วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล:
การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างในเรื่อง 2 ปี 4 เดือน กับผลงานรัฐบาลชวน หลีกภัย โดยแบบสอบถามประกอบด้วย
ส่วนที่ 1 ถามด้านข้อมูลประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง
ส่วนที่ 2 ถามความคิดเห็นในหัวข้อที่ทำการสำรวจ
กลุ่มตัวอย่าง:
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling) และแบบโควต้า (Quota Sampling) ตามระดับการศึกษา และอาชีพต่าง ๆ ของประชากรตามเขตต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร และจังหวัดปริมณฑล รวมทั้งสิ้น 1,981 คน
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
13 - 16 เมษายน 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. กลุ่มตัวอย่างเป็น เพศชายร้อยละ 50.4
เพศหญิงร้อยละ 49.4
ส่วนใหญ่อายุระหว่าง 18-35 ปี
มีการศึกษาระดับปริญญาตรีร้อยละ 39.2
มัธยมศึกษาร้อยละ 24.0
และปวช. ร้อยละ 11.4
ประกอบอาชีพหลากหลาย คือ
พนักงานบริษัทเอกชนร้อยละ 29.9
รับจ้างทั่วไปร้อยละ 17.8
ค้าขายร้อยละ 13.7
นักศึกษาร้อยละ 10.7
ที่เหลือรับราชการเป็นเจ้าของกิจการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
และแม่บ้าน ตามลำดับ
2. กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่พอใจในผลงานของรัฐบาลชุดปัจจุบัน
ทั้งในด้านนโยบายการเงินการคลัง
การแก้ปัญหาคอร์รัปชั่น ความปลอดภัยในชีวิต / ทรัพย์สิน
การแก้ปัญหาการว่างงาน
การควบคุมราคาสินค้า
การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
และการแก้ปัญหาค่าครองชีพ
โดยกลุ่มตัวอย่างไม่พอใจในด้านการแก้ปัญหาคอร์รัปชั่นมากที่สุด คือ ร้อยละ 70.4
รองลงมา คือ การแก้ปัญหาการว่างงาน ร้อยละ 65.1
และการแก้ปัญหาค่าครองชีพ ร้อยละ 63.5 ตามลำดับ
3. ระดับความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อผลงานและการปฏิบัติหน้าที่ของนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำกระทรวงต่าง ๆ กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็น ดังนี้
- นายกรัฐมนตรี
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 64.6 พอใจ
ร้อยละ 22.9 ไม่พอใจ
ร้อยละ 12.5 ไม่มีความเห็น
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 20.7 พอใจ
ร้อยละ 58.0 ไม่พอใจ
ร้อยละ 21.3 ไม่มีความเห็น
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 37.8 พอใจ
ร้อยละ 30.9 ไม่พอใจ
ร้อยละ 31.3 ไม่มีความเห็น
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 39.5 พอใจ
ร้อยละ 33.3 ไม่พอใจ
ร้อยละ 27.2 ไม่มีความเห็น
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 25.2 พอใจ
ร้อยละ 51.8 ไม่พอใจ
ร้อยละ 22.9 ไม่มีความเห็น
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 30.8 พอใจ
ร้อยละ 42.4 ไม่พอใจ
ร้อยละ 26.7 ไม่มีความเห็น
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 36.3 พอใจ
ร้อยละ 35.5 ไม่พอใจ
ร้อยละ 27.2 ไม่มีความเห็น
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 50.8 พอใจ
ร้อยละ 21.5 ไม่พอใจ
ร้อยละ 27.7 ไม่มีความเห็น
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 49.9 พอใจ
ร้อยละ 24.6 ไม่พอใจ
ร้อยละ 25.5 ไม่มีความเห็น
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 39.6 พอใจ
ร้อยละ 26.9 ไม่พอใจ
ร้อยละ 33.5 ไม่มีความเห็น
4. สำหรับการยุบสภาเพื่อเลือกตั้งใหม่นั้น
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 44.4 เห็นว่า ควรยุบสภา
ร้อยละ 34.6 ตอบว่า ไม่ควรยุบสภา
และร้อยละ 21.0 ไม่มีความเห็น
5. ส่วนประเด็นที่ว่าหากมีการเลือกตั้งใหม่กลุ่มตัวอย่างต้องการให้พรรคใดเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาลครั้งต่อไป
ผลปรากฎว่า
ต้องการให้เป็นพรรคไทยรักไทยร้อยละ 44.2
พรรคประชาธิปัตย์ร้อยละ 34.6
พรรคชาติพัฒนาร้อยละ 3.7
พรรคความหวังใหม่ร้อยละ 3.4
และพรรคชาติไทยร้อยละ 2.9
6. เมื่อถามว่าผู้ใดเหมาะสมจะเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปนั้น
กลุ่มตัวอย่างเห็นว่า
เป็น ดร.ทักษิณ ชินวัตร ร้อยละ 48.7
นายชวน หลีกภัย ร้อยละ 32.9
นายกร ทัพพะรังสี ร้อยละ 3.3
พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ร้อยละ 2.4
นายบรรหาร ศิลปอาชา ร้อยละ 1.1
และ ไม่ระบุ ร้อยละ 11.6
7. เมื่อถามว่า ท่านพอใจกับการปรับคณะรัฐมนตรีของพรรคชาติไทยหรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 15.3 ตอบว่า พอใจ
ร้อยละ 37.7 ตอบว่า ไม่พอใจ
และร้อยละ 47.0 ไม่มีความเห็น
8. สำหรับการปรับคณะรัฐมนตรีจะส่งผลอย่างไรต่อรัฐบาลนั้น
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 39.4 เห็นว่าไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงใด ๆ
ร้อยละ 18.7 เห็นว่า ทำให้ภาพพจน์ของรัฐบาลแย่ลง
ร้อยละ 13.6 เห็นว่า ทำให้การบริหารงานของรัฐบาลดีขึ้น
ร้อยละ 13.0 เห็นว่า ทำให้ภาพพจน์ของรัฐบาลดีขึ้น
ร้อยละ 10.9 เห็นว่า ทำให้การบริหารงานของรัฐบาลแย่ลง
และร้อยละ 4.4 ไม่ระบุ
9. เกี่ยวกับการปรับนายปองพล อดิเรกสาร ออกจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์นั้น
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 20.3 เห็นด้วย
ร้อยละ 35.1 ไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 44.6 ไม่มีความเห็น
10. ความเห็นของกลุ่มตัวอย่างในการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกล่าวโทษนายศิรินทร์ นิมมานเหมินทร์ ปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบนั้น
ร้อยละ 34.4 เห็นว่า เป็นเรื่องที่ธนาคารแห่งประเทศไทยต้องปฏิบัติตามหน้าที่
ร้อยละ 27.0 เห็นว่า เป็นเรื่องการเมือง
ร้อยละ 21.2 เห็นว่า เป็นเรื่องขัดแย้งระหว่างธนาคารแห่งประเทศไทยกับกระทรวงการคลัง
ร้อยละ 8.0 เห็นว่า เป็นเรื่องล้างแค้นระหว่างผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
และร้อยละ 9.4 ไม่มีความเห็น
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างในเรื่อง 2 ปี 4 เดือน กับผลงานรัฐบาลชวน หลีกภัย โดยแบบสอบถามประกอบด้วย
ส่วนที่ 1 ถามด้านข้อมูลประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง
ส่วนที่ 2 ถามความคิดเห็นในหัวข้อที่ทำการสำรวจ
กลุ่มตัวอย่าง:
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling) และแบบโควต้า (Quota Sampling) ตามระดับการศึกษา และอาชีพต่าง ๆ ของประชากรตามเขตต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร และจังหวัดปริมณฑล รวมทั้งสิ้น 1,981 คน
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
13 - 16 เมษายน 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. กลุ่มตัวอย่างเป็น เพศชายร้อยละ 50.4
เพศหญิงร้อยละ 49.4
ส่วนใหญ่อายุระหว่าง 18-35 ปี
มีการศึกษาระดับปริญญาตรีร้อยละ 39.2
มัธยมศึกษาร้อยละ 24.0
และปวช. ร้อยละ 11.4
ประกอบอาชีพหลากหลาย คือ
พนักงานบริษัทเอกชนร้อยละ 29.9
รับจ้างทั่วไปร้อยละ 17.8
ค้าขายร้อยละ 13.7
นักศึกษาร้อยละ 10.7
ที่เหลือรับราชการเป็นเจ้าของกิจการ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
และแม่บ้าน ตามลำดับ
2. กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่พอใจในผลงานของรัฐบาลชุดปัจจุบัน
ทั้งในด้านนโยบายการเงินการคลัง
การแก้ปัญหาคอร์รัปชั่น ความปลอดภัยในชีวิต / ทรัพย์สิน
การแก้ปัญหาการว่างงาน
การควบคุมราคาสินค้า
การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
และการแก้ปัญหาค่าครองชีพ
โดยกลุ่มตัวอย่างไม่พอใจในด้านการแก้ปัญหาคอร์รัปชั่นมากที่สุด คือ ร้อยละ 70.4
รองลงมา คือ การแก้ปัญหาการว่างงาน ร้อยละ 65.1
และการแก้ปัญหาค่าครองชีพ ร้อยละ 63.5 ตามลำดับ
3. ระดับความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อผลงานและการปฏิบัติหน้าที่ของนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำกระทรวงต่าง ๆ กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็น ดังนี้
- นายกรัฐมนตรี
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 64.6 พอใจ
ร้อยละ 22.9 ไม่พอใจ
ร้อยละ 12.5 ไม่มีความเห็น
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 20.7 พอใจ
ร้อยละ 58.0 ไม่พอใจ
ร้อยละ 21.3 ไม่มีความเห็น
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 37.8 พอใจ
ร้อยละ 30.9 ไม่พอใจ
ร้อยละ 31.3 ไม่มีความเห็น
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 39.5 พอใจ
ร้อยละ 33.3 ไม่พอใจ
ร้อยละ 27.2 ไม่มีความเห็น
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 25.2 พอใจ
ร้อยละ 51.8 ไม่พอใจ
ร้อยละ 22.9 ไม่มีความเห็น
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 30.8 พอใจ
ร้อยละ 42.4 ไม่พอใจ
ร้อยละ 26.7 ไม่มีความเห็น
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 36.3 พอใจ
ร้อยละ 35.5 ไม่พอใจ
ร้อยละ 27.2 ไม่มีความเห็น
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 50.8 พอใจ
ร้อยละ 21.5 ไม่พอใจ
ร้อยละ 27.7 ไม่มีความเห็น
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 49.9 พอใจ
ร้อยละ 24.6 ไม่พอใจ
ร้อยละ 25.5 ไม่มีความเห็น
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 39.6 พอใจ
ร้อยละ 26.9 ไม่พอใจ
ร้อยละ 33.5 ไม่มีความเห็น
4. สำหรับการยุบสภาเพื่อเลือกตั้งใหม่นั้น
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 44.4 เห็นว่า ควรยุบสภา
ร้อยละ 34.6 ตอบว่า ไม่ควรยุบสภา
และร้อยละ 21.0 ไม่มีความเห็น
5. ส่วนประเด็นที่ว่าหากมีการเลือกตั้งใหม่กลุ่มตัวอย่างต้องการให้พรรคใดเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาลครั้งต่อไป
ผลปรากฎว่า
ต้องการให้เป็นพรรคไทยรักไทยร้อยละ 44.2
พรรคประชาธิปัตย์ร้อยละ 34.6
พรรคชาติพัฒนาร้อยละ 3.7
พรรคความหวังใหม่ร้อยละ 3.4
และพรรคชาติไทยร้อยละ 2.9
6. เมื่อถามว่าผู้ใดเหมาะสมจะเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไปนั้น
กลุ่มตัวอย่างเห็นว่า
เป็น ดร.ทักษิณ ชินวัตร ร้อยละ 48.7
นายชวน หลีกภัย ร้อยละ 32.9
นายกร ทัพพะรังสี ร้อยละ 3.3
พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ร้อยละ 2.4
นายบรรหาร ศิลปอาชา ร้อยละ 1.1
และ ไม่ระบุ ร้อยละ 11.6
7. เมื่อถามว่า ท่านพอใจกับการปรับคณะรัฐมนตรีของพรรคชาติไทยหรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 15.3 ตอบว่า พอใจ
ร้อยละ 37.7 ตอบว่า ไม่พอใจ
และร้อยละ 47.0 ไม่มีความเห็น
8. สำหรับการปรับคณะรัฐมนตรีจะส่งผลอย่างไรต่อรัฐบาลนั้น
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 39.4 เห็นว่าไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงใด ๆ
ร้อยละ 18.7 เห็นว่า ทำให้ภาพพจน์ของรัฐบาลแย่ลง
ร้อยละ 13.6 เห็นว่า ทำให้การบริหารงานของรัฐบาลดีขึ้น
ร้อยละ 13.0 เห็นว่า ทำให้ภาพพจน์ของรัฐบาลดีขึ้น
ร้อยละ 10.9 เห็นว่า ทำให้การบริหารงานของรัฐบาลแย่ลง
และร้อยละ 4.4 ไม่ระบุ
9. เกี่ยวกับการปรับนายปองพล อดิเรกสาร ออกจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์นั้น
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 20.3 เห็นด้วย
ร้อยละ 35.1 ไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 44.6 ไม่มีความเห็น
10. ความเห็นของกลุ่มตัวอย่างในการที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกล่าวโทษนายศิรินทร์ นิมมานเหมินทร์ ปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบนั้น
ร้อยละ 34.4 เห็นว่า เป็นเรื่องที่ธนาคารแห่งประเทศไทยต้องปฏิบัติตามหน้าที่
ร้อยละ 27.0 เห็นว่า เป็นเรื่องการเมือง
ร้อยละ 21.2 เห็นว่า เป็นเรื่องขัดแย้งระหว่างธนาคารแห่งประเทศไทยกับกระทรวงการคลัง
ร้อยละ 8.0 เห็นว่า เป็นเรื่องล้างแค้นระหว่างผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
และร้อยละ 9.4 ไม่มีความเห็น
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--