมพรรคได้จริง ท่านคิดว่าศรัทธาของประชาชนต่อพรรคไทยรักไทยจะเป็นเช่นไร
จำนวน ร้อยละ
ดีขึ้น 196 14.9
เหมือนเดิม 447 33.9
ลดลง 496 37.6
ไม่มีความเห็น 180 13.6
ตารางที่ 7 เมื่อรวมพรรคแล้ว ท่านคิดว่า พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จะควบคุมพรรคได้หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ควบคุมได้ 472 35.8
ควบคุมไม่ได้ 507 38.4
ไม่แน่ใจ 340 25.8
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--