วัตถุประสงค์:
เพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่าง:
ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,300 คน
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
12 - 13 มีนาคม 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชายร้อยละ 50.5
เพศหญิงร้อยละ 47.9
อายุระหว่าง 18-25 ปีร้อยละ 27.8
26-35 ปีร้อยละ 34.5
36-45 ปีร้อยละ 23.9
และมากกว่า 45 ปีร้อยละ 11.4
2. กลุ่มตัวอย่างจบการศึกษาระดับปริญญาตรีร้อยละ 37.8
ระดับมัธยมศึกษาร้อยละ 18.5
ระดับประถมศึกษาร้อยละ 14.5
และ ปวช. ร้อยละ 10.6
โดยมีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชนร้อยละ 21.2
รับจ้างทั่วไปร้อยละ 14.1
รับราชการร้อยละ 13.2
เจ้าของกิจการร้อยละ 12.5
นักศึกษาร้อยละ 12.2
พนักงานรัฐวิสาหกิจร้อยละ 10.8
แม่บ้านร้อยละ 7.9
และค้าขายร้อยละ 7.0
3. จากการสอบถามกลุ่มตัวอย่างว่า ท่านคิดว่า กกต. จะประกาศให้มีการเลือกตั้งซ่อม ส.ว.ในเขตกรุงเทพมหานคร แทนผู้ที่มีปัญหา 3 คนหรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 50.4 คิดว่ามี
ร้อยละ 26.3 คิดว่าไม่มี
และร้อยละ 23.3 ไม่มีความเห็น
4. สำหรับการยุบสภาเพื่อเลือก ส.ส. ใหม่นั้น
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 45.8 เห็นว่ายังไม่ถึงเวลาที่ควรยุบสภา
ขณะที่ร้อยละ 39.2 เห็นว่าถึงเวลาที่ควรยุบสภาแล้ว
5. เมื่อถามถึงเวลาที่เหมาะสมในการยุบสภา
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 36.8 เห็นว่าควรให้รัฐบาลอยู่จนครบวาระโดยไม่ต้องยุบสภา
ร้อยละ 31.6 เห็นว่าควรยุบสภาหลังจากแก้ไขกฎหมายที่บกพร่องเพื่อใช้เลือก ส.ส.
ร้อยละ 11.2 เห็นว่าควรยุบสภาหลังเลือกตั้งซ่อม ส.ว. แล้ว
ร้อยละ 9.6 เห็นว่าควรยุบสภาหลังจากมีการประชุม ส.ว. ครั้งแรกแล้ว
และร้อยละ 6.8 เห็นว่าควรยุบสภาประมาณเดือนกันยายน หรือตุลาคม
6. ในการจัดตั้งรัฐบาลครั้งต่อไปกลุ่มตัวอย่างต้องการให้พรรคใดเป็นแกนนำนั้น
ผลปรากฎว่า
พรรคประชาธิปัตย์ร้อยละ 43.1
พรรคไทยรักไทยร้อยละ 31.2
พรรคความหวังใหม่ร้อยละ 5.2
พรรคชาติพัฒนาร้อยละ 4.4
และพรรคชาติไทยร้อยละ 2.1
7. ส่วนประเด็นที่ว่าต้องการให้ใครเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป
กลุ่มตัวอย่างต้องการให้เป็น
นายชวน หลีกภัย ร้อยละ 35.1
ดร.ทักษิณ ชินวัตร ร้อยละ 23.4
นายอานันท์ ปันยารชุน ร้อยละ 2.3
พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ร้อยละ 2.3
นายบรรหาร ศิลปอาชา ร้อยละ 2.1
และนายกร ทัพพะรังสี ร้อยละ 1.8
8. เมื่อถามว่า ท่านคิดว่าชาว กทม. จะออกมาใช้สิทธิเลือก ส.ส. มากหรือน้อยกว่าตอนเลือก ส.ว.
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 29.9 ตอบว่ามากกว่า เนื่องจากประชาชนมีความตื่นตัวทางการเมืองมากขึ้น
ขณะที่ร้อยละ 21.9 ตอบว่าน้อยกว่า เนื่องจากคนเบื่อการเมือง
และร้อยละ 23.8 ตอบว่า พอ ๆ กัน เนื่องจากการเลือกตั้งดังกล่าวมีความสำคัญเท่า ๆ กัน
9. สำหรับเรื่องการซื้อเสียงในการเลือกตั้ง ส.ส. นั้น
กลุ่มตัวอย่าง
ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 58.5) คิดว่าการเลือก ส.ส. จะมีการซื้อเสียงมากกว่าตอนเลือกตั้ง ส.ว.
ร้อยละ 23.8 คิดว่าจะมีการซื้อเสียงพอ ๆ กัน
มีเพียงร้อยละ 7.7 ที่คิดว่าการเลือก ส.ส. จะมีการซื้อเสียงน้อยกว่าตอนเลือก ส.ว.
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--
เพื่อสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่าง:
ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,300 คน
ระยะเวลาเก็บข้อมูล:
12 - 13 มีนาคม 2543
สรุปผลการสำรวจ
1. กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชายร้อยละ 50.5
เพศหญิงร้อยละ 47.9
อายุระหว่าง 18-25 ปีร้อยละ 27.8
26-35 ปีร้อยละ 34.5
36-45 ปีร้อยละ 23.9
และมากกว่า 45 ปีร้อยละ 11.4
2. กลุ่มตัวอย่างจบการศึกษาระดับปริญญาตรีร้อยละ 37.8
ระดับมัธยมศึกษาร้อยละ 18.5
ระดับประถมศึกษาร้อยละ 14.5
และ ปวช. ร้อยละ 10.6
โดยมีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชนร้อยละ 21.2
รับจ้างทั่วไปร้อยละ 14.1
รับราชการร้อยละ 13.2
เจ้าของกิจการร้อยละ 12.5
นักศึกษาร้อยละ 12.2
พนักงานรัฐวิสาหกิจร้อยละ 10.8
แม่บ้านร้อยละ 7.9
และค้าขายร้อยละ 7.0
3. จากการสอบถามกลุ่มตัวอย่างว่า ท่านคิดว่า กกต. จะประกาศให้มีการเลือกตั้งซ่อม ส.ว.ในเขตกรุงเทพมหานคร แทนผู้ที่มีปัญหา 3 คนหรือไม่
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 50.4 คิดว่ามี
ร้อยละ 26.3 คิดว่าไม่มี
และร้อยละ 23.3 ไม่มีความเห็น
4. สำหรับการยุบสภาเพื่อเลือก ส.ส. ใหม่นั้น
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 45.8 เห็นว่ายังไม่ถึงเวลาที่ควรยุบสภา
ขณะที่ร้อยละ 39.2 เห็นว่าถึงเวลาที่ควรยุบสภาแล้ว
5. เมื่อถามถึงเวลาที่เหมาะสมในการยุบสภา
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 36.8 เห็นว่าควรให้รัฐบาลอยู่จนครบวาระโดยไม่ต้องยุบสภา
ร้อยละ 31.6 เห็นว่าควรยุบสภาหลังจากแก้ไขกฎหมายที่บกพร่องเพื่อใช้เลือก ส.ส.
ร้อยละ 11.2 เห็นว่าควรยุบสภาหลังเลือกตั้งซ่อม ส.ว. แล้ว
ร้อยละ 9.6 เห็นว่าควรยุบสภาหลังจากมีการประชุม ส.ว. ครั้งแรกแล้ว
และร้อยละ 6.8 เห็นว่าควรยุบสภาประมาณเดือนกันยายน หรือตุลาคม
6. ในการจัดตั้งรัฐบาลครั้งต่อไปกลุ่มตัวอย่างต้องการให้พรรคใดเป็นแกนนำนั้น
ผลปรากฎว่า
พรรคประชาธิปัตย์ร้อยละ 43.1
พรรคไทยรักไทยร้อยละ 31.2
พรรคความหวังใหม่ร้อยละ 5.2
พรรคชาติพัฒนาร้อยละ 4.4
และพรรคชาติไทยร้อยละ 2.1
7. ส่วนประเด็นที่ว่าต้องการให้ใครเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป
กลุ่มตัวอย่างต้องการให้เป็น
นายชวน หลีกภัย ร้อยละ 35.1
ดร.ทักษิณ ชินวัตร ร้อยละ 23.4
นายอานันท์ ปันยารชุน ร้อยละ 2.3
พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ร้อยละ 2.3
นายบรรหาร ศิลปอาชา ร้อยละ 2.1
และนายกร ทัพพะรังสี ร้อยละ 1.8
8. เมื่อถามว่า ท่านคิดว่าชาว กทม. จะออกมาใช้สิทธิเลือก ส.ส. มากหรือน้อยกว่าตอนเลือก ส.ว.
กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 29.9 ตอบว่ามากกว่า เนื่องจากประชาชนมีความตื่นตัวทางการเมืองมากขึ้น
ขณะที่ร้อยละ 21.9 ตอบว่าน้อยกว่า เนื่องจากคนเบื่อการเมือง
และร้อยละ 23.8 ตอบว่า พอ ๆ กัน เนื่องจากการเลือกตั้งดังกล่าวมีความสำคัญเท่า ๆ กัน
9. สำหรับเรื่องการซื้อเสียงในการเลือกตั้ง ส.ส. นั้น
กลุ่มตัวอย่าง
ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 58.5) คิดว่าการเลือก ส.ส. จะมีการซื้อเสียงมากกว่าตอนเลือกตั้ง ส.ว.
ร้อยละ 23.8 คิดว่าจะมีการซื้อเสียงพอ ๆ กัน
มีเพียงร้อยละ 7.7 ที่คิดว่าการเลือก ส.ส. จะมีการซื้อเสียงน้อยกว่าตอนเลือก ส.ว.
--ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์--