กลุ่มตัวอย่าง:
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร
การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีสุ่ม 2 ขั้นตอน (Two-stage sampling) คือ
ขั้นแรก สุ่มเขตปกครองชั้นในและชั้นกลางจำนวน 14 เขต ได้แก่เขตต่าง ๆ คือ
บางซื่อ ราชเทวี จตุจักร ลาดพร้าว บางกะปิ วังทองหลาง ประเวศ สวนหลวง
คันนายาว ห้วยขวาง วัฒนา พระโขนง บางกอกน้อย บางกอกใหญ่
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มประชากรเป้าหมายโดยกำหนดโควต้าตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,399 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างในเรื่อง ความเห็นของประชาชนต่อการชุมนุมและการยุบสภา
โดยแบบสอบถามประกอบด้วย
ส่วนที่ 1 ถามด้านข้อมูลประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง
ส่วนที่ 2 ถามความคิดเห็นในหัวข้อที่ทำการสำรวจ
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
3 - 4 สิงหาคม 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. กลุ่มตัวอย่างเป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครชั้นในและชั้นกลาง มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป
เป็นชายร้อยละ 54.3
เป็นหญิงร้อยละ 45.7
มีการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรี ร้อยละ 62.6
ปริญญาตรีหรือสูงกว่า ร้อยละ 35.9
ประกอบอาชีพหลากหลาย เช่น
รับราชการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัท
รับจ้างทั่วไป
เจ้าของกิจการ
ค้าขาย
นักศึกษา
แม่บ้าน เป็นต้น
2. เมื่อสอบถามความเห็นเกี่ยวกับม็อบที่ปิดถนนว่าตำรวจควรดำเนินการอย่างเด็ดขาดหรือไม่
ร้อยละ 49.9 ตอบว่า ไม่เห็นด้วย
ร้อยละ 34.2 ตอบว่า เห็นด้วย
ร้อยละ 16.0 ไม่มีความเห็น
3. เมื่อสอบถามถึงความเชื่อของการเคลื่อนไหวขององค์กรพัฒนาเอกชน (เอ็น จี โอ) บางกลุ่มเป็นพวกที่ไม่ประสงค์ดีต่อประเทศชาติหรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 37.5 ตอบว่า ไม่เชื่อ
ร้อยละ 33.7 ตอบว่าเชื่อ
ร้อยละ 28.8 ไม่มีความเห็น
4. เมื่อสอบถามถึงความเชื่อที่มีต่อแกนนำม็อบบางคนได้รับเงินเป็นค่าตอบแทน
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 60.8 เชื่อว่าจริง
ร้อยละ 17.8 ตอบว่า ไม่เชื่อ
ร้อยละ 21.5 ไม่มีความเห็น
5. สำหรับความเห็นที่มีต่อกลุ่มองค์กรต่าง ๆ ที่ออกมาเรียกร้องให้รัฐบาลยุบสภาทันที
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 32.2 ไม่เห็นด้วย
ร้อยละ 28.1 เห็นด้วย
ร้อยละ 39.8 ไม่มีความเห็น
สำหรับเหตุผลที่ไม่เห็นด้วยกับการยุบสภาทันที เช่น รัฐบาลใกล้จะหมดวาระแล้วให้รัฐบาลแก้กฎหมายเลือกตั้งให้เสร็จเรียบร้อยก่อน ควรยึดแนวทางตามรัฐธรรมนูญ การยุบสภาต้องเลื่อนการแก้ปัญหาต่าง ๆ ออกไป เป็นต้น
ส่วนกลุ่มที่เห็นว่าควรยุบสภาทันทีให้เหตุผลต่าง ๆ เช่น รัฐบาลขาดความชอบธรรมในการบริหารงาน สภามีฝ่ายค้านอยู่น้อย รัฐบาลควรคืนอำนาจให้ประชาชน มีม็อบประท้วงมาก มีความวุ่นวายในบ้านเมือง ไม่ต้องการให้กอบโกยก่อนหมดอำนาจ เป็นต้น
6. เมื่อสอบถามถึงการชุมนุมขององค์กรต่าง ๆ มีพรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์อยู่เบื้องหลังหรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 53.0 เชื่อว่า มี
ร้อยละ 17.1 เชื่อว่า ไม่มี
ร้อยละ 29.9 ไม่แน่ใจ
7. สำหรับความเห็นว่ารัฐบาลควรกำหนดวันยุบสภาและเลือก ส.ส. ไว้ล่วงหน้าอย่างแน่นอนหรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 55.8 ตอบว่า เห็นด้วย
ร้อยละ 25.4 ไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 18.9 ไม่มีความเห็น
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร
การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีสุ่ม 2 ขั้นตอน (Two-stage sampling) คือ
ขั้นแรก สุ่มเขตปกครองชั้นในและชั้นกลางจำนวน 14 เขต ได้แก่เขตต่าง ๆ คือ
บางซื่อ ราชเทวี จตุจักร ลาดพร้าว บางกะปิ วังทองหลาง ประเวศ สวนหลวง
คันนายาว ห้วยขวาง วัฒนา พระโขนง บางกอกน้อย บางกอกใหญ่
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มประชากรเป้าหมายโดยกำหนดโควต้าตามกลุ่มอายุ เพศ และอาชีพ ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,399 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างในเรื่อง ความเห็นของประชาชนต่อการชุมนุมและการยุบสภา
โดยแบบสอบถามประกอบด้วย
ส่วนที่ 1 ถามด้านข้อมูลประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง
ส่วนที่ 2 ถามความคิดเห็นในหัวข้อที่ทำการสำรวจ
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
3 - 4 สิงหาคม 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. กลุ่มตัวอย่างเป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครชั้นในและชั้นกลาง มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป
เป็นชายร้อยละ 54.3
เป็นหญิงร้อยละ 45.7
มีการศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรี ร้อยละ 62.6
ปริญญาตรีหรือสูงกว่า ร้อยละ 35.9
ประกอบอาชีพหลากหลาย เช่น
รับราชการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัท
รับจ้างทั่วไป
เจ้าของกิจการ
ค้าขาย
นักศึกษา
แม่บ้าน เป็นต้น
2. เมื่อสอบถามความเห็นเกี่ยวกับม็อบที่ปิดถนนว่าตำรวจควรดำเนินการอย่างเด็ดขาดหรือไม่
ร้อยละ 49.9 ตอบว่า ไม่เห็นด้วย
ร้อยละ 34.2 ตอบว่า เห็นด้วย
ร้อยละ 16.0 ไม่มีความเห็น
3. เมื่อสอบถามถึงความเชื่อของการเคลื่อนไหวขององค์กรพัฒนาเอกชน (เอ็น จี โอ) บางกลุ่มเป็นพวกที่ไม่ประสงค์ดีต่อประเทศชาติหรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 37.5 ตอบว่า ไม่เชื่อ
ร้อยละ 33.7 ตอบว่าเชื่อ
ร้อยละ 28.8 ไม่มีความเห็น
4. เมื่อสอบถามถึงความเชื่อที่มีต่อแกนนำม็อบบางคนได้รับเงินเป็นค่าตอบแทน
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 60.8 เชื่อว่าจริง
ร้อยละ 17.8 ตอบว่า ไม่เชื่อ
ร้อยละ 21.5 ไม่มีความเห็น
5. สำหรับความเห็นที่มีต่อกลุ่มองค์กรต่าง ๆ ที่ออกมาเรียกร้องให้รัฐบาลยุบสภาทันที
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 32.2 ไม่เห็นด้วย
ร้อยละ 28.1 เห็นด้วย
ร้อยละ 39.8 ไม่มีความเห็น
สำหรับเหตุผลที่ไม่เห็นด้วยกับการยุบสภาทันที เช่น รัฐบาลใกล้จะหมดวาระแล้วให้รัฐบาลแก้กฎหมายเลือกตั้งให้เสร็จเรียบร้อยก่อน ควรยึดแนวทางตามรัฐธรรมนูญ การยุบสภาต้องเลื่อนการแก้ปัญหาต่าง ๆ ออกไป เป็นต้น
ส่วนกลุ่มที่เห็นว่าควรยุบสภาทันทีให้เหตุผลต่าง ๆ เช่น รัฐบาลขาดความชอบธรรมในการบริหารงาน สภามีฝ่ายค้านอยู่น้อย รัฐบาลควรคืนอำนาจให้ประชาชน มีม็อบประท้วงมาก มีความวุ่นวายในบ้านเมือง ไม่ต้องการให้กอบโกยก่อนหมดอำนาจ เป็นต้น
6. เมื่อสอบถามถึงการชุมนุมขององค์กรต่าง ๆ มีพรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์อยู่เบื้องหลังหรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 53.0 เชื่อว่า มี
ร้อยละ 17.1 เชื่อว่า ไม่มี
ร้อยละ 29.9 ไม่แน่ใจ
7. สำหรับความเห็นว่ารัฐบาลควรกำหนดวันยุบสภาและเลือก ส.ส. ไว้ล่วงหน้าอย่างแน่นอนหรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 55.8 ตอบว่า เห็นด้วย
ร้อยละ 25.4 ไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 18.9 ไม่มีความเห็น
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--