วัตถุประสงค์ของการสำรวจ :
เพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับความพอใจในการปฏิบัติงาน ของพ.ต.ท.ดร.
ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และผลงานของรัฐบาลในเรื่องต่าง ๆ ในช่วงระยะเวลาประมาณ 3 เดือน ตั้งแต่เข้ามา
บริหารประเทศ เพื่อรายงานให้สาธารณชนทราบต่อไประเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปก
ครองในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 35 เขต ดังนี้
คลองเตย คลองสาน คันนายาว จตุจักร ดอนเมือง ทุ่งครุ ธนบุรี บางกอกน้อย บางกะปิ บางขุนเทียน
บางเขน บางคอแหลม บางแค บางซื่อ บางนา บางบอน บางรัก ปทุมวัน ประเวศ ป้อมปราบฯ พญาไท พระ
โขนง ภาษีเจริญ มีนบุรี ยานนาวา ราษฎร์บูรณะ ลาดกระบัง ลาดพร้าว วังทองหลาง วัฒนา สวนหลวง สาทร
หนองจอก หลักสี่ ห้วยขวาง
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามเพศ กลุ่มอายุ และอาชีพ ได้ตัว
อย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,386 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ประชาชน
คิดอย่างไรกับผลงาน 3 เดือนของรัฐบาลทักษิณ"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
15 - 16 พฤษภาคม 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
18 พฤษภาคม 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพ
มหานคร เป็นชายร้อยละ 48.6 เป็นหญิงร้อยละ 51.4 กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 62.2 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ที่
เหลือร้อยละ 37.9 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพ รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานบริษัท
เอกชน เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย นักศึกษา และแม่บ้าน เป็นต้น
2. เมื่อสอบถามว่า พอใจกับการเป็นผู้นำประเทศของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร หรือไม่ กลุ่มตัวอย่างร้อย
ละ 72.0 ระบุว่าพอใจ ร้อยละ 13.5 ระบุว่าไม่พอใจ และร้อยละ 14.5 ไม่มีความเห็น เมื่อเปรียบเทียบกับผลการ
สำรวจ เมื่อวันที่ 17 - 18 เมษายน 2544 พบว่าความพอใจต่อการเป็นผู้นำประเทศของนายกรัฐมนตรีสูงขึ้นเล็กน้อย (จาก
ร้อยละ 68.6 เป็นร้อยละ 72.0)
3. สำหรับคำถามที่ว่าเห็นด้วยกับวิธีการทำงานของรัฐบาลที่มีการทำเวิร์กช็อปก่อนเกือบทุกเรื่อง หรือไม่ กลุ่ม
ตัวอย่างร้อยละ 55.6 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 17.4 ไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 27.0 ไม่มีความเห็น
4. เมื่อสอบถามความพอใจผลงานของรัฐบาลในด้านต่าง ๆ กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็นดังนี้ การปราบปรามยา
เสพติด
ร้อยละ 77.2 ระบุว่าพอใจ
ร้อยละ 16.2 ไม่พอใจ
และร้อยละ 6.6 ไม่มีความเห็น
การให้บริการรักษาพยาบาล
ร้อยละ 72.0 ระบุว่าพอใจ
ร้อยละ 16.6 ไม่พอใจ
และร้อยละ 11.4 ไม่มีความเห็น
การฟื้นฟูเศรษฐกิจ
ร้อยละ 40.0 ระบุว่าพอใจ
ร้อยละ 49.0 ไม่พอใจ
และร้อยละ 11.0 ไม่มีความเห็น
การปราบปรามคอรัปชั่น
ร้อยละ 54.3 ระบุว่าพอใจ
ร้อยละ 32.2 ไม่พอใจ
และร้อยละ 13.5 ไม่มีความเห็น
การแก้ปัญหาการว่างงาน
ร้อยละ 26.4 ระบุว่าพอใจ
ร้อยละ 59.4 ไม่พอใจ
และร้อยละ 14.2 ไม่มีความเห็น
การแก้ปัญหาน้ำมันราคาแพง
ร้อยละ 15.7 ระบุว่าพอใจ
ร้อยละ 76.4 ไม่พอใจ
และร้อยละ 7.9 ไม่มีความเห็น
การแก้ปัญหาชายแดนกับประเทศพม่า
ร้อยละ 42.9 ระบุว่าพอใจ
ร้อยละ 39.5 ไม่พอใจ
และร้อยละ 17.6 ไม่มีความเห็น
5. เมื่อถามว่าในภาพรวมพอใจผลงานของรัฐบาลหรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 60.3 ระบุว่าพอใจ
ร้อยละ 24.2 ระบุว่าไม่พอใจ
และร้อยละ 15.4 ไม่มีความเห็น
เมื่อเปรียบเทียบกับผลการสำรวจ
เมื่อวันที่ 17 - 18 เมษายน 2544 พบว่าความพอใจผลงานของรัฐบาลในภาพรวม
มีค่าร้อยละที่ใกล้เคียงกัน (ร้อยละ 58.7)
6. เมื่อถามความเห็นเกี่ยวกับการบริหารประเทศของรัฐบาลทักษิณ เทียบกับรัฐบาลชวน หลีกภัย ก่อนมีการ
เลือกตั้ง กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 52.0 ระบุว่ารัฐบาลทักษิณดีกว่า
ร้อยละ 41.6 ระบุว่าพอ ๆ กัน
มีเพียงร้อยละ 6.3 ที่ระบุว่ารัฐบาลทักษิณด้อยกว่า
7. สำหรับความมั่นใจว่า พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร มีโอกาสบริหารประเทศครบ 4 ปีหรือไม่นั้น
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 49.0 ระบุว่าไม่มั่นใจ
ร้อยละ 33.2 ที่ระบุว่ามั่นใจ
และร้อยละ 17.8 ไม่มีความเห็น
8. เมื่อถามว่า ถ้า พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ไม่ได้เป็นนายกรัฐมนตรีแล้ว
ต้องการให้พรรคการเมืองฝ่ายค้านกลับมาเป็นรัฐบาลหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 52.2 ระบุว่าไม่ต้องการ
มีเพียงร้อยละ 11.7 ที่ต้องการ
และร้อยละ 36.1 ไม่มีความเห็น
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 674 48.6
หญิง 712 51.4
อายุ :
18 - 25 ปี 284 20.5
26 - 35 ปี 452 32.6
36 - 45 ปี 416 30
มากกว่า 45 ปี 234 16.9
การศึกษา :
ประถมศึกษา 206 14.9
มัธยมศึกษา 259 18.7
ปวช. 172 12.4
ปวส./อนุปริญญา 224 16.4
ปริญญาตรี 468 33.8
สูงกว่าปริญญาตรี 57 4.1
อาชีพ :
รับราชการ 112 8.1
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 62 4.5
พนักงานเอกชน 276 19.9
เจ้าของกิจการ 142 10.2
รับจ้างทั่วไป 220 15.9
ค้าขาย 250 18
นักศึกษา 159 11.5
แม่บ้าน 126 9.1
อาชีพอื่น ๆ 39 2.8
ตารางที่ 2 ท่านพอใจกับการเป็นผู้นำประเทศของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
พอใจ 998 72
ไม่พอใจ 187 13.5
ไม่มีความเห็น 201 14.5
ตารางที่ 3 ท่านเห็นด้วยกับวิธีทำงานของรัฐบาล ที่ต้องประชุมเชิงปฏิบัติการ (เวิร์กช็อป) เกือบทุกเรื่อง
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 771 55.6
ไม่เห็นด้วย 241 17.4
ไม่มีความเห็น 374 27
ตารางที่ 4 ท่านพอใจผลงานของรัฐบาลในเรื่องต่อไปนี้หรือไม่
พอใจ ไม่พอใจ ไม่มีความเห็น
การปราบปรามยาเสพติด 77.2 16.2 6.6
การให้บริการรักษาพยาบาล 72 16.6 11.4
การฟื้นฟูเศรษฐกิจ 40 49 11
การปราบปรามคอรัปชั่น 54.3 32.2 13.5
การแก้ปัญหาการว่างงาน 26.4 59.4 14.2
การแก้ปัญหาน้ำมันราคาแพง 15.7 76.4 7.9
การแก้ปัญหาชายแดนกับประเทศพม่า 42.9 39.5 17.6
ตารางที่ 5 ในภาพรวมท่านพอใจในผลงานของรัฐบาลหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
พอใจ 836 60.3
ไม่พอใจ 336 24.2
ไม่มีความเห็น 214 15.4
ตารางที่ 6 ณ วันนี้ ท่านคิดว่า การบริหารประเทศของรัฐบาลทักษิณ เมื่อเปรียบเทียบกับรัฐบาลนายชวน หลีกภัย
ก่อนการเลือกตั้ง เป็นเช่นไร
จำนวน ร้อยละ
รัฐบาลทักษิณดีกว่า 721 52
พอ ๆ กัน 577 41.6
รัฐบาลทักษิณด้อยกว่า 88 6.3
ตารางที่ 7 ท่านมั่นใจว่า พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร มีโอกาสบริหารประเทศครบ4 ปีหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 460 33.2
ไม่มั่นใจ 679 49
ไม่มีความเห็น 247 17.8
ตารางที่ 8 ถ้า พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ไม่ได้เป็นนายกรัฐมนตรี ท่านต้องการให้พรรคฝ่ายค้านกลับมาเป็นรัฐบาล
หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ต้องการ 162 11.7
ไม่ต้องการ 723 52.2
ไม่มีความเห็น 501 36.1
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
เพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับความพอใจในการปฏิบัติงาน ของพ.ต.ท.ดร.
ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และผลงานของรัฐบาลในเรื่องต่าง ๆ ในช่วงระยะเวลาประมาณ 3 เดือน ตั้งแต่เข้ามา
บริหารประเทศ เพื่อรายงานให้สาธารณชนทราบต่อไประเบียบวิธีการสำรวจ
การสุ่มตัวอย่าง :
การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ที่อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก หลังจากนั้นสุ่มเขตปก
ครองในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 35 เขต ดังนี้
คลองเตย คลองสาน คันนายาว จตุจักร ดอนเมือง ทุ่งครุ ธนบุรี บางกอกน้อย บางกะปิ บางขุนเทียน
บางเขน บางคอแหลม บางแค บางซื่อ บางนา บางบอน บางรัก ปทุมวัน ประเวศ ป้อมปราบฯ พญาไท พระ
โขนง ภาษีเจริญ มีนบุรี ยานนาวา ราษฎร์บูรณะ ลาดกระบัง ลาดพร้าว วังทองหลาง วัฒนา สวนหลวง สาทร
หนองจอก หลักสี่ ห้วยขวาง
ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ โดยกำหนดโควต้า ตามเพศ กลุ่มอายุ และอาชีพ ได้ตัว
อย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,386 คน
ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) :
ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล :
การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้ ในเรื่อง "ประชาชน
คิดอย่างไรกับผลงาน 3 เดือนของรัฐบาลทักษิณ"
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล :
15 - 16 พฤษภาคม 2544
วันที่เผยแพร่ข้อมูล :
18 พฤษภาคม 2544
สำรวจโดย :
ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรุปผลการสำรวจ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพ
มหานคร เป็นชายร้อยละ 48.6 เป็นหญิงร้อยละ 51.4 กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 62.2 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ที่
เหลือร้อยละ 37.9 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพ รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานบริษัท
เอกชน เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย นักศึกษา และแม่บ้าน เป็นต้น
2. เมื่อสอบถามว่า พอใจกับการเป็นผู้นำประเทศของ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร หรือไม่ กลุ่มตัวอย่างร้อย
ละ 72.0 ระบุว่าพอใจ ร้อยละ 13.5 ระบุว่าไม่พอใจ และร้อยละ 14.5 ไม่มีความเห็น เมื่อเปรียบเทียบกับผลการ
สำรวจ เมื่อวันที่ 17 - 18 เมษายน 2544 พบว่าความพอใจต่อการเป็นผู้นำประเทศของนายกรัฐมนตรีสูงขึ้นเล็กน้อย (จาก
ร้อยละ 68.6 เป็นร้อยละ 72.0)
3. สำหรับคำถามที่ว่าเห็นด้วยกับวิธีการทำงานของรัฐบาลที่มีการทำเวิร์กช็อปก่อนเกือบทุกเรื่อง หรือไม่ กลุ่ม
ตัวอย่างร้อยละ 55.6 ระบุว่าเห็นด้วย
ร้อยละ 17.4 ไม่เห็นด้วย
และร้อยละ 27.0 ไม่มีความเห็น
4. เมื่อสอบถามความพอใจผลงานของรัฐบาลในด้านต่าง ๆ กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็นดังนี้ การปราบปรามยา
เสพติด
ร้อยละ 77.2 ระบุว่าพอใจ
ร้อยละ 16.2 ไม่พอใจ
และร้อยละ 6.6 ไม่มีความเห็น
การให้บริการรักษาพยาบาล
ร้อยละ 72.0 ระบุว่าพอใจ
ร้อยละ 16.6 ไม่พอใจ
และร้อยละ 11.4 ไม่มีความเห็น
การฟื้นฟูเศรษฐกิจ
ร้อยละ 40.0 ระบุว่าพอใจ
ร้อยละ 49.0 ไม่พอใจ
และร้อยละ 11.0 ไม่มีความเห็น
การปราบปรามคอรัปชั่น
ร้อยละ 54.3 ระบุว่าพอใจ
ร้อยละ 32.2 ไม่พอใจ
และร้อยละ 13.5 ไม่มีความเห็น
การแก้ปัญหาการว่างงาน
ร้อยละ 26.4 ระบุว่าพอใจ
ร้อยละ 59.4 ไม่พอใจ
และร้อยละ 14.2 ไม่มีความเห็น
การแก้ปัญหาน้ำมันราคาแพง
ร้อยละ 15.7 ระบุว่าพอใจ
ร้อยละ 76.4 ไม่พอใจ
และร้อยละ 7.9 ไม่มีความเห็น
การแก้ปัญหาชายแดนกับประเทศพม่า
ร้อยละ 42.9 ระบุว่าพอใจ
ร้อยละ 39.5 ไม่พอใจ
และร้อยละ 17.6 ไม่มีความเห็น
5. เมื่อถามว่าในภาพรวมพอใจผลงานของรัฐบาลหรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 60.3 ระบุว่าพอใจ
ร้อยละ 24.2 ระบุว่าไม่พอใจ
และร้อยละ 15.4 ไม่มีความเห็น
เมื่อเปรียบเทียบกับผลการสำรวจ
เมื่อวันที่ 17 - 18 เมษายน 2544 พบว่าความพอใจผลงานของรัฐบาลในภาพรวม
มีค่าร้อยละที่ใกล้เคียงกัน (ร้อยละ 58.7)
6. เมื่อถามความเห็นเกี่ยวกับการบริหารประเทศของรัฐบาลทักษิณ เทียบกับรัฐบาลชวน หลีกภัย ก่อนมีการ
เลือกตั้ง กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 52.0 ระบุว่ารัฐบาลทักษิณดีกว่า
ร้อยละ 41.6 ระบุว่าพอ ๆ กัน
มีเพียงร้อยละ 6.3 ที่ระบุว่ารัฐบาลทักษิณด้อยกว่า
7. สำหรับความมั่นใจว่า พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร มีโอกาสบริหารประเทศครบ 4 ปีหรือไม่นั้น
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 49.0 ระบุว่าไม่มั่นใจ
ร้อยละ 33.2 ที่ระบุว่ามั่นใจ
และร้อยละ 17.8 ไม่มีความเห็น
8. เมื่อถามว่า ถ้า พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ไม่ได้เป็นนายกรัฐมนตรีแล้ว
ต้องการให้พรรคการเมืองฝ่ายค้านกลับมาเป็นรัฐบาลหรือไม่
กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 52.2 ระบุว่าไม่ต้องการ
มีเพียงร้อยละ 11.7 ที่ต้องการ
และร้อยละ 36.1 ไม่มีความเห็น
ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
จำนวน ร้อยละ
เพศ :
ชาย 674 48.6
หญิง 712 51.4
อายุ :
18 - 25 ปี 284 20.5
26 - 35 ปี 452 32.6
36 - 45 ปี 416 30
มากกว่า 45 ปี 234 16.9
การศึกษา :
ประถมศึกษา 206 14.9
มัธยมศึกษา 259 18.7
ปวช. 172 12.4
ปวส./อนุปริญญา 224 16.4
ปริญญาตรี 468 33.8
สูงกว่าปริญญาตรี 57 4.1
อาชีพ :
รับราชการ 112 8.1
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 62 4.5
พนักงานเอกชน 276 19.9
เจ้าของกิจการ 142 10.2
รับจ้างทั่วไป 220 15.9
ค้าขาย 250 18
นักศึกษา 159 11.5
แม่บ้าน 126 9.1
อาชีพอื่น ๆ 39 2.8
ตารางที่ 2 ท่านพอใจกับการเป็นผู้นำประเทศของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
พอใจ 998 72
ไม่พอใจ 187 13.5
ไม่มีความเห็น 201 14.5
ตารางที่ 3 ท่านเห็นด้วยกับวิธีทำงานของรัฐบาล ที่ต้องประชุมเชิงปฏิบัติการ (เวิร์กช็อป) เกือบทุกเรื่อง
จำนวน ร้อยละ
เห็นด้วย 771 55.6
ไม่เห็นด้วย 241 17.4
ไม่มีความเห็น 374 27
ตารางที่ 4 ท่านพอใจผลงานของรัฐบาลในเรื่องต่อไปนี้หรือไม่
พอใจ ไม่พอใจ ไม่มีความเห็น
การปราบปรามยาเสพติด 77.2 16.2 6.6
การให้บริการรักษาพยาบาล 72 16.6 11.4
การฟื้นฟูเศรษฐกิจ 40 49 11
การปราบปรามคอรัปชั่น 54.3 32.2 13.5
การแก้ปัญหาการว่างงาน 26.4 59.4 14.2
การแก้ปัญหาน้ำมันราคาแพง 15.7 76.4 7.9
การแก้ปัญหาชายแดนกับประเทศพม่า 42.9 39.5 17.6
ตารางที่ 5 ในภาพรวมท่านพอใจในผลงานของรัฐบาลหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
พอใจ 836 60.3
ไม่พอใจ 336 24.2
ไม่มีความเห็น 214 15.4
ตารางที่ 6 ณ วันนี้ ท่านคิดว่า การบริหารประเทศของรัฐบาลทักษิณ เมื่อเปรียบเทียบกับรัฐบาลนายชวน หลีกภัย
ก่อนการเลือกตั้ง เป็นเช่นไร
จำนวน ร้อยละ
รัฐบาลทักษิณดีกว่า 721 52
พอ ๆ กัน 577 41.6
รัฐบาลทักษิณด้อยกว่า 88 6.3
ตารางที่ 7 ท่านมั่นใจว่า พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร มีโอกาสบริหารประเทศครบ4 ปีหรือไม่
จำนวน ร้อยละ
มั่นใจ 460 33.2
ไม่มั่นใจ 679 49
ไม่มีความเห็น 247 17.8
ตารางที่ 8 ถ้า พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ไม่ได้เป็นนายกรัฐมนตรี ท่านต้องการให้พรรคฝ่ายค้านกลับมาเป็นรัฐบาล
หรือไม่
จำนวน ร้อยละ
ต้องการ 162 11.7
ไม่ต้องการ 723 52.2
ไม่มีความเห็น 501 36.1
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--