แท็ก
กรุงเทพโพลล์
วัตถุประสงค์ของการสำรวจ :
เพื่อสำรวจความคิดเห็นของพนักงานบริษัทเอกชนที่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับการจะยกเลิกวันหยุด
ชดเชย ผลดีและผลเสียจากการหยุดยาวต่อเนื่องกันหลายวัน ว่าผู้ที่อยู่ในภาคเอกชนมีความเห็นในประเด็นเหล่านี้เช่นไร
ระเบียบวิธีการสำรวจ :
การสุ่มตัวอย่างการสำรวจใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ Accidental Sampling โดยสุ่มจากพนักงานของบริษัท
เอกชน ที่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร การสุ่มได้กำหนดโควตา ตามเพศ อายุ และประเภทของบริษัทที่ทำธุรกิจ ได้กลุ่ม
ตัวอย่างทั้งสิ้น จำนวน 1,285 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "พนักงานบริษัท
เอกชนคิดอย่างไร กับการยกเลิกวันหยุดชดเชย"
ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นในหัวข้อที่สำรวจ
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
19-20 เมษายน 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
21 เมษายน 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การสำรวจครั้งนี้เป็นการสำรวจภาคสนาม ได้สอบถามพนักงานของบริษัทเอกชน จำนวน 1,285 คน เป็น
พนักงานชายร้อยละ 44.2 พนักงานหญิงร้อยละ 55.8 มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 57.1 ตั้งแต่ระดับ
ปริญญาตรีขึ้นไปร้อยละ 42.8
2. เมื่อสอบถามความเห็นเกี่ยวกับรัฐบาลจะยกเลิกวันหยุดชดเชย ถ้าวันหยุดนั้นตรงกับวันเสาร์ หรือ วันอาทิตย์
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 14.2 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 78.1 ระบุว่าไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 7.6 ไม่มีความเห็น
3. สำหรับความเห็นว่าไม่ควรมีวันหยุดยาวต่อเนื่องกันมากกว่า 4 วันนั้น
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 26.1 เห็นด้วย
ร้อยละ 65.6 ไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 8.2ไม่มีความเห็น
4. ในทำนองเดียวกัน ถ้ามีวันหยุดยาวต่อเนื่องกัน 4 วัน
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 76.7 เห็นด้วย
ร้อยละ 12.8 ไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 10.4 ไม่มีความเห็น
5. เมื่อถามถึงความเห็นว่า การมีวันหยุดยาวต่อเนื่องกันหลายวันจะมีผลดีหรือผลเสียมากกว่ากัน
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 76.9 เห็นว่ามีผลดีมากกว่าผลเสีย
ขณะที่ร้อยละ 23.1 เห็นว่ามีผลเสียมากกว่าผลดี
6. เหตุผลของกลุ่มที่ระบุว่ามีผลดีมากกว่าผลเสียคือ
- ร้อยละ 72.4 มีเวลาอยู่กับครอบครัวมากขึ้น
- ร้อยละ 59.2 มีเวลาเดินทางไปต่างจังหวัดมากขึ้น
- ร้อยละ 56.3 มีเวลาทำกิจกรรมกับญาติ พี่น้องมากขึ้น
- ร้อยละ 46.1 โอกาสได้หยุดยาวมีน้อยอยู่แล้ว
- ร้อยละ 35.7 ช่วยส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศ
- ร้อยละ 5.2 เหตุผลอื่น ๆ
7. ส่วนเหตุผลของกลุ่มที่เห็นว่ามีผลเสียมากกว่าผลดีคือ
- ร้อยละ 63.0 ไม่สะดวกในการติดต่อราชการ
- ร้อยละ 61.3 เป็นปัญหาในการทำธุรกิจ/ทำงาน
- ร้อยละ 39.7 มีอุบัติเหตุมากจากการเดินทาง
- ร้อยละ 31.6 นักเรียน/นักศึกษามีเวลาเรียนไม่เพียงพอ
- ร้อยละ 22.2 ส่งเสริมคนเดินทางท่องเที่ยวต่างประเทศ
- ร้อยละ 11.1 เหตุผลอื่น ๆ
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 568 44.2
หญิง 717 55.8
อายุ :
18 - 25 236 18.4
26 - 35 550 42.8
36 - 45 413 32.1
มากกว่า 45 ปี 86 6.7
การศึกษา :
ประถมศึกษา 67 5.2
มัธยมศึกษา 161 12.5
ปวช. 188 14.6
ปวส./อนุปริญญา 319 24.8
ปริญญาตรีหรือสูงกว่าปริญญาตรี 550 42.8
ตารางที่ 2 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ที่รัฐบาลจะยกเลิกวันหยุดชดเชย
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 183 14.2
ไม่เห็นด้วย 1,004 78.1
ไม่มีความเห็น 98 7.6
ตารางที่ 3 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ ว่าไม่ควรมีวันหยุดยาวต่อเนื่องกันมากกว่า 4 วัน
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 336 26.1
ไม่เห็นด้วย 843 65.6
ไม่มีความเห็น 106 8.2
ตารางที่ 4 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ ถ้ามีวันหยุดต่อเนื่องกัน 4 วัน
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 986 76.7
ไม่เห็นด้วย 165 12.8
ไม่มีความเห็น 134 10.4
ตารางที่ 5 ท่านคิดว่าการมีวันหยุดยาวต่อเนื่องกัน มีผลดี หรือผลเสียมากกว่ากัน
จำนวน ร้อยละ
ผลดีมากกว่า 988 76.9
ผลเสียมากกว่า 297 23.1
ตารางที่ 6 เหตุผลของกลุ่มที่ระบุว่าการมีวันหยุดยาวต่อเนื่องเป็นผลดี
ร้อยละ
มีเวลาอยู่กับครอบครัวมากขึ้น 72.4
มีเวลาเดินทางไปต่างจังหวัดมากขึ้น 59.2
มีเวลาทำกิจกรรมกับญาติ พี่น้องมากขึ้น 56.3
โอกาสได้หยุดยาวมีน้อยอยู่แล้ว 46.1
ส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศ 35.7
เหตุผลอื่น ๆ 5.2
ตารางที่ 7 เหตุผลของกลุ่มที่ระบุว่าการมีวันหยุดยาวต่อเนื่องไม่เป็นผลดี
ร้อยละ
ไม่สะดวกในการติดต่อราชการ 63
เป็นปัญหาในการทำธุรกิจ/ทำงาน 61.3
มีอุบัติเหตุมากจากการเดินทาง 39.7
นักเรียน/นักศึกษามีเวลาเรียนไม่เพียงพอ 31.6
ส่งเสริมคนเดินทางท่องเที่ยวต่างประเทศ 22.2
เหตุผลอื่น ๆ 11.1
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
เพื่อสำรวจความคิดเห็นของพนักงานบริษัทเอกชนที่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับการจะยกเลิกวันหยุด
ชดเชย ผลดีและผลเสียจากการหยุดยาวต่อเนื่องกันหลายวัน ว่าผู้ที่อยู่ในภาคเอกชนมีความเห็นในประเด็นเหล่านี้เช่นไร
ระเบียบวิธีการสำรวจ :
การสุ่มตัวอย่างการสำรวจใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ Accidental Sampling โดยสุ่มจากพนักงานของบริษัท
เอกชน ที่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร การสุ่มได้กำหนดโควตา ตามเพศ อายุ และประเภทของบริษัทที่ทำธุรกิจ ได้กลุ่ม
ตัวอย่างทั้งสิ้น จำนวน 1,285 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "พนักงานบริษัท
เอกชนคิดอย่างไร กับการยกเลิกวันหยุดชดเชย"
ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นในหัวข้อที่สำรวจ
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
19-20 เมษายน 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
21 เมษายน 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การสำรวจครั้งนี้เป็นการสำรวจภาคสนาม ได้สอบถามพนักงานของบริษัทเอกชน จำนวน 1,285 คน เป็น
พนักงานชายร้อยละ 44.2 พนักงานหญิงร้อยละ 55.8 มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 57.1 ตั้งแต่ระดับ
ปริญญาตรีขึ้นไปร้อยละ 42.8
2. เมื่อสอบถามความเห็นเกี่ยวกับรัฐบาลจะยกเลิกวันหยุดชดเชย ถ้าวันหยุดนั้นตรงกับวันเสาร์ หรือ วันอาทิตย์
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 14.2 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 78.1 ระบุว่าไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 7.6 ไม่มีความเห็น
3. สำหรับความเห็นว่าไม่ควรมีวันหยุดยาวต่อเนื่องกันมากกว่า 4 วันนั้น
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 26.1 เห็นด้วย
ร้อยละ 65.6 ไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 8.2ไม่มีความเห็น
4. ในทำนองเดียวกัน ถ้ามีวันหยุดยาวต่อเนื่องกัน 4 วัน
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 76.7 เห็นด้วย
ร้อยละ 12.8 ไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 10.4 ไม่มีความเห็น
5. เมื่อถามถึงความเห็นว่า การมีวันหยุดยาวต่อเนื่องกันหลายวันจะมีผลดีหรือผลเสียมากกว่ากัน
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 76.9 เห็นว่ามีผลดีมากกว่าผลเสีย
ขณะที่ร้อยละ 23.1 เห็นว่ามีผลเสียมากกว่าผลดี
6. เหตุผลของกลุ่มที่ระบุว่ามีผลดีมากกว่าผลเสียคือ
- ร้อยละ 72.4 มีเวลาอยู่กับครอบครัวมากขึ้น
- ร้อยละ 59.2 มีเวลาเดินทางไปต่างจังหวัดมากขึ้น
- ร้อยละ 56.3 มีเวลาทำกิจกรรมกับญาติ พี่น้องมากขึ้น
- ร้อยละ 46.1 โอกาสได้หยุดยาวมีน้อยอยู่แล้ว
- ร้อยละ 35.7 ช่วยส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศ
- ร้อยละ 5.2 เหตุผลอื่น ๆ
7. ส่วนเหตุผลของกลุ่มที่เห็นว่ามีผลเสียมากกว่าผลดีคือ
- ร้อยละ 63.0 ไม่สะดวกในการติดต่อราชการ
- ร้อยละ 61.3 เป็นปัญหาในการทำธุรกิจ/ทำงาน
- ร้อยละ 39.7 มีอุบัติเหตุมากจากการเดินทาง
- ร้อยละ 31.6 นักเรียน/นักศึกษามีเวลาเรียนไม่เพียงพอ
- ร้อยละ 22.2 ส่งเสริมคนเดินทางท่องเที่ยวต่างประเทศ
- ร้อยละ 11.1 เหตุผลอื่น ๆ
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 568 44.2
หญิง 717 55.8
อายุ :
18 - 25 236 18.4
26 - 35 550 42.8
36 - 45 413 32.1
มากกว่า 45 ปี 86 6.7
การศึกษา :
ประถมศึกษา 67 5.2
มัธยมศึกษา 161 12.5
ปวช. 188 14.6
ปวส./อนุปริญญา 319 24.8
ปริญญาตรีหรือสูงกว่าปริญญาตรี 550 42.8
ตารางที่ 2 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ที่รัฐบาลจะยกเลิกวันหยุดชดเชย
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 183 14.2
ไม่เห็นด้วย 1,004 78.1
ไม่มีความเห็น 98 7.6
ตารางที่ 3 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ ว่าไม่ควรมีวันหยุดยาวต่อเนื่องกันมากกว่า 4 วัน
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 336 26.1
ไม่เห็นด้วย 843 65.6
ไม่มีความเห็น 106 8.2
ตารางที่ 4 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ ถ้ามีวันหยุดต่อเนื่องกัน 4 วัน
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 986 76.7
ไม่เห็นด้วย 165 12.8
ไม่มีความเห็น 134 10.4
ตารางที่ 5 ท่านคิดว่าการมีวันหยุดยาวต่อเนื่องกัน มีผลดี หรือผลเสียมากกว่ากัน
จำนวน ร้อยละ
ผลดีมากกว่า 988 76.9
ผลเสียมากกว่า 297 23.1
ตารางที่ 6 เหตุผลของกลุ่มที่ระบุว่าการมีวันหยุดยาวต่อเนื่องเป็นผลดี
ร้อยละ
มีเวลาอยู่กับครอบครัวมากขึ้น 72.4
มีเวลาเดินทางไปต่างจังหวัดมากขึ้น 59.2
มีเวลาทำกิจกรรมกับญาติ พี่น้องมากขึ้น 56.3
โอกาสได้หยุดยาวมีน้อยอยู่แล้ว 46.1
ส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในประเทศ 35.7
เหตุผลอื่น ๆ 5.2
ตารางที่ 7 เหตุผลของกลุ่มที่ระบุว่าการมีวันหยุดยาวต่อเนื่องไม่เป็นผลดี
ร้อยละ
ไม่สะดวกในการติดต่อราชการ 63
เป็นปัญหาในการทำธุรกิจ/ทำงาน 61.3
มีอุบัติเหตุมากจากการเดินทาง 39.7
นักเรียน/นักศึกษามีเวลาเรียนไม่เพียงพอ 31.6
ส่งเสริมคนเดินทางท่องเที่ยวต่างประเทศ 22.2
เหตุผลอื่น ๆ 11.1
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--