แท็ก
กรุงเทพโพลล์
กลุ่มตัวอย่าง:
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตที่สุ่มได้และมีสิทธิ์ลงคะแนนเลือก
ตั้งในเขตนั้น
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่ม เขตปกครอง
ในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ ดังนี้
คลองเตย คลองสาน คันนายาว จตุจักร ดอนเมือง ตลิ่งชัน ทวีวัฒนา ทุ่งครุ ธนบุรี บางกะปิ บางเขน
บางนา บางบอน บางพลัด บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ พญาไท พระนคร ภาษีเจริญ มีนบุรี
ยานนาวา ราชเทวี ลาดพร้าว วังทองหลาง วัฒนา สวนหลวง สะพานสูง สาทร
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโค้วต้าตามเพศ กลุ่มอายุ และอาชีพ ได้ตัวอย่างทั้งสิ้น
จำนวน 1,500 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง
“ พรรคการเมืองในใจคนกรุง ”
ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นในหัวข้อที่สำรวจ
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
28 - 30 ตุลาคม 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามมีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขต กรุงเทพมหานคร
จำนวน 1,500 คน
เป็นชายร้อยละ 50.3
เป็นหญิงร้อยละ 49.7
ตัวอย่าง 2 ใน 3 หรือ ร้อยละ 63.4 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือประมาณ 1 ใน 3 มีการศึกษาตั้งแต่ระดับปริญญาตรีขึ้นไป (ร้อยละ 33.1)
ประกอบอาชีพค้าขาย (ร้อยละ 23.5)
พนักงานบริษัทเอกชน (ร้อยละ 19.1)
นักศึกษา (ร้อยละ15.6)
รับจ้างทั่วไป (ร้อยละ 15.3) และอื่น ๆ
2. ตัวอย่างประมาณครึ่งหนึ่งหรือร้อยละ 54.1 ทราบวิธีเลือก สส.แบบแบ่งเขตและบัญชีรายชื่อ (ปาร์ตี้ลิสต์)
ที่เหลืออีกร้อยละ 45.9 ระบุว่าไม่ทราบ
3. เมื่อสอบถามถึงเกณฑ์ในการพิจารณาเลือก สส. ครั้งต่อไป
ประมาณครึ่งหนึ่งหรือร้อยละ 49.1 ระบุว่าจะพิจารณาทั้งตัวบุคคลและพรรคการเมือง
ประมาณ 1 ใน 3 หรือร้อยละ 31.9 ระบุว่าจะพิจารณาเฉพาะตัวบุคคล
มีเพียงร้อยละ 16.2 ที่จะพิจารณาเฉพาะพรรคการเมืองเท่านั้น
4. สำหรับผู้ที่ประชาชนต้องการให้เป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป
ตัวอย่าง
ร้อยละ 39.0 ต้องการให้ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี
ร้อยละ 25.8 ต้องการ นายชวน หลีกภัย
ร้อยละ 9.7 ต้องการ นายกร ทัพพะรังสี
และร้อยละ 9.3 ต้องการให้ ดร.พิจิตต รัตตกุล เป็นนายกรัฐมนตรี
จะเห็นว่าความนิยมในตัว ดร.พิจิตต รัตตกุล ใกล้เคียงกับนายกร ทัพพะรังสี
5. พรรคการเมืองที่ตัวอย่างชื่นชอบมากที่สุดคือ
พรรคไทยรักไทย (ร้อยละ 37.2)
รองลงไปคือ พรรคประชาธิปัตย์ (ร้อยละ 33.4)
พรรคชาติพัฒนา (ร้อยละ 8.0)
และพรรคถิ่นไทย (ร้อยละ 4.4)
6. เหตุผลที่ตัวอย่างชื่นชอบพรรคไทยรักไทยมากที่สุดคือ
เชื่อว่าสามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่กำลังเผชิญอยู่ได้ (ร้อยละ 34.4)
และเหตุผลสำคัญที่ชอบพรรคประชาธิปัตย์
เพราะเชื่อมั่นในตัวหัวหน้าพรรค (ร้อยละ 34.5)
7. เมื่อเปรียบเทียบความนิยมของว่าที่นายกรัฐมนตรีคนต่อไป กับการสำรวจเมื่อวันที่ 19 - 20 กันยายน 2543
พบว่าความนิยมที่มีต่อ
นายชวน หลีกภัย ลดลงร้อยละ 7.4 (จากร้อยละ 33.2 เหลือร้อยละ 25.8)
ส่วน พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ยังได้รับความนิยมใกล้เคียงกับระดับเดิม (ร้อยละ 40.2)
8. ปัญหาเร่งด่วนที่ตัวอย่างระบุว่าต้องการให้รัฐบาลชุดใหม่เข้ามาแก้ไขเร่งด่วนคือ
เร่งฟื้นฟูเศรษฐกิจให้ดีขึ้น (ร้อยละ 47.0)
การแก้ปัญหาคอร์รัปชั่น (ร้อยละ 15.3)
การแก้ปัญหาน้ำมันราคาแพง (ร้อยละ 10.5)
และการแก้ปัญหายาเสพติด (ร้อยละ 8.5)
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 755 50.3
หญิง 745 49.7
อายุ :
18 - 25 423 28.2
26 - 35 404 26.9
36 - 45 391 26.1
มากกว่า 45 ปี 271 18.1
ไม่ระบุ 11 0.7
การศึกษา :
ประถมศึกษา 252 16.8
มัธยมศึกษา 296 19.7
ปวช. 186 12.4
ปวส./อนุปริญญา 217 14.5
ปริญญาตรี 456 30.4
สูงกว่าปริญญาตรี 41 2.7
ไม่ระบุ 52 3.5
อาชีพ :
รับราชการ 107 7.1
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 60 4
พนักงานเอกชน 287 19.1
เจ้าของกิจการ 74 4.9
รับจ้างทั่วไป 229 15.3
ค้าขาย 352 23.5
นักศึกษา 234 15.6
แม่บ้าน 102 6.8
อาชีพอื่น ๆ 40 2.7
ไม่ระบุ 15 1
ตารางที่ 2 ท่านทราบวิธีเลือก สส.แบบแบ่งเขตและบัญชีรายชื่อ (ปาร์ตี้ลิสต์) หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ทราบ 812 54.1
ไม่ทราบ 688 45.9
ตารางที่ 3 เกณฑ์พิจารณาเลือก สส. ครั้งต่อไป ท่านพิจารณาจากอะไรเป็นสำคัญ
จำนวน ร้อยละ
ตัวบุคคลและพรรคการเมือง 737 49.1
ตัวบุคคล 478 31.9
พรรคการเมือง 243 16.2
อื่น ๆ 21 1.4
ไม่ระบุ 21 1.4
ตารางที่ 4 ท่านต้องการให้ใครเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปมากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร 585 39
นายชวน หลีกภัย 387 25.8
นายกร ทัพพะรังสี 145 9.7
ดร.พิจิตต รัตตกุล 140 9.3
พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ 52 3.5
นายบรรหาร ศิลปอาชา 32 2.1
คนอื่น ๆ 54 3.6
ไม่ระบุ 105 7
ตารางที่ 5 พรรคการเมืองที่ท่านชื่นชอบมากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
ไทยรักไทย 558 37.2
ประชาธิปัตย์ 501 33.4
ชาติพัฒนา 120 8
ถิ่นไทย 66 4.4
ความหวังใหม่ 51 3.4
ชาติไทย 35 2.3
ราษฎร 5 0.3
เอกภาพ 5 0.3
เสรีธรรม 3 0.2
พรรคอื่น ๆ 46 3.1
ไม่มีพรรคใดเลย 110 7.3
ตารางที่ 6 เหตุผลที่ท่านชอบพรรคการเมืองในตารางที่ 5 มากที่สุด เพราะ
ความหวังใหม่ ชาติไทย ชาติพัฒนา ถิ่นไทย ไทยรักไทย ประชาธิปัตย์
เชื่อมั่นหัวหน้าพรรค 33.3 14.3 24.2 31.8 31.9 34.5
สมาชิกมีความรู้ความสามารถ 15.7 22.9 14.2 7.6 8.4 17.6
มีนโยบายดี 25.5 5.7 20.8 6.1 13.8 11.2
พอใจผลงานที่ผ่านมา 3.9 34.3 18.3 47 2.9 20.2
เชื่อว่าแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้ 19.6 20 16.7 3 34.4 10.2
อื่น ๆ 0 2.9 5 4.5 8.6 5.4
ไม่ระบุ 2 0 0.8 0 0 1
ตารางที่ 7 ปัญหาเร่งด่วนที่ต้องการให้รัฐบาลชุดใหม่เข้ามาแก้ไขเร่งด่วน
จำนวน ร้อยละ
เร่งฟื้นฟูเศรษฐกิจให้ดีขึ้น 705 47
การแก้ปัญหาคอร์รัปชั่น 230 15.3
การแก้ปัญหาราคาน้ำมันแพง 158 10.5
การแก้ปัญหายาเสพติด 128 8.5
การแก้ปัญหาสินค้าราคาแพง 98 6.5
การแก้ปัญหาการว่างงาน 90 6
การแก้ปัญหาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 37 2.5
อื่น ๆ 45 3
ไม่ระบุ 9 0.6
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตที่สุ่มได้และมีสิทธิ์ลงคะแนนเลือก
ตั้งในเขตนั้น
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่ม เขตปกครอง
ในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ ดังนี้
คลองเตย คลองสาน คันนายาว จตุจักร ดอนเมือง ตลิ่งชัน ทวีวัฒนา ทุ่งครุ ธนบุรี บางกะปิ บางเขน
บางนา บางบอน บางพลัด บางรัก บึงกุ่ม ปทุมวัน ประเวศ พญาไท พระนคร ภาษีเจริญ มีนบุรี
ยานนาวา ราชเทวี ลาดพร้าว วังทองหลาง วัฒนา สวนหลวง สะพานสูง สาทร
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโค้วต้าตามเพศ กลุ่มอายุ และอาชีพ ได้ตัวอย่างทั้งสิ้น
จำนวน 1,500 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง
“ พรรคการเมืองในใจคนกรุง ”
ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นในหัวข้อที่สำรวจ
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
28 - 30 ตุลาคม 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามมีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขต กรุงเทพมหานคร
จำนวน 1,500 คน
เป็นชายร้อยละ 50.3
เป็นหญิงร้อยละ 49.7
ตัวอย่าง 2 ใน 3 หรือ ร้อยละ 63.4 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
ที่เหลือประมาณ 1 ใน 3 มีการศึกษาตั้งแต่ระดับปริญญาตรีขึ้นไป (ร้อยละ 33.1)
ประกอบอาชีพค้าขาย (ร้อยละ 23.5)
พนักงานบริษัทเอกชน (ร้อยละ 19.1)
นักศึกษา (ร้อยละ15.6)
รับจ้างทั่วไป (ร้อยละ 15.3) และอื่น ๆ
2. ตัวอย่างประมาณครึ่งหนึ่งหรือร้อยละ 54.1 ทราบวิธีเลือก สส.แบบแบ่งเขตและบัญชีรายชื่อ (ปาร์ตี้ลิสต์)
ที่เหลืออีกร้อยละ 45.9 ระบุว่าไม่ทราบ
3. เมื่อสอบถามถึงเกณฑ์ในการพิจารณาเลือก สส. ครั้งต่อไป
ประมาณครึ่งหนึ่งหรือร้อยละ 49.1 ระบุว่าจะพิจารณาทั้งตัวบุคคลและพรรคการเมือง
ประมาณ 1 ใน 3 หรือร้อยละ 31.9 ระบุว่าจะพิจารณาเฉพาะตัวบุคคล
มีเพียงร้อยละ 16.2 ที่จะพิจารณาเฉพาะพรรคการเมืองเท่านั้น
4. สำหรับผู้ที่ประชาชนต้องการให้เป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป
ตัวอย่าง
ร้อยละ 39.0 ต้องการให้ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี
ร้อยละ 25.8 ต้องการ นายชวน หลีกภัย
ร้อยละ 9.7 ต้องการ นายกร ทัพพะรังสี
และร้อยละ 9.3 ต้องการให้ ดร.พิจิตต รัตตกุล เป็นนายกรัฐมนตรี
จะเห็นว่าความนิยมในตัว ดร.พิจิตต รัตตกุล ใกล้เคียงกับนายกร ทัพพะรังสี
5. พรรคการเมืองที่ตัวอย่างชื่นชอบมากที่สุดคือ
พรรคไทยรักไทย (ร้อยละ 37.2)
รองลงไปคือ พรรคประชาธิปัตย์ (ร้อยละ 33.4)
พรรคชาติพัฒนา (ร้อยละ 8.0)
และพรรคถิ่นไทย (ร้อยละ 4.4)
6. เหตุผลที่ตัวอย่างชื่นชอบพรรคไทยรักไทยมากที่สุดคือ
เชื่อว่าสามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่กำลังเผชิญอยู่ได้ (ร้อยละ 34.4)
และเหตุผลสำคัญที่ชอบพรรคประชาธิปัตย์
เพราะเชื่อมั่นในตัวหัวหน้าพรรค (ร้อยละ 34.5)
7. เมื่อเปรียบเทียบความนิยมของว่าที่นายกรัฐมนตรีคนต่อไป กับการสำรวจเมื่อวันที่ 19 - 20 กันยายน 2543
พบว่าความนิยมที่มีต่อ
นายชวน หลีกภัย ลดลงร้อยละ 7.4 (จากร้อยละ 33.2 เหลือร้อยละ 25.8)
ส่วน พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ยังได้รับความนิยมใกล้เคียงกับระดับเดิม (ร้อยละ 40.2)
8. ปัญหาเร่งด่วนที่ตัวอย่างระบุว่าต้องการให้รัฐบาลชุดใหม่เข้ามาแก้ไขเร่งด่วนคือ
เร่งฟื้นฟูเศรษฐกิจให้ดีขึ้น (ร้อยละ 47.0)
การแก้ปัญหาคอร์รัปชั่น (ร้อยละ 15.3)
การแก้ปัญหาน้ำมันราคาแพง (ร้อยละ 10.5)
และการแก้ปัญหายาเสพติด (ร้อยละ 8.5)
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 755 50.3
หญิง 745 49.7
อายุ :
18 - 25 423 28.2
26 - 35 404 26.9
36 - 45 391 26.1
มากกว่า 45 ปี 271 18.1
ไม่ระบุ 11 0.7
การศึกษา :
ประถมศึกษา 252 16.8
มัธยมศึกษา 296 19.7
ปวช. 186 12.4
ปวส./อนุปริญญา 217 14.5
ปริญญาตรี 456 30.4
สูงกว่าปริญญาตรี 41 2.7
ไม่ระบุ 52 3.5
อาชีพ :
รับราชการ 107 7.1
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 60 4
พนักงานเอกชน 287 19.1
เจ้าของกิจการ 74 4.9
รับจ้างทั่วไป 229 15.3
ค้าขาย 352 23.5
นักศึกษา 234 15.6
แม่บ้าน 102 6.8
อาชีพอื่น ๆ 40 2.7
ไม่ระบุ 15 1
ตารางที่ 2 ท่านทราบวิธีเลือก สส.แบบแบ่งเขตและบัญชีรายชื่อ (ปาร์ตี้ลิสต์) หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ทราบ 812 54.1
ไม่ทราบ 688 45.9
ตารางที่ 3 เกณฑ์พิจารณาเลือก สส. ครั้งต่อไป ท่านพิจารณาจากอะไรเป็นสำคัญ
จำนวน ร้อยละ
ตัวบุคคลและพรรคการเมือง 737 49.1
ตัวบุคคล 478 31.9
พรรคการเมือง 243 16.2
อื่น ๆ 21 1.4
ไม่ระบุ 21 1.4
ตารางที่ 4 ท่านต้องการให้ใครเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปมากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร 585 39
นายชวน หลีกภัย 387 25.8
นายกร ทัพพะรังสี 145 9.7
ดร.พิจิตต รัตตกุล 140 9.3
พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ 52 3.5
นายบรรหาร ศิลปอาชา 32 2.1
คนอื่น ๆ 54 3.6
ไม่ระบุ 105 7
ตารางที่ 5 พรรคการเมืองที่ท่านชื่นชอบมากที่สุด
จำนวน ร้อยละ
ไทยรักไทย 558 37.2
ประชาธิปัตย์ 501 33.4
ชาติพัฒนา 120 8
ถิ่นไทย 66 4.4
ความหวังใหม่ 51 3.4
ชาติไทย 35 2.3
ราษฎร 5 0.3
เอกภาพ 5 0.3
เสรีธรรม 3 0.2
พรรคอื่น ๆ 46 3.1
ไม่มีพรรคใดเลย 110 7.3
ตารางที่ 6 เหตุผลที่ท่านชอบพรรคการเมืองในตารางที่ 5 มากที่สุด เพราะ
ความหวังใหม่ ชาติไทย ชาติพัฒนา ถิ่นไทย ไทยรักไทย ประชาธิปัตย์
เชื่อมั่นหัวหน้าพรรค 33.3 14.3 24.2 31.8 31.9 34.5
สมาชิกมีความรู้ความสามารถ 15.7 22.9 14.2 7.6 8.4 17.6
มีนโยบายดี 25.5 5.7 20.8 6.1 13.8 11.2
พอใจผลงานที่ผ่านมา 3.9 34.3 18.3 47 2.9 20.2
เชื่อว่าแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้ 19.6 20 16.7 3 34.4 10.2
อื่น ๆ 0 2.9 5 4.5 8.6 5.4
ไม่ระบุ 2 0 0.8 0 0 1
ตารางที่ 7 ปัญหาเร่งด่วนที่ต้องการให้รัฐบาลชุดใหม่เข้ามาแก้ไขเร่งด่วน
จำนวน ร้อยละ
เร่งฟื้นฟูเศรษฐกิจให้ดีขึ้น 705 47
การแก้ปัญหาคอร์รัปชั่น 230 15.3
การแก้ปัญหาราคาน้ำมันแพง 158 10.5
การแก้ปัญหายาเสพติด 128 8.5
การแก้ปัญหาสินค้าราคาแพง 98 6.5
การแก้ปัญหาการว่างงาน 90 6
การแก้ปัญหาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 37 2.5
อื่น ๆ 45 3
ไม่ระบุ 9 0.6
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--