กลุ่มตัวอย่าง:
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตที่สุ่มได้ และมีสิทธิ์ลงคะแนนเลือก
ตั้งในเขตนั้น
การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling) โดยแบ่งกรุงเทพมหานครออกเป็น 37 เขต
เลือกตั้ง ในแต่ละเขตจะสุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
โดยวิธีสุ่มแบบเป็นระบบ (Systematic Sampling) เขตละ 210 ครัวเรือน แต่ละครัวเรือน สัมภาษณ์
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 1 คน ที่ตั้งใจจะไปเลือกตั้ง ได้จำนวนทั้งหมด 7,707 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชาชนเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง
“ แนวโน้มการเลือกตั้ง ส.ส. ของชาวกรุงเทพมหานคร (ครั้งที่ 2)”
ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นในหัวข้อที่สำรวจ
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
3 - 5 ธันวาคม 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ใช้วิธีสำรวจภาคสนาม สอบถามผู้ที่ตั้งใจจะไปเลือกตั้งในวันที่ 6 มกราคม 2544
เป็นชายร้อยละ 47.3
เป็นหญิงร้อยละ 52.7
มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีร้อยละ 67.6
ปริญญาตรีหรือสูงกว่า ร้อยละ 28.7
ประกอบอาชีพ รับราชการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัทเอกชน
เจ้าของกิจการ
รับจ้างทั่วไป
ค้าขาย
นักศึกษา แม่บ้าน และอื่น ๆ
2. เมื่อสอบถามถึงความตั้งใจจะเลือก ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ หรือปาร์ตี้ลิสต์
ตัวอย่าง
ร้อยละ 40.2 ตั้งใจจะเลือกพรรคไทยรักไทย
ร้อยละ 23.9 จะเลือกพรรคประชาธิปัตย์
ร้อยละ 6.9 จะเลือกพรรคชาติพัฒนา
ร้อยละ 4.7 จะเลือกพรรคประชากรไทย
ร้อยละ 3.9 จะเลือกพรรคถิ่นไทย
ร้อยละ 3.6 จะเลือกพรรคความหวังใหม่
ร้อยละ 2.4 จะเลือกพรรคชาติไทย
ร้อยละ 14.3 ยังไม่ตัดสินใจ
3. สำหรับความตั้งจะเลือก ส.ส. แบบแบ่งเขตนั้น
ตัวอย่าง
ร้อยละ 38.1 จะเลือกผู้สมัครพรรคไทยรักไทย
ร้อยละ 24.7 จะเลือกผู้สมัครพรรคประชาธิปัตย์
ร้อยละ 7.2 จะเลือกผู้สมัครพรรคชาติพัฒนา
ร้อยละ 4.9 จะเลือกผู้สมัคพรรคประชากรไทย
ร้อยละ 3.9 จะเลือกผู้สมัครพรรคถิ่นไทย
ร้อยละ 3.6 จะเลือกผู้สมัครพรรคความหวังใหม่
ร้อยละ 2.2 จะเลือกผู้สมัครพรรคชาติไทย
และร้อยละ 15.4 ยังไม่ตัดสินใจ
4. ผู้ที่ชาวกรุงเทพมหานครต้องการให้เป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป
ร้อยละ 42.5 ต้องการ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร
ร้อยละ 24.2 ต้องการนายชวน หลีกภัย
ร้อยละ 8.3 ต้องการนายกร ทัพพะรังสี
ร้อยละ 5.7 ต้องการ ดร.พิจิตต รัตตกุล
ร้อยละ 2.9 ต้องการ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ
และร้อยละ 2.3 ต้องการนายบรรหาร ศิลปอาชา
5. เมื่อสอบถามผู้ที่ต้องการให้ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ถึงกรณีที่ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร
อาจถูกตัดสิทธิทางการเมือง ว่าเห็นด้วยหรือไม่ที่จะให้ นายอุทัย พิมพ์ใจชน เป็นนายกรัฐมนตรีแทน
ร้อยละ 34.3 เห็นด้วย
ร้อยละ 24.9 ไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 40.8 ไม่มีความเห็น
6. สำหรับคะแนนนิยมของผู้สมัคร ส.ส. แบบแบ่งเขต ทั้ง 37 เขตเลือกตั้งของ กทม. สรุปได้ดังนี้
พรรคไทยรักไทย มีคะแนนนิยมเป็นอันดับ 1 ใน 29 เขตเลือกตั้ง ได้แก่
เขตที่ 1 พระนคร ป้อมปราบฯ
เขตที่ 2 ดุสิต
เขตที่ 3 บางซื่อ
เขตที่ 4 พญาไท ราชเทวี (ทุ่งพญาไทและถนนพญาไท)
เขตที่ 5 ปทุมวัน ราชเทวี (ยกเว้นทุ่งพญาไท และถนนพญาไท)
เขตที่ 7 ยานนาวา สาทร (ทุ่งวัดดอน)
เขตที่ 9 คลองเตย
เขตที่ 10 ห้วยขวาง วัฒนา (ยกเว้นพระโขนงเหนือ)
เขตที่ 11 ดินแดง
เขตที่ 12 จตุจักร
เขตที่ 13 หลักสี่
เขตที่ 14 ดอนเมือง
เขตที่ 16 บางเขน
เขตที่ 17 ลาดพร้าว
เขตที่ 18 วังทองหลาง
เขตที่ 19 บางกะปิ
เขตที่ 20 บึงกุ่ม
เขตที่ 21 คันนายาว สะพานสูง
เขตที่ 22 สวนหลวง และแขวงประเวศ
เขตที่ 24 พระโขนง วัฒนา (พระโขนงเหนือ)
เขตที่ 25 หนองจอก ลาดกระบัง
เขตที่ 28 คลองสาน (วัดกัลยาณ์ และหิรัญรูจี)
เขตที่ 29 บางพลัด บางกอกน้อย (อรุณอัมรินทร์)
เขตที่ 32 บางกอกใหญ่ ภาษีเจริญ (ยกเว้นบางแวก,บางด้วน และคลองขวาง)
เขตที่ 33 จอมทอง
เขตที่ 34 ราษฎร์บูรณะ ทุ่งครุ
เขตที่ 35 บางขุนเทียน บางบอน
เขตที่ 36 บางแค (ยกเว้นหลักสอง)
เขตที่ 37 ทวีวัฒนา หนองแขม บางแค (หลักสอง)
พรรคประชาธิปัตย์ มีคะแนนนิยมอันดับ 1 ใน 5 เขตเลือกตั้ง ได้แก่
เขตที่ 6 บางรัก สัมพันธวงศ์ สาทร (ยกเว้นทุ่งวัดดอน)
เขตที่ 8 บางคอแหลม เขตที่ 26 มีนบุรี คลองสามวา
เขตที่ 27 ธนบุรี (ยกเว้นวัดกัลยาณ์, หิรัญรูจี)
เขตที่ 30 บางกอกน้อย (ยกเว้นอรุณอัมรินทร์)
พรรคชาติพัฒนา มีคะแนนนิยมอันดับ 1 ใน
เขตเลือกตั้งที่ 15 สายไหม
เขตที่ 23 บางนา ประเวศ (ยกเว้นแขวงประเวศ)
พรรคความหวังใหม่ มีคะแนนนิยมอันดับ 1 ใน
เขตเลือกตั้งที่ 31 ตลิ่งชัน ภาษีเจริญ (บางแวก, บางด้วน และคลองขวาง)
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 3,645 47.3
หญิง 4,062 52.7
อายุ :
18 - 25 1,239 16.1
26 - 35 1,826 23.7
36 - 45 2,503 32.5
มากกว่า 45 ปี 2,071 26.9
ไม่ระบุ 68 0.9
การศึกษา :
ประถมศึกษา 1,624 21.1
มัธยมศึกษา 1,615 21
ปวช. 939 12.2
ปวส./อนุปริญญา 1,028 13.3
ปริญญาตรี 2,003 26
สูงกว่าปริญญาตรี 205 2.7
ไม่ระบุ 293 3.8
อาชีพ :
รับราชการ 406 5.3
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 365 4.7
พนักงานเอกชน 1,011 13.1
เจ้าของกิจการ 645 8.4
รับจ้างทั่วไป 1,227 15.9
ค้าขาย 1,796 23.3
นักศึกษา 830 10.8
แม่บ้าน 954 12.4
อาชีพอื่น ๆ 387 5
ไม่ระบุ 86 1.1
ตารางที่ 2 วันที่ 6 มกราคม 2544 ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ (ปาร์ตี้ลิสต์) ท่านตั้งใจจะไปเลือกพรรคใด
จำนวน ร้อยละ
ไทยรักไทย 3,097 40.2
ประชาธิปัตย์ 1,840 23.9
ชาติพัฒนา 535 6.9
ประชากรไทย 359 4.7
ถิ่นไทย 303 3.9
ความหวังใหม่ 281 3.6
ชาติไทย 188 2.4
ยังไม่ตัดสินใจ 1,104 14.3
ตารางที่ 3 วันที่ 6 มกราคม 2544 ส.ส. แบบแบ่งเขต ท่านตั้งใจจะไปเลือกผู้สมัครพรรคใด
จำนวน ร้อยละ
ไทยรักไทย 2,937 38.1
ประชาธิปัตย์ 1,905 24.7
ชาติพัฒนา 555 7.2
ประชากรไทย 377 4.9
ถิ่นไทย 298 3.9
ความหวังใหม่ 281 3.6
ชาติไทย 167 2.2
ยังไม่ตัดสินใจ 1,187 15.4
ตารางที่ 4 ท่านต้องการให้ใครเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป
จำนวน ร้อยละ
พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร 3,272 42.5
นายชวน หลีกภัย 1,866 24.2
นายกร ทัพพะรังสี 641 8.3
ดร.พิจิตต รัตตกุล 437 5.7
พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ 227 2.9
นายบรรหาร ศิลปอาชา 179 2.3
ไม่มีความเห็น 1,085 14.1
ตารางที่ 5 ถ้า พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ถูกตัดสิทธิทางการเมือง ท่านเห็นด้วยหรือไม่ที่จะให้ นายอุทัย พิมพ์ใจชน
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 1,123 34.3
ไม่เห็นด้วย 815 24.9
ไม่มีความเห็น 1,334 40.8
สรุปผลสำรวจคะแนนนิยม ส.ส. แบบแบ่งเขต ของกรุงเทพมหานคร 37 เขตเลือกตั้ง
เขตเลือกตั้ง อันดับ 1 อันดับ 2 ยังไม่ตัดสินใจ
1. พระนคร ป้อมปราบศัตรูพ่าย ไทยรักไทย (41.9%) ประชาธิปัตย์ (20.5%) -17.60%
2. ดุสิต ไทยรักไทย (39.6%) ประชากรไทย (24.6%) -4.80%
3. บางซื่อ ไทยรักไทย (53.3%) ชาติพัฒนา (11.0%) -18.10%
4. พญาไท ไทยรักไทย (31.3%) ประชาธิปัตย์ (21.6%) -21.20%
ราชเทวี (เฉพาะแขวงทุ่งพญาไท และแขวงถนนพญาไท)
5. ปทุมวัน ไทยรักไทย (37.8%) ประชาธิปัตย์ (23.9%) -27.80%
ราชเทวี (ยกเว้นแขวงทุ่งพญาไท และแขวงถนนพญาไท)
6. บางรัก สัมพันธวงศ์ ประชาธิปัตย์ (45.0%) ไทยรักไทย (42.1%) -5.40%
สาทร (ยกเว้นแขวงทุ่งวัดดอน)
7. ยานนาวา สาทร (เฉพาะแขวงทุ่งวัดดอน) ไทยรักไทย (38.6%) ประชาธิปัตย์ (31.0%) -20.00%
8. บางคอแหลม ประชาธิปัตย์ (42.2%) ไทยรักไทย (35.4%) (10.2%)
9. คลองเตย ไทยรักไทย (42.9%) ประชาธิปัตย์ (28.6%) -14.30%
10. ห้วยขวาง ไทยรักไทย (63.8%) ประชาธิปัตย์ (17.1%) -11.40%
วัฒนา (ยกเว้นแขวงพระโขนงเหนือ)
11. ดินแดง ไทยรักไทย (57.4%) ประชาธิปัตย์ (35.4%) -1.40%
12. จตุจักร ไทยรักไทย (28.6%) ประชาธิปัตย์ (18.6%) -12.40%
13. หลักสี่ ไทยรักไทย (32.2%) ประชาธิปัตย์ (28.4%) -15.40%
14. ดอนเมือง ไทยรักไทย (32.5%) ประชากรไทย (24.4%) -17.20%
15. สายไหม ชาติพัฒนา (38.8%) ไทยรักไทย (24.4%) (3.3%)
16. บางเขน ไทยรักไทย (28.8%) ประชาธิปัตย์ (21.5%) -2.40%
17. ลาดพร้าว ไทยรักไทย (29.5%) ประชาธิปัตย์ (20.3%) -41.10%
18. วังทองหลาง ไทยรักไทย (57.2%) ชาติพัฒนา (17.8%) -8.20%
19. บางกะปิ ไทยรักไทย (30.5%) ประชาธิปัตย์ (29.5%) -36.20%
20. บึงกุ่ม ไทยรักไทย (37.5%) ถิ่นไทย (20.2%) -1.40%
21. คันนายาว สะพานสูง ไทยรักไทย (48.1%) ประชาธิปัตย์ (22.4%) -11.40%
22. สวนหลวง ประเวศ (เฉพาะแขวงประเวศ) ไทยรักไทย (35.7%) ประชาธิปัตย์ (25.7%) -14.30%
23. บางนา ประเวศ (ยกเว้นแขวงประเวศ) ชาติพัฒนา (42.8%) ไทยรักไทย (31.7%) -2.40%
24. พระโขนง ไทยรักไทย (28.1%) ประชาธิปัตย์ (22.9%) -30.00%
วัฒนา (เฉพาะแขวงพระโขนงเหนือ)
25. หนองจอก ลาดกระบัง ไทยรักไทย (18.0%) ประชาธิปัตย์ (17.0%) -52.40%
26. มีนบุรี คลองสามวา ประชาธิปัตย์ (46.2%) ไทยรักไทย (33.8%) -5.20%
27. ธนบุรี ประชาธิปัตย์ (33.8%) ไทยรักไทย (31.0%) -23.30%
(ยกเว้นแขวงวัดกัลยาณ์ และแขวงหิรัญรูจี)
28. คลองสาน ไทยรักไทย (38.3%) ประชาธิปัตย์ (22.0%) -36.40%
(เฉพาะแขวงวัดกัลยาณ์ และแขวงหิรัญรูจี)
29. บางพลัด ไทยรักไทย (38.1%) ประชาธิปัตย์ (27.1%) -25.20%
บางกอกน้อย (เฉพาะแขวงอรุณอัมรินทร์)
30. บางกอกน้อย ประชาธิปัตย์ (57.6%) ไทยรักไทย (21.4%) -13.80%
(ยกเว้นแขวงอรุณอัมรินทร์)
31. ตลิ่งชัน ความหวังใหม่ (31.6%) ไทยรักไทย (29.2%) (1.0%)
ภาษีเจริญ (เฉพาะแขวงบางแวก, แขวงบางด้วน
และแขวงคลองขวาง )
32. บางกอกใหญ่ ไทยรักไทย (41.9%) ประชาธิปัตย์ (18.1%) -24.80%
ภาษีเจริญ (ยกเว้นแขวงบางแวก, แขวงบางด้วน
และแขวงคลองขวาง )
33. จอมทอง ไทยรักไทย (41.9%) ประชาธิปัตย์ (40.0%) 0.00%
34. ราษฎร์บูรณะ ทุ่งครุ ไทยรักไทย (38.6%) ประชาธิปัตย์ (29.5%) -4.80%
35. บางขุนเทียน บางบอน ไทยรักไทย (62.4%) ประชาธิปัตย์ (18.6%) -5.20%
36. บางแค (ยกเว้นแขวงหลักสอง) ไทยรักไทย (44.3%) ประชาธิปัตย์ (10.0%) -23.30%
37. ทวีวัฒนา หนองแขม ไทยรักไทย (41.9%) ความหวังใหม่ (28.6%) -5.20%
บางแค (เฉพาะแขวงหลักสอง)
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตที่สุ่มได้ และมีสิทธิ์ลงคะแนนเลือก
ตั้งในเขตนั้น
การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling) โดยแบ่งกรุงเทพมหานครออกเป็น 37 เขต
เลือกตั้ง ในแต่ละเขตจะสุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
โดยวิธีสุ่มแบบเป็นระบบ (Systematic Sampling) เขตละ 210 ครัวเรือน แต่ละครัวเรือน สัมภาษณ์
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 1 คน ที่ตั้งใจจะไปเลือกตั้ง ได้จำนวนทั้งหมด 7,707 คน
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชาชนเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง
“ แนวโน้มการเลือกตั้ง ส.ส. ของชาวกรุงเทพมหานคร (ครั้งที่ 2)”
ส่วนที่ 1 เป็นข้อมูลประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นในหัวข้อที่สำรวจ
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
3 - 5 ธันวาคม 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ใช้วิธีสำรวจภาคสนาม สอบถามผู้ที่ตั้งใจจะไปเลือกตั้งในวันที่ 6 มกราคม 2544
เป็นชายร้อยละ 47.3
เป็นหญิงร้อยละ 52.7
มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีร้อยละ 67.6
ปริญญาตรีหรือสูงกว่า ร้อยละ 28.7
ประกอบอาชีพ รับราชการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัทเอกชน
เจ้าของกิจการ
รับจ้างทั่วไป
ค้าขาย
นักศึกษา แม่บ้าน และอื่น ๆ
2. เมื่อสอบถามถึงความตั้งใจจะเลือก ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ หรือปาร์ตี้ลิสต์
ตัวอย่าง
ร้อยละ 40.2 ตั้งใจจะเลือกพรรคไทยรักไทย
ร้อยละ 23.9 จะเลือกพรรคประชาธิปัตย์
ร้อยละ 6.9 จะเลือกพรรคชาติพัฒนา
ร้อยละ 4.7 จะเลือกพรรคประชากรไทย
ร้อยละ 3.9 จะเลือกพรรคถิ่นไทย
ร้อยละ 3.6 จะเลือกพรรคความหวังใหม่
ร้อยละ 2.4 จะเลือกพรรคชาติไทย
ร้อยละ 14.3 ยังไม่ตัดสินใจ
3. สำหรับความตั้งจะเลือก ส.ส. แบบแบ่งเขตนั้น
ตัวอย่าง
ร้อยละ 38.1 จะเลือกผู้สมัครพรรคไทยรักไทย
ร้อยละ 24.7 จะเลือกผู้สมัครพรรคประชาธิปัตย์
ร้อยละ 7.2 จะเลือกผู้สมัครพรรคชาติพัฒนา
ร้อยละ 4.9 จะเลือกผู้สมัคพรรคประชากรไทย
ร้อยละ 3.9 จะเลือกผู้สมัครพรรคถิ่นไทย
ร้อยละ 3.6 จะเลือกผู้สมัครพรรคความหวังใหม่
ร้อยละ 2.2 จะเลือกผู้สมัครพรรคชาติไทย
และร้อยละ 15.4 ยังไม่ตัดสินใจ
4. ผู้ที่ชาวกรุงเทพมหานครต้องการให้เป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป
ร้อยละ 42.5 ต้องการ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร
ร้อยละ 24.2 ต้องการนายชวน หลีกภัย
ร้อยละ 8.3 ต้องการนายกร ทัพพะรังสี
ร้อยละ 5.7 ต้องการ ดร.พิจิตต รัตตกุล
ร้อยละ 2.9 ต้องการ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ
และร้อยละ 2.3 ต้องการนายบรรหาร ศิลปอาชา
5. เมื่อสอบถามผู้ที่ต้องการให้ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ถึงกรณีที่ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร
อาจถูกตัดสิทธิทางการเมือง ว่าเห็นด้วยหรือไม่ที่จะให้ นายอุทัย พิมพ์ใจชน เป็นนายกรัฐมนตรีแทน
ร้อยละ 34.3 เห็นด้วย
ร้อยละ 24.9 ไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 40.8 ไม่มีความเห็น
6. สำหรับคะแนนนิยมของผู้สมัคร ส.ส. แบบแบ่งเขต ทั้ง 37 เขตเลือกตั้งของ กทม. สรุปได้ดังนี้
พรรคไทยรักไทย มีคะแนนนิยมเป็นอันดับ 1 ใน 29 เขตเลือกตั้ง ได้แก่
เขตที่ 1 พระนคร ป้อมปราบฯ
เขตที่ 2 ดุสิต
เขตที่ 3 บางซื่อ
เขตที่ 4 พญาไท ราชเทวี (ทุ่งพญาไทและถนนพญาไท)
เขตที่ 5 ปทุมวัน ราชเทวี (ยกเว้นทุ่งพญาไท และถนนพญาไท)
เขตที่ 7 ยานนาวา สาทร (ทุ่งวัดดอน)
เขตที่ 9 คลองเตย
เขตที่ 10 ห้วยขวาง วัฒนา (ยกเว้นพระโขนงเหนือ)
เขตที่ 11 ดินแดง
เขตที่ 12 จตุจักร
เขตที่ 13 หลักสี่
เขตที่ 14 ดอนเมือง
เขตที่ 16 บางเขน
เขตที่ 17 ลาดพร้าว
เขตที่ 18 วังทองหลาง
เขตที่ 19 บางกะปิ
เขตที่ 20 บึงกุ่ม
เขตที่ 21 คันนายาว สะพานสูง
เขตที่ 22 สวนหลวง และแขวงประเวศ
เขตที่ 24 พระโขนง วัฒนา (พระโขนงเหนือ)
เขตที่ 25 หนองจอก ลาดกระบัง
เขตที่ 28 คลองสาน (วัดกัลยาณ์ และหิรัญรูจี)
เขตที่ 29 บางพลัด บางกอกน้อย (อรุณอัมรินทร์)
เขตที่ 32 บางกอกใหญ่ ภาษีเจริญ (ยกเว้นบางแวก,บางด้วน และคลองขวาง)
เขตที่ 33 จอมทอง
เขตที่ 34 ราษฎร์บูรณะ ทุ่งครุ
เขตที่ 35 บางขุนเทียน บางบอน
เขตที่ 36 บางแค (ยกเว้นหลักสอง)
เขตที่ 37 ทวีวัฒนา หนองแขม บางแค (หลักสอง)
พรรคประชาธิปัตย์ มีคะแนนนิยมอันดับ 1 ใน 5 เขตเลือกตั้ง ได้แก่
เขตที่ 6 บางรัก สัมพันธวงศ์ สาทร (ยกเว้นทุ่งวัดดอน)
เขตที่ 8 บางคอแหลม เขตที่ 26 มีนบุรี คลองสามวา
เขตที่ 27 ธนบุรี (ยกเว้นวัดกัลยาณ์, หิรัญรูจี)
เขตที่ 30 บางกอกน้อย (ยกเว้นอรุณอัมรินทร์)
พรรคชาติพัฒนา มีคะแนนนิยมอันดับ 1 ใน
เขตเลือกตั้งที่ 15 สายไหม
เขตที่ 23 บางนา ประเวศ (ยกเว้นแขวงประเวศ)
พรรคความหวังใหม่ มีคะแนนนิยมอันดับ 1 ใน
เขตเลือกตั้งที่ 31 ตลิ่งชัน ภาษีเจริญ (บางแวก, บางด้วน และคลองขวาง)
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 3,645 47.3
หญิง 4,062 52.7
อายุ :
18 - 25 1,239 16.1
26 - 35 1,826 23.7
36 - 45 2,503 32.5
มากกว่า 45 ปี 2,071 26.9
ไม่ระบุ 68 0.9
การศึกษา :
ประถมศึกษา 1,624 21.1
มัธยมศึกษา 1,615 21
ปวช. 939 12.2
ปวส./อนุปริญญา 1,028 13.3
ปริญญาตรี 2,003 26
สูงกว่าปริญญาตรี 205 2.7
ไม่ระบุ 293 3.8
อาชีพ :
รับราชการ 406 5.3
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 365 4.7
พนักงานเอกชน 1,011 13.1
เจ้าของกิจการ 645 8.4
รับจ้างทั่วไป 1,227 15.9
ค้าขาย 1,796 23.3
นักศึกษา 830 10.8
แม่บ้าน 954 12.4
อาชีพอื่น ๆ 387 5
ไม่ระบุ 86 1.1
ตารางที่ 2 วันที่ 6 มกราคม 2544 ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ (ปาร์ตี้ลิสต์) ท่านตั้งใจจะไปเลือกพรรคใด
จำนวน ร้อยละ
ไทยรักไทย 3,097 40.2
ประชาธิปัตย์ 1,840 23.9
ชาติพัฒนา 535 6.9
ประชากรไทย 359 4.7
ถิ่นไทย 303 3.9
ความหวังใหม่ 281 3.6
ชาติไทย 188 2.4
ยังไม่ตัดสินใจ 1,104 14.3
ตารางที่ 3 วันที่ 6 มกราคม 2544 ส.ส. แบบแบ่งเขต ท่านตั้งใจจะไปเลือกผู้สมัครพรรคใด
จำนวน ร้อยละ
ไทยรักไทย 2,937 38.1
ประชาธิปัตย์ 1,905 24.7
ชาติพัฒนา 555 7.2
ประชากรไทย 377 4.9
ถิ่นไทย 298 3.9
ความหวังใหม่ 281 3.6
ชาติไทย 167 2.2
ยังไม่ตัดสินใจ 1,187 15.4
ตารางที่ 4 ท่านต้องการให้ใครเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป
จำนวน ร้อยละ
พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร 3,272 42.5
นายชวน หลีกภัย 1,866 24.2
นายกร ทัพพะรังสี 641 8.3
ดร.พิจิตต รัตตกุล 437 5.7
พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ 227 2.9
นายบรรหาร ศิลปอาชา 179 2.3
ไม่มีความเห็น 1,085 14.1
ตารางที่ 5 ถ้า พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ถูกตัดสิทธิทางการเมือง ท่านเห็นด้วยหรือไม่ที่จะให้ นายอุทัย พิมพ์ใจชน
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 1,123 34.3
ไม่เห็นด้วย 815 24.9
ไม่มีความเห็น 1,334 40.8
สรุปผลสำรวจคะแนนนิยม ส.ส. แบบแบ่งเขต ของกรุงเทพมหานคร 37 เขตเลือกตั้ง
เขตเลือกตั้ง อันดับ 1 อันดับ 2 ยังไม่ตัดสินใจ
1. พระนคร ป้อมปราบศัตรูพ่าย ไทยรักไทย (41.9%) ประชาธิปัตย์ (20.5%) -17.60%
2. ดุสิต ไทยรักไทย (39.6%) ประชากรไทย (24.6%) -4.80%
3. บางซื่อ ไทยรักไทย (53.3%) ชาติพัฒนา (11.0%) -18.10%
4. พญาไท ไทยรักไทย (31.3%) ประชาธิปัตย์ (21.6%) -21.20%
ราชเทวี (เฉพาะแขวงทุ่งพญาไท และแขวงถนนพญาไท)
5. ปทุมวัน ไทยรักไทย (37.8%) ประชาธิปัตย์ (23.9%) -27.80%
ราชเทวี (ยกเว้นแขวงทุ่งพญาไท และแขวงถนนพญาไท)
6. บางรัก สัมพันธวงศ์ ประชาธิปัตย์ (45.0%) ไทยรักไทย (42.1%) -5.40%
สาทร (ยกเว้นแขวงทุ่งวัดดอน)
7. ยานนาวา สาทร (เฉพาะแขวงทุ่งวัดดอน) ไทยรักไทย (38.6%) ประชาธิปัตย์ (31.0%) -20.00%
8. บางคอแหลม ประชาธิปัตย์ (42.2%) ไทยรักไทย (35.4%) (10.2%)
9. คลองเตย ไทยรักไทย (42.9%) ประชาธิปัตย์ (28.6%) -14.30%
10. ห้วยขวาง ไทยรักไทย (63.8%) ประชาธิปัตย์ (17.1%) -11.40%
วัฒนา (ยกเว้นแขวงพระโขนงเหนือ)
11. ดินแดง ไทยรักไทย (57.4%) ประชาธิปัตย์ (35.4%) -1.40%
12. จตุจักร ไทยรักไทย (28.6%) ประชาธิปัตย์ (18.6%) -12.40%
13. หลักสี่ ไทยรักไทย (32.2%) ประชาธิปัตย์ (28.4%) -15.40%
14. ดอนเมือง ไทยรักไทย (32.5%) ประชากรไทย (24.4%) -17.20%
15. สายไหม ชาติพัฒนา (38.8%) ไทยรักไทย (24.4%) (3.3%)
16. บางเขน ไทยรักไทย (28.8%) ประชาธิปัตย์ (21.5%) -2.40%
17. ลาดพร้าว ไทยรักไทย (29.5%) ประชาธิปัตย์ (20.3%) -41.10%
18. วังทองหลาง ไทยรักไทย (57.2%) ชาติพัฒนา (17.8%) -8.20%
19. บางกะปิ ไทยรักไทย (30.5%) ประชาธิปัตย์ (29.5%) -36.20%
20. บึงกุ่ม ไทยรักไทย (37.5%) ถิ่นไทย (20.2%) -1.40%
21. คันนายาว สะพานสูง ไทยรักไทย (48.1%) ประชาธิปัตย์ (22.4%) -11.40%
22. สวนหลวง ประเวศ (เฉพาะแขวงประเวศ) ไทยรักไทย (35.7%) ประชาธิปัตย์ (25.7%) -14.30%
23. บางนา ประเวศ (ยกเว้นแขวงประเวศ) ชาติพัฒนา (42.8%) ไทยรักไทย (31.7%) -2.40%
24. พระโขนง ไทยรักไทย (28.1%) ประชาธิปัตย์ (22.9%) -30.00%
วัฒนา (เฉพาะแขวงพระโขนงเหนือ)
25. หนองจอก ลาดกระบัง ไทยรักไทย (18.0%) ประชาธิปัตย์ (17.0%) -52.40%
26. มีนบุรี คลองสามวา ประชาธิปัตย์ (46.2%) ไทยรักไทย (33.8%) -5.20%
27. ธนบุรี ประชาธิปัตย์ (33.8%) ไทยรักไทย (31.0%) -23.30%
(ยกเว้นแขวงวัดกัลยาณ์ และแขวงหิรัญรูจี)
28. คลองสาน ไทยรักไทย (38.3%) ประชาธิปัตย์ (22.0%) -36.40%
(เฉพาะแขวงวัดกัลยาณ์ และแขวงหิรัญรูจี)
29. บางพลัด ไทยรักไทย (38.1%) ประชาธิปัตย์ (27.1%) -25.20%
บางกอกน้อย (เฉพาะแขวงอรุณอัมรินทร์)
30. บางกอกน้อย ประชาธิปัตย์ (57.6%) ไทยรักไทย (21.4%) -13.80%
(ยกเว้นแขวงอรุณอัมรินทร์)
31. ตลิ่งชัน ความหวังใหม่ (31.6%) ไทยรักไทย (29.2%) (1.0%)
ภาษีเจริญ (เฉพาะแขวงบางแวก, แขวงบางด้วน
และแขวงคลองขวาง )
32. บางกอกใหญ่ ไทยรักไทย (41.9%) ประชาธิปัตย์ (18.1%) -24.80%
ภาษีเจริญ (ยกเว้นแขวงบางแวก, แขวงบางด้วน
และแขวงคลองขวาง )
33. จอมทอง ไทยรักไทย (41.9%) ประชาธิปัตย์ (40.0%) 0.00%
34. ราษฎร์บูรณะ ทุ่งครุ ไทยรักไทย (38.6%) ประชาธิปัตย์ (29.5%) -4.80%
35. บางขุนเทียน บางบอน ไทยรักไทย (62.4%) ประชาธิปัตย์ (18.6%) -5.20%
36. บางแค (ยกเว้นแขวงหลักสอง) ไทยรักไทย (44.3%) ประชาธิปัตย์ (10.0%) -23.30%
37. ทวีวัฒนา หนองแขม ไทยรักไทย (41.9%) ความหวังใหม่ (28.6%) -5.20%
บางแค (เฉพาะแขวงหลักสอง)
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--